Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ch01_MIS

ch01_MIS

Published by zakura jung, 2022-06-14 09:51:46

Description: Dr.Jakkapong polpong
Information
Year 64/2

Search

Read the Text Version

ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ

Agenda 01 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 02 คอมพิวเตอร์ 03 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 04 ชดุ คาสั่ง

Agenda 05 ภาษาคอมพวิ เตอร์ 06 ภาษายุคที่ 4 07 เทคโนโลยีโทรคมนาคม 08 สรุป

เทคโนโลยีสารสนเทศ • ปัจจุบั นเ ทค โนโลยีสารสนเ ทศ ได้สร้างการ เปลย่ี นแปลงในทุกระดับ ตั้งแต่ระบบสังคม องค์การ ธุรกิจ และปัจเจกชน โดยเทคโนโลยีสารสนเทศจะ กระตุ้นให้เกิดการปรับรูปแบบความสัมพันธ์ภายใน สังคม การแข่งขัน และความร่วมมือทางธุรกิจ ต ล อ ด จ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ข อ ง บุ ค ค ล ใ ห้ แตกตา่ งจากอดีต

เทคโนโลยีสารสนเทศ • ดั ง น้ั น บุ ค ค ล ทุ ก ค น ใ น ฐ า น ะ ส ม า ชิ ก ข อ ง สังคมสารสนเทศจึงจาเป็นต้องมีความรู้ ทักษะ และ ความเข้าใจถึงศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้สามารถดารงชีวิตและประกอบธุรกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

เทคโนโลยีสารสนเทศ • นอกจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างพื้นฐาน จากระดับภาคจนถึงระดับองค์การ พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศได้สร้างความท้าทายแก่ผู้บริหารรุ่นใหม่ เน่ืองจากเทคโนโลยี สารสนเทศได้สร้างผลกระทบในเชิงลึกต่อวัฒนธรรม ความคิด และรูปแบบในการแก้ปัญหาของ บุคคล • ผู้บริหารในอนาคตจึงต้องมีทักษะสาคัญ โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจในศักยภาพ และสามารถใน การประยุกต์เทคโนโลยสี ารสนเทศให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่ธรุ กิจ

เทคโนโลยีสารสนเทศ • ผู้บริหารต้องตัดสินใจเก่ียวกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ ผู้บริหารต้องทาการกาหนดกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดาเนนิ งาน และสร้างความไดเ้ ปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage)

เทคโนโลยีสารสนเทศ • เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีที่ประกอบข้ึนด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จดั การ และใช้งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศต้องมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการดังตอ่ ไปนี้ 1. ระบบประมวลผล 2. ระบบสือ่ สารโทรคมนาคม 3. การจัดการข้อมูล

เทคโนโลยีสารสนเทศ • ระบบประมวลผล ความซับซ้อนในการปฏิบัติงาน และความต้องการข้อมูลสารสนเทศท่ีหลากหลาย ทาให้การจัดการและการประมวลผลด้วย มือ (เอกสาร) ไม่สะดวก ล่าช้า และอาจผิดพลาด ปั จ จุ บั นอ ง ค์ กา ร จึ งต้ อ ง ทา ก า รจั ด เ ก็บ แ ล ะ ประมวลผลข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการ ข้อมลู เพื่อใหก้ ารทางานถูกตอ้ งและรวดเร็วขนึ้

เทคโนโลยีสารสนเทศ • ระบบสื่อสารโทรคมนาคม การส่ือสารข้อมูลเป็น เรื่องสาคัญสาหรับการจัดการและประมวลผล ตลอดจนการใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ ระบบ สารสนเทศทีด่ ีต้องประยุกต์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ในการส่ือสารข้อมูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ใช้ที่อยู่ห่างกัน ให้ สามารถส่ือสารกันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ • การจัดการข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ ข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการใช้งานท่ี รวดเรว็ จงึ นิยมจัดเกบ็ ในลักษณะของฐานข้อมลู

เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบประมวลผล เทคโนโลยี ระบบสอื่ สารโทรคมนาคม สารสนเทศ การจัดการข้อมลู

คอมพวิ เตอร์ • ปัจจุบันกิจกรรมทางสารสนเทศ เช่น การจัดเก็บ การจดั ระเบียบ การประมวลผล และการสื่อสาร ข้อมูลท่ีเพิ่มปริมาณข้ึน ต้องการความถูกต้องและความรวดเร็วสูง จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องนา เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาช่วยสนบั สนนุ ให้การดาเนินงานคล่องตวั • ส่วนประกอบสาคญั ของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเปน็ 4 สว่ นดังนี้ 1. หน่วยรบั ข้อมลู (Input Unit) 2. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) 3. หน่วยความจา (Memory Unit) 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)

คอมพวิ เตอร์ • หนว่ ยรบั ขอ้ มลู (Input Unit) เป็นสว่ นแรกท่ตี ิดต่อกบั ผูใ้ ช้ หนา้ ท่ีหลกั คอื ตอบสนองการส่ังงานจาก ผู้ ใ ช้ แ ล้ ว รั บ เ ป็ น สั ญ ญ า ณ ข้ อ มู ล ส่ ง ต่ อ ไ ป จั ด เ ก็ บ ห รื อ พั ก ไ ว้ ท่ี หน่วยความจา ซึ่งอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีเป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย เช่น Mouse, Keyboard, Joystick, Touch Pad เป็นตน้

คอมพิวเตอร์ • หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ถือเป็นส่วนที่สาคัญท่ีสุดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมอง ของมนุษย์ หนา้ ทหี่ ลักของหนว่ ยน้ี คือ 1. ควบคุมการทางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่าง หน่วยความจาของซีพียู ควบคุมกลไกการทางาน ท้ังหมด ของระบบ 2. นาเอาข้อมูลท่ีเป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทาง คณติ ศาสตร์ และตรรกะ

คอมพิวเตอร์ • หนว่ ยความจา (Memory Unit) เป็นหน่วยท่ีสาคัญท่ีจะต้องทางานร่วมกันกับหน่วยประมวลผล อยู่ ตลอดเวลา หน้าท่ีหลัก คือ จดจาและบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกส่งมา จากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราว ก่อนท่ีจะส่งต่อไปให้หน่วย ประมวลผล นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นเสมือนกระดาษทด สาหรับให้ หน่วยประมวลผลใช้คดิ คานวณ ประมวลผลข้อมลู ตา่ ง ๆ

คอมพวิ เตอร์ • หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สัญญาณภาพออกสู่หน้าจอ และงานพิมพ์ ออกจากเคร่อื งพิมพ์ เปน็ ตน้

ระบบคอมพวิ เตอร์ หนว่ ยรบั ขอ้ มูล หน่วยประมวลผลกลาง หนว่ ยแสดงผล หน่วยความจา

คอมพวิ เตอร์ • หลายหน่วยงานได้นาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานของสมาชิกตั้งแต่ผู้บริหาร ระดบั สูง ผจู้ ดั การระดบั กลาง หัวหนา้ งาน จนถึงพนกั งานทวั่ ไป เชน่ • ผู้บริหารระดับสูงจะได้รับสารสนเทศท่ีแสดงภาพรวมของการดาเนินงาน และความสัมพันธ์ระหว่าง องค์การกับส่ิงแวดล้อม หรือสรุปปัญหาและแนวทางแก้ไข เพ่ือใช้ประกอบการแก้ปัญหาหรือการ ตัดสนิ ใจ และกาหนดกลยุทธ์ของบริษัท เป็นต้น

คอมพิวเตอร์ • ผู้บริหารระดับกลางอาศัยสารสนเทศท่ีได้จากการประมวลผลงานประจาปีมาประกอบการจัดทา แผนงบประมาณ และกาหนดแผนกลยทุ ธว์ ธิ สี าหรบั การดาเนินงานของหน่วยงาน • หัวหน้างานระดับปฏิบัติการจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมการปฏิบัติงาน เช่น การผลิต การให้บริการ และการควบคมุ งานตามทไี่ ด้รับมอบหมาย • พนักงานปฏิบัติการสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการทากิจกรรมประจาวันตามแต่ละหน้าที่ของ บคุ คลนนั้ ๆ เชน่ บนั ทึกบญั ชี พมิ พ์เอกสาร เป็นตน้

ประเภทของคอมพิวเตอร์ • โดยปกตินักวิชาการด้านศาสตร์คอมพิวเตอร์นิยมจาแนกประเภทของ คอมพิวเตอร์ตามราคา ขนาด และประสิทธิภาพในการประมวลผลของ เคร่ือง จาแนกออกเป็น 4 ประเภทดงั น้ี 1. ซุปเปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer) 2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer) 3. มนิ คิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer) 4. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer)

1. ซปุ เปอร์คอมพวิ เตอร์ (Super Computer) • คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดและมีขีดความสามารถ สูงท่ีสุด ภายในประกอบไปด้วยหน่วยประมวลผล กลางนับพันตัวท่ีสามารถคานวณด้วยความเร็วหลาย ล้านคาสั่งต่อวินาที จัดเป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีราคาแพง ท่ีสุดและเร็วท่ีสุด เหมาะกับงานท่ีมีการประมวลผล ข้อมูลปริมาณมาก เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ การสารวจสามะโนประชากร งาน พยากรณ์อากาศ การออกแบบอากาศยาน การสร้าง แบบจาลองระดบั โมเลกลุ และการทาลายรหัสลับ

2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer) • เครื่องเมนเฟรมเป็นเคร่อื งที่ได้รบั ความนิยมใช้ในองค์กร ขนาดใหญ่ท่ัว ๆ ไปจัดเป็นเครื่องท่ีมีประสิทธิภาพ รองลงมาจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถทางานได้ รวดเร็ว ประมวลผลได้หลายสิบล้านคาสั่งต่อวินาที เหมาะกับการใช้งาน ทั้งในด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานท่ีเก่ียวข้องกับข้อมูลจานวน มาก ๆ เช่น งานธนาคาร ซึ่งต้องตรวจสอบบัญชีลูกค้า หลายคน งานของสานักงานทะเบียนราษฎร์ ที่เก็บ รายช่ือประชาชนประมาณ 60 ล้านคน

3. มนิ ิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer) • เหมาะสาหรับธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กที่ไม่ จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง จึงมีการพัฒนาคอมพวิ เตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูก ลง เรียกว่าเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถบริการ ผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพ เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ บ ริ ก า ร ผู้ ใ ช้ ใ น จ า น ว น ที่ เ ที ย บ เ ท่ า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับแผนกหน่ึง ขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น

4. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) • ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก หรือเรียกว่า พีซี (Personal Computer : PC) สามารถ ใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่อง ปลายทาง (terminal) เครือ่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ จาแนก ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ท่ีนยิ มในปจั จุบนั คือ 1.แบบติดต้ังใช้งานอยู่กับท่ีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer) 2. แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) ส่วน ใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรอื Notebook Computer

ชดุ คาสงั่ • ชุดคาส่ังหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program) หมายถึงชุดคาสั่งท่ีช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ติดต่อส่ือสาร และสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยชุดคาส่ังจะทาหน้าที่ส่ังงานและ ควบคุมให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางานตามทีก่ าหนด ชดุ คาส่งั ชดุ คาสั่งสาหรับระบบ ชดุ คาสงั่ ประยกุ ต์

1.ชุดคาสั่งสาหรับระบบ (System Software) • เป็นชุดคาส่ังที่ใช้ควบคู่กับฮาร์ดแวร์ มีหน้าที่ในการควบคุม จัดการ และการดูแลฮาร์ดแวร์ เพอื่ ทาให้ ฮาร์ดแวร์มปี ระโยชน์และประสิทธิภาพในการใช้งานสูงขึ้น มีความยืดหยุ่นสูง รวมถึงการอานวยความ สะดวกแกผ่ ู้ใช้ใหส้ ามารถทางานกบั ฮารด์ แวร์ได้งา่ ยและสะดวกสบาย ชุดคาสง่ั สาหรับระบบ ระบบปฏบิ ัตกิ าร ตัวแปลภาษา โปรแกรมอรรถประโยชน์

1.1 ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating System :OS) • โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมท่ีมีความจาเป็นในการทางานของ ระบบคอมพวิ เตอร์ สามารถควบคุมและจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ของเคร่ือง ควบคุมจดั การทรัพยากร ฮาร์ดแวร์ เช่ือมระหว่างฮาร์ดแวร์และผู้ใช้ ทาให้ผู้ใช้สามารถทางานกับฮาร์ดแวร์ได้เต็มประสิทธิภาพ เช่น Windows XP, DOS, Linux, Mac OS X

1.2 ตัวแปลภาษา (Compiler) • โปรแกรมท่ที าหนา้ ท่ีแปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงเพอ่ื ให้เครื่องคอมพวิ เตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทา อะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะภาษาระดับต่า (Assembly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพ่ือให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่าน เขา้ ใจ เพราะเคร่อื งคอมพวิ เตอรจ์ ะเข้าใจเฉพาะตัวเลข 0 กับ ตัวเลข 1 เทา่ นั้น

1.3 โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) • เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่เพ่ิมประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้เคร่ืองทางานง่ายขึ้นเร็วข้ึน และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรม Defrag เพ่ือจัดเรียงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ใหม่ ทาให้การอ่านข้อมูลเร็วขึ้น, โปรแกรม Uninstall Program, โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (WinZip) เพื่อทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง, โปรแกรมการสารองข้อมูล (Backup Data) เปน็ ตน้

2. ชดุ คาส่งั ประยุกต์ (Application Software) • เป็นโปรแกรมหรือชุดคาส่ังที่เขียนข้ึนเพื่อให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทางานเฉพาะอย่าง หรือเฉพาะด้าน ประเภทของซอฟต์แวร์ ประยกุ ตม์ ี 2 ประเภท คอื 1. ซอฟต์แวร์สาหรับงานทว่ั ไป หรือซอฟต์แวรส์ าเร็จรูป 2. ซอฟต์แวรส์ าหรับงานเฉพาะดา้ น

2.1 ซอฟตแ์ วรส์ าหรับงานท่วั ไป • เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมี ความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งาน ด้านเอกสาร (Microsoft Word) มีความสามารถในการสร้าง งานเอกสารต่าง ๆ จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทา หนังสือเวยี น จัดทาสือ่ สิ่งพมิ พ์

2.2 ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั งานเฉพาะด้าน • เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ งานธนาคาร การฝากถอนเงิน ซอฟต์แวร์สาหรับงานทะเบียน นักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์การให้บริการร้าน 7-11 เป็นต้น

ภาษาคอมพวิ เตอร์ • ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถงึ ภาษาท่ีใช้กับเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพอ่ื สื่อสารให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้ ในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็ต้องทาการพัฒนาภาษาท่ีจะ สื่อสารระหว่างมนุษย์กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แต่ด้วยเหตุท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีเฉพาะวงจรการเปิดและปิดทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้ เลขฐานสองเท่าน้ัน เรียกภาษาท่ีใช้เฉพาะเลขฐานสองในคอมพวิ เตอร์ว่าภาษาเคร่ือง (Machine Language) การท่ีมนุษย์จะเรียนรู้ภาษาเคร่ืองนั้นยากมาก จึงมีผู้คิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ข้ึน เพ่ือทาหน้าท่ีในการติดต่อสื่อสารระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์กับมนุษย์ โดยผู้ใช้จะสามารถติดต่อ กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยผ่านทางภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language)

ภาษาคอมพวิ เตอร์ • จากการท่ีมีภาษาจานวนมากมายน้ัน ทาให้ต้องกาหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยใน การแบ่งประเภทของภาษาเหล่านั้น การกาหนดว่าเป็นภาษาระดับต่า หรือภาษาระดับสูงขึ้นอยู่ กับภาษานั้นใกล้เคียงกับภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ (ใกล้เคียงกับรหัส 0 และ 1 เรียกว่า ภาษาระดับต่า) หรือว่าใกล้เคียงกับภาษาท่ีมนุษย์ใช้ (ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เรียกว่า ภาษา ระดบั สูง) ภาษาระดับตา่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดบั สงู

1. ภาษาระดับตา่ (Low Level Language) • เป็นภาษาท่ีใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง มีการใช้รหัสตัวอักษรสาหรับใช้แทนภาษาเครื่อง แต่ก็ยัง ยุ่งยากในการศึกษาเรียนรู้ จึงไม่สะดวกในการใช้งาน เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เปน็ ตน้ จงึ มกี ารศึกษาและพัฒนาภาษาท่ีใหผ้ ูใ้ ชค้ อมพิวเตอร์เขา้ ใจไดง้ า่ ยข้นึ

2. ภาษาระดับสูง (High Level Language) • ภาษาระดับสงู จะใช้คาในภาษาองั กฤษแทนคาสั่งต่าง ๆ รวมท้ังสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ได้ดว้ ย ทาใหน้ ักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ต้อง เป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทางานอย่างไรอีกต่อไป ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็นภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทาให้เกิดการประมวลผลข้อมูลเพิ่มมากขึ้น และมีผู้หันมาใช้ คอมพวิ เตอร์กันมากขึ้น เช่น ภาษาซี (C Language) ภาษาจาวา (Java Language) ภาษาเบสิก (BASIC Language) เป็นต้น

ภาษายคุ ที่ 4 (Fourth-generation language) • เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยคาส่ังส้ัน ๆ และ ง่ายกว่าภาษาในยุคก่อน มีการทางานแบบไม่จาเป็นต้อง บอกลาดับของขั้นตอนการทางาน (Nonprocedural language) เพียงนักเขียนโปรแกรมกาหนดว่าต้องการให้ โปรแกรมทาอะไรเท่านั้น โดยไม่ต้องทราบว่าทาได้อย่างไร ทาให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายและรวดเร็ว ภาษาระดับสูง มาก (Very high-level Language) ทางานเหมือนกับ ภาษาพูดว่าต้องการอะไร และเขียนเหมือนภาษาอังกฤษ

ภาษายคุ ที่ 4 (Fourth-generation language) • ภาษาในยคุ ท่ี 4 มลี ักษณะเดน่ 3 ประการ คอื ง่ายตอ่ การเรยี นรู้ งา่ ยต่อการใชง้ าน มปี ระสิทธิภาพสูง

ภาษายุคท่ี 4 (Fourth-generation language) • งา่ ยต่อการเรียนรู้ (Easy-to-Learn) ภาษาในยุคท่ี 4 จะมีโครงสร้างท่ีง่าย ชัดเจนและใกล้เคียงกับภาษาท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีพื้นความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ แต่สามารถเรียนรู้และใช้งานได้โดย ไมล่ าบาก

ภาษายคุ ที่ 4 (Fourth-generation language) • ง่ายตอ่ การใชง้ าน (Easy-to-Use) โครงสร้างและตรรกะที่ถูกพัฒนาข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ง่ายต่อการเรียนรู้และการ ใช้งาน ทาให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้และใช้งานภาษายุคที่ 4 ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาทาความ เขา้ ใจในรายละเอียดมากมาย

ภาษายคุ ที่ 4 (Fourth-generation language) • มีประสทิ ธิภาพสงู (High Productivity) ลักษณะเด่น 2 ประการแรก ทาให้ผู้ใช้งานนิยมนาภาษายุคท่ี 4 ไปใช้งาน ประกอบกับการ ประมวลผลท่ีรวดเรว็ ของอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ จึงสง่ ผลใหก้ ารทางานมีประสิทธภิ าพสูงขนึ้

ภาษายคุ ท่ี 4 (Fourth-generation language) • ข้อดขี องภาษายคุ ท่ี 4 • เปน็ ภาษาทง่ี า่ ยต่อการเรียนรู้คาสั่ง แต่ละคาส่ังส่ือความหมายได้อย่างชัดเจน ดังน้ันจึงใช้เวลา ในการศึกษาสนั้ กวา่ ภาษายุคที่ 3 • ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรมได้มาก เน่ืองจาก 1 คาส่ังของ 4GL ถ้าต้องเขียนด้วย ภาษายคุ ท่ี 3 อาจตอ้ งเขยี นถงึ 100 กวา่ คาส่ังในการทางานแบบเดยี วกนั • สนับสนนุ ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ทาให้สามารถจัดการกับขอ้ มลู ได้อย่างสะดวก และรวดเรว็ • สามารถสร้างแบบฟอร์มเพื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล และออกรายงานได้อย่างง่ายดาย ไม่ยงุ่ ยาก • มเี ครือ่ งมอื การใช้งานเพ่ืออานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรมมากพอสมควร

เทคโนโลยีโทรคมนาคม โทร แปลว่า ไกล คมนาคม แปลวา่ การส่ือสาร • โทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึงการสื่อสารระยะใกล้และไกล โดยการ รับส่งสัญญาณเสียง ข้อความหรือภาพ ผ่านสื่อสัญญาณทางสายหรือไร้สายด้วยระบบ แมเ่ หล็กไฟฟ้าซึง่ อาจเปน็ ไฟฟา้ แสง หรอื วิธีอ่ืนใดทีท่ างานร่วมกัน เช่น โทรสาร วิทยุติดตาม ตัว โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ อนิ เทอรเ์ น็ต วทิ ยกุ ระจายและโทรทัศน์ Remote Control เป็นตน้

เทคโนโลยโี ทรคมนาคม • เทคโนโลยีโทรคมนาคม ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ที่ไกลออกไปเป็นการส่งของ ขอ้ มูลระหวา่ งคอมพวิ เตอร์หรอื อปุ กรณ์ต่าง ๆ ทอี่ ย่หู ่างไกลกนั ซึ่งจะชว่ ยให้การเผยแพรข่ ้อมูล หรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้งานในแหล่งต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันเหตุการณ์ (Up-to-Date) ซึ่งรูปแบบของข้อมูลที่รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เช่น การส่งข้อมูลต่าง ๆ ของยาน อวกาศที่อยู่นอกโลกมายังเครื่องคอมพวิ เตอร์บนโลก เพ่ือทาการคานวณ และประมวลผล ทา ให้ทราบปรากฏการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

เทคโนโลยีโทรคมนาคม

สรุป เทคโนโลยสี ารสนเทศ 01 มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการคือ ระบบประมวลผล ระบบส่อื สารโทรคมนาคม และการจัดการ เทคโนโลยีและข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ คอมพิวเตอร์ 02 แบง่ สว่ นประกอบสาคญั ออกเปน็ 4 ส่วนคือ หนว่ ยรบั ข้อมูล หนว่ ยประมวลผลกลาง หน่วยความจา และ หน่วยแสดงผล

สรุป ประเภทของคอมพิวเตอร์ 03 สามารถจาแนกตามราคา ขนาดและประสทิ ธิภาพในการประมวลผลออกเปน็ 4 ประเภทคือ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มนิ คิ อมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ ชุดคาส่ัง 04 ชุดคาส่ังหรือโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถตดิ ตอ่ สอื่ สารและสั่งงานคอมพิวเตอร์ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคือ ชดุ คาสงั่ สาหรับระบบ และชุดคาส่ังประยกุ ต์

สรุป ภาษาคอมพิวเตอร์ 05 ภาษาคอมพวิ เตอร์แบง่ ออกเป็น 2 ระดับคือ ภาษาระดบั ต่า เช่น แอสเซมบลี และภาษาระดบั สูง เช่น ฟอร์แทรน โคบอล และปาสคาล เป็นตน้ ภาษายคุ ที่ 4 06 4GL เป็นภาษาระดับสูงท่ีถูกพัฒนาข้ึน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานเฉพาะอย่าง เช่น ฐานข้อมูล การ ประมวลเอกสาร และการจัดตาราง เป็นต้น โดย 4GL จะง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน ไม่จาเป็นต้องมี พ้ืนฐานด้านคอมพิวเตอร์ท่ีลึกซึ้ง ปัจจุบันได้มีการพัฒนาในยุคท่ี 5 ซึ่งช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพ มากข้นึ

สรุป เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม 07 เทคโนโลยสี อื่ สารโทรคมนาคมเป็นเทคโนโลยีดา้ นการตดิ ตอ่ สื่อสาร การับส่งข่าวสารขอ้ มูลระยะไกลดว้ ย การสง่ จากเครื่องคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณอ์ น่ื ๆ จากระยะไกลไปถงึ กันได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook