Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book ภาษาไทย

E-book ภาษาไทย

Published by kruwatinee, 2021-11-03 06:41:55

Description: E-book ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

E - Book เสียงและอักษรไทย รายวิชาภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จดั ทำโดย นำงสำววำทนิ ี สะกะมณี ครู โรงเรยี นวัดตโปทำรำม

คำนำ E - Book E - Book สารEบญั - Book เร่อื งเสียงและอกั ษรไทย เร่ือง รายหวนิช้าาภาษาไทย หนังสือ e – book เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย เสียงในภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โดยมีจุดประสงค์เพ่ือการศึกษาความรู้ท่ีได้จากเรื่องเสียงและอักษรไทย ซ่ึง e – book เล่มนี้มเี นอ้ื หาเก่ยี วกับความรกู้ ารเรือ่ งของเสยี งและร้อู กั ษรไทย - กาเนิดของเสยี งในภาษาไทย ๓ ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อน้ีในการทา e - book เนื่องมาจากเป็นเรื่องท่ี - ลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย ๓ นา่ สนใจ รวมถึงเปน็ การท่ีข้าเจ้าต้องการอยากให้ผู้เรียนศึกษาเสียงและอักษรไทยเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ อักษรไทย ๑๕ ไวรัสโคโรนา (Covid – 19) ผู้จัดทาหวังว่า e - book เล่มน้ีนี้จะให้ความรู้ และเป็น - ประวตั อิ ักษรไทย ๑๕ ประโยชนแ์ ก่ผู้อ่านทุก ๆ ทา่ น - ลกั ษณะของอักษรไทย ๓๑ พยางคแ์ ละคาในภาษาไทย ๓๑ การประสมอกั ษร จัดทาโดย นางสอื่ ปก วชิ าการ

เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย

๓ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . ๔ ๑.เสยี งในภาษาไทย ภาพตาราง ๑. กาเนดิ ของเสยี งในภาษาไทย รปู สระ สระเดย่ี ว เสียงพยัญชนะ ตัวอย่าง เสยี งในภาษา ประกอบดว้ ย เสยี งสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ ท่ีเปล่ง –ำ อะ ม สะกด อา อัม ออกมาโดยใช้อวัยวะในการเกิดเสียง ได้แก่ ปอด หลอดลม กล่องเสียง เส้นเสียง จมูก และอวยั วะต่าง ๆ ในช่องปาก เชน่ ลิ้น เพดานปาก ปมุ่ เหงือก และฟนั ไ– อะ ม สะกด ไอ อัย ๒. ลักษณะของเสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนิด ไดแ้ ก่ ใ– อะ ม สะกด ใอ อัย เสียงสระ คือ เสียงที่ทาให้พยัญชนะออกเสียงได้ เกิดจากกระแสลมเคล่ือนผ่านเส้นเสียง ออกทางปากหรือจมูกโดยไม่ถูกสกัดกั้น การใช้ลิ้นและริมฝีปากทาให้เสียงที่เปล่งออกมา เ–า อะ ม สะกด เอา ต่างกนั แบ่งได้ ๒ ประเภท ฤ อึ ร ประสม รึ ๑. สระเด่ยี ว (สระแท้) คอื สระทเ่ี ปลง่ ออกมาเสียงเดียว แตกต่างกันตามลักษณะการ ใช้ลิ้นและริมฝปี าก มี ๑๘ เสียง ฤๅ ออื ร ประสม รอื เสยี งสัน้ ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เสยี งยาว ไดแ้ ก่ อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ ฦ อึ ล ประสม ลึ ๒. สระประสม (สระเล่ือน) ประกอบด้วยสระเด่ียว ๒ เสียง ได้แก่ เอีย (อี+อา) เอือ ฦๅ ออื ล ประสม ลอื (ออื +อา) อัว (อ+ู อา) สระท่ีมเี สียงพยัญชนะประสม คือ เสียงสระเดี่ยวท่ีมีเสียงพยัญชนะกลมกลืนออกมาด้วย เมื่อเปล่งเสียง มี ๘ รูป ได้แก่ อา ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ หรอื เรยี กวา่ สระเกิน เพราะเสียง ซ้ากับสระเด่ียว

๕ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . ๖ เสยี งพยัญชนะ (เสียงแปร) คือ เสียงที่เกิดเม่ือกระแสลมเคลื่อนผ่านเส้นเสียง ภาพตาราง เส้นเสียงอาจสั่นหรือไม่ก็ได้ กระแสลมจะถูกสกัดก้ันในช่องปากหรือช่องจมูก แลว้ เกิดเสยี งตา่ ง ๆ มีทั้งหมด ๒๑ เสยี ง ได้แก่ ที่ รูปพยัญชนะ สญั ลักษณ์แทนเสยี ง 10 ณ น หน /น/ 11 บ /บ/ ที่ รปู พยญั ชนะ สญั ลักษณแ์ ทนเสยี ง 12 ป /ป/ 1ก /ก/ 13 ผ พ ภ /พ/ 2 ขฃคฅฆ /ค/ 14 ฝ ฟ /ฟ/ 3 ง หง /ง/ 15 ม หม /ม/ 4จ /จ/ 16 ญ หญ ย หย อย /ย/ 5 ฉชฌ /ช/ 17 ร หร /ร/ 6 ซศษส /ซ/ 18 ล หล ฬ /ล/ 7 ฎด /ด/ 19 ว หว /ว/ 8 ฏต /ต/ 20 อ /อ/ 9 ฐฑฒถทธ /ท/ 21 ห ฮ /ฮ/

๗ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . ๘ 2. ลักษณะการเปล่งเสยี งพยัญชนะ ตาแหนง่ ของเสยี งพยัญชนะ ได้แก่ ๑. เสียงพยัญชนะต้น คือ เสียงพยัญชนะอยู่ต้นพยางค์ ท้ัง ๒๑ เสียง เป็นเสียง ๑. พยญั ชนะระเบดิ เกดิ จากลมท่ีถูก กกั ไวใ้ นช่องปาก แล้วปล่อยออกมา พยัญชนะตน้ ไดท้ ้ังหมด อย่างเร็ว ได้แก่ /ป/ /ต/ /จ/ /ก/ / อ/ /พ/ /ท/ /ช/ /ค/ /บ/ /ด/ ๒. พยัญชนะเสียดแทรก เกิดจาก เสียงพยญั ชนะ รปู พยัญชนะ ตวั อยา่ ง ลมที่พุ่งออกมาแล้วถูกกักให้แทรก ๑ ออกทางช่องแคบ ๆ ได้แก่ /ฟ/ / /ก/ ก กิน ซ/ /ฮ/ /ค/ ขฃคฅฆ ไข่ เค็ม ฆ้อง ๓. พยญั ชนะนาสิก เกิดจากลมท่ีถูก /ง/ งาน หงาย ดันออกทางช่องจมูกพร้อมกับช่อง ๒ /จ/ ง หง ปาก ได้แก่ /ม/ /น/ /ง/ /ช/ จ จกิ จริง ๔. พยัญชนะข้างล้ิน เกิดจากการ ฉชฌ ฉนั เชญิ เฌอ ๓ ยกปลายลน้ิ ไปแตะปุ่มเหงือก แล้ว /ซ/ โซ่ ทราม ศอก เศร้า ปล่อยลมผ่านทางข้างล้ิน ได้แก่ / ซ ทร ศ ษ ส สร (ฤๅ)ษี สงู สร้อย ๕. พยัญชนะกระทบ เกิดจากปลาย ล/ /ด/ ฎกี า (บณั )ฑุ ดงึ ล้ินยกแตะปุ่มเหงือกแล้วสะบัดลง /ต/ ฎฑด (กุ)ฏิ ตาม อยา่ งเร็วจนเกดิ เสยี งรวั ไดแ้ ก่ /ร/ ๔ ฏต ฐาน (มณ)ฑา เฒ่า เทยี ม /ท/ ๕ ๖. พยัญชนะก่ึงสระ เกิดจากลมท่ี ฐฑฒถทธ ถาม ธง ผ่านอวัยวะเปล่งเสียงเช่นเดียวกับ /น/ เณร ใน หนา /บ/ ณ น หน ๖ การออกเสยี งสระ ไดแ้ ก่ /ย/ /ว/ /ป/ บ บาน ป ปนื E - Book

๙ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . ๑๐ เสยี งพยญั ชนะ รปู พยัญชนะ ตวั อยา่ ง รูปพยญั ชนะ ตวั อยา่ ง /พ/ ผพภ ผัก พาย ภาพ กร กรู เกรง /ฟ/ ฝฟ ฝาก ฟาง กล กล้า กลนื /ม/ ม หม มอง หมู กว กวัด แกว่ง /ย/ ญ หญ ย หย อย ขร คร ขรวั ขรบิ ครู เคร่ง /ร/ ร ฤ หร ญาติ หญงิ ยาย หยาม อยู่ ขล คล ขลงั ขลา คลาย คลี่ /ล/ ล หล ฬ รกั ฤทธ์ิ หรอื /ว/ ว หว ลกู หลาน (กี)ฬา ขว คว ขวา ขวิด คว้า ความ /อ/ อ วง แหวน /ฮ/ หฮ อาย พร พร้อม พรา้ โห่ ฮา ผล พล ผลดั แผล พล่า พลาง ปร ปรี่ เปรียบ ปล ปลา ปลีก ตร ตรา เตรียม นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะต้นท่ีเป็นเสียงพยัญชนะควบกล้า คือ พยัญชนะ ปัจจุบันคายืมจากภาษาต่างประเทศทาให้ภาษาไทยมีเสียง ตน้ ๒ ตัวออกเสียงพร้อมกัน ประสมสระกับตัวสะกดร่วมกัน พยัญชนะที่ควบ พยัญชนะควบกลา้ เพิ่มข้ึน ได้แก่ /ทร/ เช่น จันทรา (สันสกฤต) /ฟร/ เช่น ฟรี กล้ากับพยญั ชนะอืน่ ไดแ้ ก่ ร ล ว (อังกฤษ) /ดร/เชน่ ดราฟต์ (องั กฤษ) /บล/เชน่ บล็อก (อังกฤษ)

๑๑ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . ๑๒ ๒. เสียงพยญั ชนะสะกด (แมห่ รอื มาตรา) เสียงวรรณยกุ ต์ คือ เสยี งทีเ่ ปลง่ มาพรอ้ มเสียงสระ มรี ะดบั สงู -ต่า คาภาษาไทย คือ เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ มี ๘ เสียง ดงั นี้ หากเปล่ียนเสียงวรรณยุกต์จะทาให้ความหมายเปล่ียน เช่น ตู ตู่ ตู้ ตู๊ มี ความหมายตา่ งกนั ส่วน ตู๋ ไม่มีความหมาย เสยี งพยัญชนะทา้ ย แม่หรือมาตรา ตวั อย่าง ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ๕ เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ (เสียงระดับกลาง) เช่น กา นอน เสียงเอก (เสียงระดับต่า) เช่น เด็ก จะ เสียงโท (เสียงท่ีเปล่ียนจากสูงลง /ก/ กก จุก สุข นาค เมฆ มาต่า) เช่น ว่า แยก ได้ เสียงตรี (เสียงระดับสูง) เช่น รู้ ลึก จ๊ะ เสียงจัตวา /ง/ กง น้อง แกง ขิง (เสียงท่เี ปล่ยี นจากตา่ ขึ้นไปสูง) เช่น หนู เห็น เสียงวรรณยุกต์สามัญ เอก และตรี เป็นวรรณยุกต์คงระดับ ส่วนโทและจัตวา /ด/ กด กรด บาท พุธ เศษ อาจ ราช เป็นวรรณยุกตเ์ ปล่ียนระดับ อิฐ ครุฑ รส /น/ กน ความสาคัญของวรรณยุกต์ คือ ช่วยกาหนดความหมายของคา คาทุกคาใน /บ/ กบ กิน คณุ หาญ พร นิล กาฬ ภาษาไทยจะมีเสียงวรรณยุกต์เสมอ แต่อาจมีรูปวรรณยุกต์ไม่ตรงกับเสียง /ม/ กม คาบ รปู เทพ กราฟ ลาภ หรือไม่มีรูปวรรณยุกต์ ข้ึนอยู่กับหลักการผันวรรณยุกต์ตามอักษรสามหมู่หรือ /ย/ เกย ไตรยางศ์ คาเปน็ คาตาย อักษรคู่ อักษรเด่ียว อักษรนา อักษรตาม และอักษร /ว/ เกอว ถาม ลมื ชิม ควบ กาย โชย เลย ขาว เรว็ ฉวิ นอกจากนีค้ ายืมภาษาตา่ งประเทศยงั ทาใหเ้ กดิ เสยี งพยญั ชนะ ทา้ ยเพม่ิ เตมิ ในภาษาไทยอีก เช่น ก๊าซ ปรู๊ฟ บลิ มีเสียงพยญั ชนะทา้ ย /ซ/ /ฟ/ /ล/ ตามลาดบั สว่ นพยางคห์ รอื คาท่ีไมม่ ีตวั สะกด เรียกวา่ แม่ ก กา เชน่ กา ตี

ออักั กษษรรไทไ ทยย

๑๕ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๑๖ ๒. อกั ษรไทย การแบ่งรปู สระเดมิ แบ่งเปน็ ๒๑ รูป ๑. ประวัติอกั ษรไทย รูป ชอ่ื พ่ อ ขุ น ร าม คาแ หงม หาร าช ท ร งป ร ะ ดิ ษฐ์ อั ก ษร ไ ท ย ใ น พ . ศ . ๑. –ะ วสิ รรชนยี ์ ๑๘๒๖ อกั ษรนีด้ ัดแปลงจากอกั ษรไทยเดิมและอักษรขอมหวัด หลังจากน้ันก็มี ๒. –ั ไม้หนั อากาศ ไม้ผดั การพัฒนารูปแบบอักษรไทยในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) สมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา ๓. – ไม้ไตค่ ู้ โลกมหาราช ปัจจุบนั กาหนดรูปแบบโดยราชบัณฑติ ยสถาน ๔. –า ลากข้าง ๕. – พินท์ุอิ ๒. ลักษณะของอกั ษรไทย ๖. – ฝนทอง อักษร คือ เครื่องหมายท่ีใช้เขียนแทนเสียงในภาษา ได้แก่ รูป ๗. – นฤคหติ , หยาดน้าค้าง ๘. \" ฟันหนู สระ รูปพยัญชนะ และรปู วรรณยกุ ต์ รปู สระ เดมิ แบ่งเปน็ ๒๑ รปู ปัจจุบนั ราชบัณฑติ ยสถานแบง่ เปน็ ๓๗ รูป ๙. – ตนี เหยียด ๑๐. – ตีนคู้ ๑๑. เ – ไมห้ น้า ๑๒. ใ– ไม้ม้วน ๑๓. ไ– ไมม้ ลาย ๑๔. โ– ไมโ้ อ

๑๗ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๑๘ การแบง่ รปู สระเดิม แบง่ เป็น ๒๑ รปู การแบง่ รปู สระปจั จบุ ัน แบ่งเป็น ๓๗ รปู รูป ช่ือ รปู ช่ือ ๑๕. –อ ตัวออ ๑๖. –ว ตัววอ ๑. – ไม้ไตค่ ู้ ๑๗. –ย ตวั ยอ ๑๘. ฤ ตัวรึ ๒. –ะ สระแอ ๓. –ั ไมห้ ันอากาศ ๔. –า สระอา ๑๙. ฤๅ ตัวรอื ๕. –ำ สระอา ๒๐. ฦ ตวั ลึ ๒๑. ฦๅ ตัวลือ ๖. – สระอิ ๗. – สระอี ๘. – สระอุ ๙. – สระอือ ๑๐. – สระอือ–ออ ๑๑. – สระอุ ๑๒. – สระอู ๑๓. เ –ะ สระเอะ ๑๔. เ– สระเอ

๑๙ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๒๐ การแบง่ รปู สระปจั จุบัน แบ่งเปน็ ๓๗ รปู การแบ่งรูปสระปจั จุบนั แบง่ เป็น ๓๗ รูป รูป ชอื่ รูป ชอ่ื ๑๕. เ– สระเอ กับไมไ้ ต่คู้ ๒๙. เ –อะ สระเอือะ ๑๖. แ–ะ สระแอะ ๓๐. เ–าะ สระเอือ ๑๗. แ– สระแอ ๓๑. –วั ะ สระอัว ๑๘. แ– สระแอ กบั ไม้ไตค่ ู้ ๓๒. –วั สระอัว ๑๙. โ–ะ สระโอะ ๓๓. –ว ตวั วอ ๒๐. โ– สระโอ ๓๔. ใ– สระใอไมม้ ว้ น ๓๕. ไ– สระไมม้ ลาย ๒๑. เ–าะ สระเอาะ ๓๖. เ–า สระเอา ๒๒. –อ สระออ ๓๗. ไ–ย สระไอไมม้ ลาย ๒๓. –อ สระออ กับไมไ้ ต่คู้ ๒๔. เ–อะ สระเออะ นอกจากนี้ยังมีรูปสระเพ่ิมเติม เรียกว่า สระที่มีพยัญชนะประสมหรือ สระเกิน คือ สระที่มีเสียงพยัญชนะปนอยู่ ได้แก่ –ำ (เสียง สระอะ และเสียงพยัญชนะ ๒๕. เ –อ สระเออ ท้าย ม) ใ- (เสียง สระอะ และเสียงพยัญชนะท้าย ย) ไ- (เสียง สระอะ และเสียง พยญั ชนะท้าย ย) เ-า (เสียง สระอะ และเสียงพยัญชนะท้าย ว) ฤ (เสียง สระอิ อึ หรือ ๒๖. เ – สระเออ เออ และเสียงพยัญชนะต้นหรือพยัญชนะควบกล้า ร) ฤๅ (เสียง สระอือ และเสียง พยัญชนะต้น ร) ฦ (เสียง สระอิ อึ หรือ เออ และเสียงพยัญชนะต้น ล) ฦๅ (เสียง สระอือ ๒๗. เ –ยะ สระเอียะ และเสยี งพยัญชนะต้น ล) ๒๘. เ –ย สระเอีย

๒๑ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . การประกอบรปู สระ การประกอบรปู สระ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๒๒ รปู สระ แทนเสียง วธิ กี ารใช้ รูปสระ แทนเสียง วธิ ีการใช้ - เมอื่ ไมม่ ีตัวสะกด คงรปู หรอื ลดรปู -ี แทนเสยี งสระอี มีและไม่มีตัวสะกด เชน่ ปี ปนี -ะ แทนเสยี งสระอะ เช่น มะละกอ ขนนุ -ึ แทนเสยี งสระอึ มแี ละไมม่ ีตวั สะกด เช่น จึ จึง - เมอ่ื มีตัวสะกด เปล่ียนรูปเปน็ รร เชน่ พรรค -ื แทนเสียงสระออื มีตวั สะกด เชน่ ลืม มืด (พัก) -ั แทนเสยี งสระอะ เปลย่ี นรปู เมื่อมีตัวสะกด เช่น กนั จงั -ือ แทนเสียงสระอือ ไมม่ ีตัวสะกด เชน่ มือ ถอื -ำ แทนเสียงสระอะ เขยี นคาทวั่ ไป เช่น กาไล จาปี เขียนคาแผลง -ุ แทนเสยี งสระอุ มีและไมม่ ตี วั สะกด เชน่ คุ คุก มี ม สะกด เชน่ คานงึ จารัส -ู แทนเสียงสระอู มแี ละไม่มีตัวสะกด เชน่ คู คูน ใ- แทนเสียงสระอะ มี ๒๐ คา ได้แก่ สะใภ้ ใหม่ ใส่ ใจ ใคร่ หลงใหล เ-ะ แทนเสียงสระเอะ ไมม่ ีตวั สะกด เชน่ เตะ เละ มี ย สะกด ใช่ ใย ใน ใส ใบ ใต้ ใช้ ใกล้ ใบ้ ใฝ่ ใหญ่ ใคร เ-็ แทนเสยี งสระเอะ มีตวั สะกดและไมม่ ีรปู วรรณยกุ ต์ เช่น เต็ง เขม็ ใด ให้ ไ- แทนเสยี งสระอะ ใชเ้ ขยี นคาท่ัวไป เชน่ ไป ไอ ไว ไฟ - มตี ัวสะกดและมีรูปวรรณยุกต์ เช่น เตง่ เขม้ มี ย สะกด เ- แทนเสียงสระเอะ - มตี วั สะกดและไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์ แทนเสยี งสระอะ เช่น ไอยรา ไมยราพ ใ-ย มี ย สะกด เช่น เพชร เบญจะ แทนเสียงสระอะ เชน่ เกา เขา เรา เ- แทนเสียงสระเอ มีและไม่มตี วั สะกด เช่น เก เกม มี ว สะกด เ-า แ-ะ แทนเสียงสระแอะ ไมม่ ตี ัวสะกด เช่น แกะ แคะ -า แทนเสียงสระอา มแี ละไมม่ ีตวั สะกด เชน่ กา กาง แ-็ แทนเสียงสระแอะ มีตวั สะกดและไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์ เช่น แกก็ แข็ง -ิ แทนเสียงสระอิ มีและไมม่ ีตวั สะกด เช่น ติ ติง แ- แทนเสยี งสระแอะ มีตวั สะกดและมีรปู วรรณยุกต์ เชน่ แข้ง แปน้

๒๓ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . การประกอบรูปสระ การประกอบรูปสระ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๒๔ รปู สระ แทนเสยี ง วธิ ีการใช้ รูปสระ แทนเสียง วิธีการใช้ เ-ียะ แทนเสยี งสระเอียะ ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ เผยี ะ มีตวั สะกด เรยี น เขยี น -็ แทนเสยี งสระเอาะ ประสมพยัญชนะ ก เสียงวรรณยกุ ต์โท ก็ (เก้าะ) เ-ยี แทนเสียงสระเอีย มแี ละไมม่ ีตวั สะกด เช่น เมีย เมยี ง - ไม่มีตวั สะกด เชน่ กอ คอ ไมม่ ตี ัวสะกดและลด เ-ือะ แทนเสียงสระเออื ะ ไม่มีตวั สะกด เชน่ เผือะ มตี ัวสะกดใช้ เชน่ เฮือก -อ แทนเสยี งสระออ รูป เช่น บ บ่ บดี - มีตวั สะกดท่ไี ม่ใช่ ร เช่น กอง มีตวั สะกด ร จะลด มีและไม่มีตัวสะกด เชน่ เสอื เสือ่ ม เ-ือ แทนเสยี งสระเออื รูป เชน่ พร -วั ะ แทนเสียงสระอัวะ ไมม่ ีตวั สะกด เช่น ผวั ะ มีตัวสะกดใช้ ็ว เชน่ สว็ ก เ-อะ แทนเสยี งสระเออะ ไม่มีตัวสะกด เชน่ เคอะ เลอะ -วั แทนเสียงสระอวั ไมม่ ีตัวสะกด เช่น กลวั บัว มตี วั สะกด ใช้ -ว - มีตวั สะกดทไ่ี มใ่ ช่ ย และไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ เช่น กลว้ ย บวม เ-ิ แทนเสยี งสระเออะ เชน่ เอกิ -ว แทนเสยี งสระอัว มตี ัวสะกด เช่น ตวง กลวง - มีตัวสะกดท่ไี ม่ใช่ ย และมีรปู วรรณยกุ ต์ เชน่ เลกิ่ ไมม่ ีตวั สะกด เช่น โต๊ะ โปะ มตี ัวสะกดจะลดรปู - มตี วั สะกด ย ใช้ เชน่ เหว็ย ท้ังหมด เช่น ตก โ-ะ แทนเสียงสระโอะ - ไมม่ ีตัวสะกด เช่น เกลอ เธอ โ- แทนเสยี งสระโอ มแี ละไมม่ ีตวั สะกด เช่น โถ โถม เ-อ แทนเสยี งสระเออ - มีตวั สะกด ย ใช้ เ-ย เช่น เกย เขย เ-าะ แทนเสียงสระเอาะ ไม่มีตวั สะกด เชน่ เกาะ เคาะ - มีตวั สะกด บางคาใช้ เ-อ เช่น เทอญ เทอญ เ-ิ แทนเสียงสระเออ มีตวั สะกดท่ีไมใ่ ช่ ย เชน่ เกดิ เดนิ -อ็ แทนเสยี งสระเอาะ - มีตวั สะกดและไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ เชน่ ก็อก จ็อก - มีตวั สะกดและมรี ูปวรรณยกุ ต์ ใช้ -อ เชน่ คล่อก

๒๕ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . การประกอบรูปสระ การประกอบรูปสระ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๒๖ รปู สระ แทนเสยี ง วิธีการใช้ รปู สระ แทนเสยี ง วธิ กี ารใช้ เ-ยี ะ แทนเสยี งสระเอียะ ไม่มีตัวสะกด เช่น เผียะ มีตัวสะกด เรยี น เขียน -็ แทนเสียงสระเอาะ ประสมพยญั ชนะ ก เสยี งวรรณยกุ ต์โท ก็ (เกา้ ะ) เ-ยี แทนเสยี งสระเอยี มีและไม่มีตัวสะกด เช่น เมยี เมยี ง - ไม่มีตวั สะกด เชน่ กอ คอ ไม่มีตวั สะกดและลด เ-ือะ แทนเสยี งสระเออื ะ ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ เผือะ มีตัวสะกดใช้ เชน่ เฮือก -อ แทนเสยี งสระออ รปู เช่น บ บ่ บดี - มตี ัวสะกดท่ไี มใ่ ช่ ร เชน่ กอง มตี ัวสะกด ร จะลด มีและไมม่ ีตัวสะกด เชน่ เสือ เส่ือม เ-ือ แทนเสียงสระเออื รูป เชน่ พร -วั ะ แทนเสยี งสระอัวะ ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ ผัวะ มตี ัวสะกดใช้ ็ว เชน่ ส็วก เ-อะ แทนเสียงสระเออะ ไมม่ ีตัวสะกด เชน่ เคอะ เลอะ -วั แทนเสยี งสระอัว ไม่มตี วั สะกด เช่น กลวั บวั มตี ัวสะกด ใช้ -ว - มตี วั สะกดทไ่ี มใ่ ช่ ย และไม่มรี ปู วรรณยกุ ต์ เชน่ กลว้ ย บวม เ-ิ แทนเสยี งสระเออะ เชน่ เอิก -ว แทนเสยี งสระอัว มีตัวสะกด เชน่ ตวง กลวง - มีตวั สะกดทีไ่ ม่ใช่ ย และมรี ปู วรรณยุกต์ เช่น เลกิ่ ไม่มตี ัวสะกด เชน่ โตะ๊ โปะ มตี ัวสะกดจะลดรปู - มีตัวสะกด ย ใช้ เช่น เหว็ย ท้งั หมด เช่น ตก โ-ะ แทนเสียงสระโอะ - ไมม่ ตี ัวสะกด เชน่ เกลอ เธอ โ- แทนเสียงสระโอ มีและไม่มีตัวสะกด เช่น โถ โถม เ-อ แทนเสยี งสระเออ - มีตวั สะกด ย ใช้ เ-ย เชน่ เกย เขย เ-าะ แทนเสียงสระเอาะ ไม่มีตัวสะกด เช่น เกาะ เคาะ - มตี วั สะกด บางคาใช้ เ-อ เช่น เทอญ เทอญ เ-ิ แทนเสียงสระเออ มตี ัวสะกดท่ีไม่ใช่ ย เชน่ เกดิ เดนิ -็อ แทนเสยี งสระเอาะ - มีตวั สะกดและไม่มรี ปู วรรณยุกต์ เช่น ก็อก จ็อก - มีตวั สะกดและมีรปู วรรณยกุ ต์ ใช้ -อ เชน่ คลอ่ ก

๒๗ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๒๘ 3. รปู พยัญชนะ ๒. เป็นพยญั ชนะท้าย ได้แก่ ๑. พยัญชนะสะกด มี ๘ มาตรา มีท้ังพยัญชนะเด่ียว ควบกล้า และพยัญชนะท่ี พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง บางเสียงมีมากกว่า ๑ รูป มสี ระกากับ และบางรปู มีมากกวา่ ๑ เสียง ๑) แม่กก ไดแ้ ก่ ก กร ข ค คร ฆ เช่น บอก จักร นาค สมคั ร เมฆ ๒) แมก่ ง ไดแ้ ก่ ง เชน่ หาง ขงั หนา้ ท่ีของพยัญชนะ ๓) แม่กด ไดแ้ ก่ ด จ ช ชร ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ฒิ ต ตร ตุ ติ ถ ท ทร ธ ธิ ศ ศร ๑. เป็นพยญั ชนะต้น คือ เสยี งพยญั ชนะทีต่ ้นพยางค์ พยญั ชนะทุก ษ ส เชน่ กจิ คช เพชร ตวั เป็นพยญั ชนะตน้ เดย่ี วได้ ยกเว้น ฃ ฅ นอกจากนม้ี พี ยัญชนะตน้ ท่ีเกิดจาก ๔) แมก่ น ไดแ้ ก่ น ญ ณ ร ล ฬ เชน่ คน หาญ คุณ กาฬ พยัญชนะ ๒ ตัว ไดแ้ ก่ อักษรควบ และ อักษรนา–อกั ษรตาม ๕) แม่กบ ได้แก่ บ ป ปร พ ฟ ภ เชน่ คบ บาป กอปร อักษรควบ คอื พยัญชนะ ๒ ตัวประสมสระและตวั สะกดเดียวกนั ได้แก่ ๖) แมก่ ม ได้แก่ ม เชน่ กลม คลมุ ๗) แม่เกย ไดแ้ ก่ ย เชน่ กาย เขย ๑. อกั ษรควบแท้ คือ พยัญชนะตน้ ๒ ตวั อ่านออกเสยี งควบกนั ตวั หลังเปน็ ร ๘) แม่เกอว ได้แก่ ว เชน่ เขียว เหว ล หรือ ว เช่น ครู ปลี ๒. ตวั การนั ต์ คอื พยัญชนะท้ายท่ไี มอ่ อกเสียงเพราะมีเครอ่ื งหมายทัณฑฆาต ๒. อกั ษรควบไมแ่ ท้ คอื พยัญชนะตน้ ๒ ตัว ทต่ี ัวหลงั เป็น ร สามารถอา่ นได้ ๒ กากับ มที ัง้ พยัญชนะเดีย่ ว เชน่ สงฆ์ บัลลังก์ พยัญชนะหลายตัว เชน่ จันทร์ และ ลกั ษณะคอื ไมอ่ อกเสียง ร เชน่ จริง (จงิ ) สรง (สง) และออกเสยี ง ทร เปน็ ซ เช่น พยญั ชนะมสี ระกากบั เชน่ พนั ธุ์ กษัตรยิ ์ ทราย (ซาย) ทรุด (ซดุ ) อักษรนา–อกั ษรตาม คอื พยัญชนะ ๒ ตัวท่ปี ระสมสระและตวั สะกดเดยี วกัน ๓. พยัญชนะทีไ่ ม่ออกเสียง มกั เปน็ คายืมจากภาษาอนื่ มีทั้งอยู่หนา้ ตวั สะกด ไดแ้ ก่ เชน่ เกียรติ พราหมณ์ (ร และ ห ไมอ่ อกเสยี ง) และอยหู่ ลังตวั สะกด เช่น จักร พทุ ธ (ร และ ธ ไมอ่ อกเสยี ง) ๑. นาดว้ ยอกั ษรสูงหรอื อกั ษรกลาง พยางค์หนา้ ออกเสยี ง อะ กงึ่ เสยี ง พยางค์ หลงั ออกเสยี ง ห นา เชน่ ขนม อา่ นวา่ ขะ-หฺนม ๒. อ นา ย มี ๔ คา ได้แก่ อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก อา่ นว่า หย่า หยู่ หย่าง หยาก ๓. ห นา อักษรเดย่ี ว เช่น หงาย หนา หวาย หญ้า

๒๙ อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . อั ก ษ ร ไ ท ย . . . . . . ๓๐ อกั ษรสามหมู่หรอื ไตรยางศ์ รปู วรรณยกุ ต์ มี ๔ รูป ไดแ้ ก่ -่ -้ - - อกั ษรสามหมหู่ รอื ไตรยางศ์ คอื การแบ่งพยัญชนะเป็น ๓ กลุ่ม เพ่ือ การผันวรรณยกุ ตข์ องอกั ษรสามหมู่ เป็นระบบการผนั วรรณยุกต์ ได้แก่ อักษรกลาง คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ อักษรสูง - การผนั อกั ษรกลาง คาเปน็ ผนั ได้ ๕ เสยี ง พ้นื เสยี งคือสามัญ คาตายผนั ได้ ๔ เสียง คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห และอักษรต่า ประกอบด้วยอักษรต่าคู่ (อักษรต่าที่ พน้ื เสียงคอื เอก เสียงเหมือนอักษรสูง) ได้แก่ ค ฅ ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ อักษรต่าเดี่ยว - การผนั อกั ษรสูง คาเปน็ ผันได้ ๓ เสียง พ้นื เสียงคือจตั วา คาตายผนั ได้ ๒ เสยี ง (อกั ษรตา่ ท่ีเสียงไม่เหมอื นอักษรสงู ) ไดแ้ ก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ พื้นเสยี งคอื เอก - การผนั อักษรต่า คาเปน็ ผันได้ ๓ เสยี ง พืน้ เสียงคอื สามญั คาตายสระเสยี งสัน้ ผัน คาเป็น คาตาย ได้ ๓ เสียง พ้ืนเสียงคอื ตรี และคาตายสระเสียงยาวผันได้ ๓ เสียง พน้ื เสียงคอื โท คาเป็น คาตาย ลกั ษณะพยางค์ สามญั เอก โท ตรี จัตวา อกั ษร คาเปน็ กา กา่ กา้ ก๊า ก๋า ๑. ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา หรือ ๑. ประสมสระเสยี งสั้นในแม่ ก กา ยกเว้น กลาง คาตาย - กะ กะ้ กะ๊ ก๋ะ ประสมสระอา ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ สระอา ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ อักษรสงู คาเป็น - ขา่ ขา้ - ขา คาตาย - ขะ ขะ้ - - ๒. มีตวั สะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว ๒. มีตวั สะกดในแม่กก กด กบ คาเป็น คา - คา่ ค้า - คาตายสระ - - ค่ะ คะ ค๋ะ อกั ษรตา่ เสยี งส้ัน คาตายสระ - - คาด คา้ ด ค๋าด เสียงยาว

๓๑ พ ย า ง ค์ แ ล ะ คา ใ น ภ า ษ า ไ ท ย . . . . . . ก า ร ป ร ะ ส ม อั ก ษ ร . . . . . ๓๒ ๓. พยางค์และคาในภาษาไทย ๓. การประสม ๔ สว่ นพเิ ศษ ประกอบดว้ ยพยญั ชนะตน้ สระ ตวั การนั ต์ และวรรณยกุ ต์ เช่น เลห่ ์ เปน็ การประสม พยัญชนะต้น ล, สระ เ-, ตัว เสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยกุ ต์ ท่ีเปล่งออกมาพร้อมกันแต่ละ การนั ต์ ห์ และวรรณยกุ ต์ (รูปเอก เสียงโท) คร้งั จะเกดิ การประสมเสียงในภาษา กลายเป็นพยางคแ์ ละคา ๑. พยางค์ คอื เสยี งทเ่ี ปลง่ ออกมา อาจมีหรือไม่มีความหมาย ประกอบด้วยเสียง ๔. การประสม ๕ ส่วน ประกอบด้วยพยัญชนะตน้ สระ พยัญชนะ พยญั ชนะตน้ เสยี งสระ เสยี งวรรณยุกต์ และอาจมีเสียงพยญั ชนะท้ายดว้ ย ทา้ ยหรอื ตัวสะกด ตัวการันต์ และวรรณยกุ ต์ เช่น รักษ์ เป็นการประสม พยญั ชนะ ๒. คา คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย คาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ คา ตน้ ร, สระ (เปลยี่ นรูป ), พยัญชนะทา้ ย ก, ตวั การันต์ ษ์ และวรรณยกุ ต์ (ไม่มีรูป มากพยางค์ เช่น บดิ า มารดา เสยี งตรี) ๔. การประสมอกั ษร ๒. คามากพยางค์ ตอ้ งแยกประสมอกั ษรทลี ะพยางค์ เช่น สนกุ ต้องแยกเป็น ๒ พยางค์ คอื สะ กบั หนกุ สะ เป็นการประสม ๓ ส่วน คือ พยญั ชนะต้น ส, สระ -ะ การประสมอกั ษร คอื การนาสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์มา และวรรณยกุ ต์ (ไมม่ ีรปู เสยี งเอก) หนกุ เปน็ การประสมอกั ษร ๔ ส่วน คอื ประกอบกันให้เปน็ พยางค์ พยญั ชนะตน้ หน, สระ , พยัญชนะท้าย ก และวรรณยุกต์ (ไมม่ ีรูป เสียงตร)ี ๑. คาพยางคเ์ ดียว การประสมอักษรมี ๔ วิธี ได้แก่ ๑. การประสม ๓ สว่ น ประกอบด้วยพยญั ชนะต้น สระ และ วรรณยุกต์ (อาจไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์) เชน่ นา้ เปน็ การประสม พยัญชนะตน้ น, สระ และวรรณยกุ ต์ (รปู โท เสยี งตรี) ๒. การประสม ๔ ส่วน ประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ พยัญชนะ ท้ายหรอื ตัวสะกด และวรรณยุกต์ เช่น วดั เปน็ การประสม พยญั ชนะต้น ว, สระ (เปลย่ี นรปู ), พยัญชนะทา้ ย ด และวรรณยกุ ต์ (ไม่มีรูป เสียงตร)ี

ข อ บ คุ ณ ค่ ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook