สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ชีวิตของมนุษย์และสัตว์ ปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของคน คนเป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับพืชและสัตว์ ดังนั้นร่างกายของคนเราจึงมีการเจริญ เติบโต ปัจจัยใดบ้างที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของเราสิ่งที่จำเป็นใน การดำรงชีวิตของเรามี 3 ประการ ได้แก่อาหาร น้ำ และอากาศ 1. อาหาร อาหารเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง และดำรงชีวิตอยู่ได้ ตามปกติเรากินอาหารวันละ 3 มื้อ ได้แก่ มื้อเช้า มื้อกลางวัน และมื้อ เย็นอาหารที่ควรกินทุก ๆ วัน คืออาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย ดังนี้ ฬื่
อาหารหมู่ที่ 1 ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วต่าง ๆ เป็นอาหารที่ให้โปรตีน ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต และแข็งแรง ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย อาหารหมู่ที่ 2 ได้แก่ ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน อ้อย เป็นอาหารที่ให้คาร์โบไฮเดรต ซึ่งมีประโยชน์ คือ ให้พลังงานแก่ร่างกาย อาหารหมู่ที่ 3 ได้แก่ ผักใบเขียว และพืชผักอื่น ๆ เป็นอาหารที่ให้วิตามินและเกลือแร่ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ ทำให้ร่างกายมีความต้านทานโรคได้ดี ช่วยควบคุมการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ l อาหารหมู่ที่4 ได้แก่ ผลไม้ เป็นอาหารที่มีเส้นใย และเป็นแหล่งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ ช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ ทำให้ไม่เกิดอาการท้องผูก ช่วยสร้างเสริมร่างกายให้แข็งแรง ช่วยควบคุมการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ อาหารหมู่ที่ 5 ได้แก่ ไขมันจากพืชและสัตว์ ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ ให้พลังงานแก่ร่างกาย ช่วยให้ร่างกายอบอุ่นนะ
ร่างกายของเราเจริญเติบโตได้ เพราะเรากินอาหาร ดั้งนั้นเราจึงควรเลือกกินอาหารที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณที่เหมาะสมตามที่ร่างกายต้องการ - อาหารบางชนิดมีสารอาหารจำกัด เช่น โดนัท พิซซ่า มันฝรั่งทอด ไม่ควรกินในปริมาณมาก เพราะอาจเป็นโทษต่อร่างกาย การกินอาหารที่ไม่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ จะทำให้สุขภาพร่างกายของเราไม่แข็งแรง และ ก่อให้เกิดโรคได้ เช่น โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร เป็นต้น ดังนั้นเราควรกินอาหารที่มีประโยชน์เพราะจะทำให้ร่างกายเจริญเติบโต มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง และช่วยทำให้ไม่เป็นโรคบางโรคอีกด้วย อาหารเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตปัจจัยหนึ่งการกินอาหารที่ไม่ เหมาะสมอาจมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย และอาจทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้ ดังนั้นเราจึงต้อง ปฏิบัติตนในการกินอาหารอย่างถูกวิธี เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และเจริญเติบโตได้อย่าง สมวัย หลักในการกินอาหารที่ควรปฏิบัติ มีดังนี้ - กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และหลากหลายชนิดในแต่ละวัน และควรกินอาหารสด สะอาด ที่ ปรุงเสร็จใหม่ ๆ เพราะให้ประโยชน์มากกว่าอาหารบรรจุกระป๋อง หรืออาหารหมักดอง - เด็กในวัยเรียนควรดื่มนมทุกวัน วันละ 1-2 แก้ว สำหรับคนอ้วนควรดื่มนมพร่องมันเนย - ควรดื่มน้ำสะอาดให้ได้วันละ 6-8 แก้ว - ไม่ควรกินอาหารที่มีรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด หรืออาหารที่มันจัด เพราะมีโทษต่อร่างกาย ← -
t สั๋ 2. น้ำ น้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของร่างกายของเรา โดยร่างกายจะมีน้ำประมาณ 70 ส่วน ใน 100 ส่วนน้ำจะช่วยทำให้ร่างกายทำงานได้ตามปกติ ช่วยในการลำเลียงสาร อาหาร และขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย เราสามารถอดอาหารได้นานหลายวัน แต่อด น้ำได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ถ้าเราขาดน้ำจะทำให้เราเสียชีวิตได้ ดังนั้นเราจึงควรดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ใน 1 วัน เราควร ดื่มน้ำสะอาดประมาณ 6-8 แก้ว 3. อากาศ อากาศเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการดำรงชีวิตของคนเรา เพราะแก๊สออกซิเจน ที่อยู่ในอากาศมีความจำเป็นต่อร่างกายของเรา ทำให้ระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ทำงานได้ตามปกติ ถ้าเราขาดอากาศหายใจภายในเพียงไม่กี่นาทีเราจะเสียชีวิตได้ การอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์จะทำให้ร่างกายของเราได้รับแก๊สออกซิเจนในการ หายใจอย่างเพียงพอ ร่างกายจะสดชื่น สมองปลอดโปร่งและมีสุขภาพดี แต่ถ้าเราอยู่ใน บริเวณที่มีอากาศไม่สะอาด อาจทำให้ร่างกายได้รับอันตรายได้
วัฏจักรชีวิตของสัตว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ หมายถึง ชีวิตการเจริญเติบโตของสัตว์ที่เจริญเติบโตต่อเนื่องกันมา อย่างเป็นระเบียบ การเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิดจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในการเจริญ เติบโตเช่น กบ ตอนแรกมาจากแม่ครั้งแรกจะเป็นไข่ หลังจากนั้นจะเปลี่ยนจากไข่กลายเป็นลูก อ๊อด เมื่อโตขึ้นมาอีกหน่อยหางจะหดลงแล้วขึ้นมาหากินบนบกจนกลายเป็นกบ การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญเติบโตได้แก่ สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก และแมลงเกือบทุกชนิด การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ชั้น เมตามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ขั้น คือ - ไข่ (egg) - ตัวอ่อน (larva) - ดักแด้ (pupa) - ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ ยุง ผีเสื้อ ผึ้ง มด ต่อ แตน ไหม แมลงวัน ด้วง วงจรชีวิตของยุง
การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไม่ครบ 4 ชั้น เมตามอร์โฟซีสแบบไม่สมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไม่ครบขั้น มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ -ไข่ (egg) -ตัวอ่อนในน้ำ (naiad) -ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ แมลงปอ ชีปะขาว จิงโจ้น้ำ เป็นต้น mttetnrn • การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบค่อยเป็นค่อยไป เมตามอร์โฟซีสแบบค่อยเป็นค่อยไป คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลงรูป่างที่ละน้อยไม่ ครบขั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ -ไข่ (egg) -ตัวอ่อน (mymph) -ตัวเต็มวัย (adult) ได้แก่ แมลงสาบ ตั๊กแตน จิ้งหรีด จักจั่น มวนต่าง ๆ เหา ปลวก ไร เรือด เพลี้ย วัฏจักรของชีวิตของตั๊กแตน
การเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะ (Ametamorphosis) การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญ เติบโต ตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก แมลงบางชนิด เช่น เสือ ตัวสองง่าม ตัวสามง่าม แมลงหางดีด วัฏจักรของชีวิตของเสือ
ประโยชน์ของการศึกษาวงจรชีวิตของสัตว์ 1.การเลี้ยงสัตว์ ซึ่งไม่ว่าจะเลี้ยงเป็นอาหา หรือว่าเรื่องในทางธุรกิจอุตสาหกรรมสัตว์ที่ นิยมเลี้ยงเช่น ไก่ เป็ด หมู ปลา 2.แมลงบางชนิดสามารถใช้ประโยชน์ระหว่างการเจริญเติบโต คือ ผีเสื้อไหม ในระยะ ดักแด้สามารถเอาเส้นใยที่ห่อหุ้มนำมาทักทอเป็นผ้าไหมได้ และยังเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ของประเทศอีกด้วย เพราะผ้าไหมที่ท่อสามารถส่งออกไปขายต่างประเทศ 3. เป็นประโยชน์ในการกำจัดสัตว์บางชนิดที่เป็นพาหะ เช่น ยุงลาย ซึ่งเป็นตัวนำเชื้อ โรคของ ไข้เลือดออกการกำจัดต้องกำจัดยุงในระยะที่เป็นไข่ และช่วงที่เป็นลูกน้ำ การ การ _
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง วัสดุและการเปลี่ยนแปลง วัสดุ หรือสิ่งของต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งที่เป็นของเล่นของใช้ รวมถึงสิ่งที่เรานำมา รับประทาน ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่สำคัญในชีวิตประจำวัน วัตถุ คือ สิ่งของที่มีความแตกต่างกัน ทั้งรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก สี กลิ่น ของเล่นของใช้ เช่น หนังสือ จักรยาน ดินสอ กระเป๋านักเรียน หุ่นยนต์ หมอน ตุ๊กตา เป็นต้น วัตถุต่างทำมา จากวัสดุหลายชนิด และวัสดุบางชนิดก็ทำมาจากธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ไม้ บางชนิดมนุษย์ เป็นผู้ผลิตหรือทำขึ้น เช่น พลาสติก แก้ว โลหะ กระดาษ เป็นต้น วัสดุ คือ สิ่งที่นำมาใช้ทำของเล่นและของใช้ต่างๆ ดังนั้น พลาสติก ไม้ ผ้า ทราย โลหะ จึง เป็นวัสดุ เพราะนำมาใช้ทำของเล่นของใช้ ของเล่นของใช้บางอย่างทำมาจากวัสดุเพียงอย่าง เดียว เช่น ไม้บรรทัด ทำจากพลาสติก ลูกบอลทำมาจากหนัง ของเล่นบางอย่างทำมาจากไม้ ผ้าขนหนูทำจากผ้าของเล่นของใช้บางอย่างทำมาจากวัสดุหลายชนิดประกอบกัน เพื่อให้ เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น รองเท้าผ้าใบ ดินสอ กระเป๋า ที่นอน โทรศัพท์ เป็นต้น ที่มาของวัสดุ วัสดุแต่ละชนิดมีแหล่งที่มาแตกต่างกัน คือ มาจากพืช เช่น ไม้ เส้นใยพืช ใบพืช เยื่อไม้ แผ่น ยาง อื่นๆ มาจากสัตว์ เช่น หนังสัตว์ เขาสัตว์ กระดูกสัตว์ เส้นไหม ขนสัตว์ อื่นๆมาจาก ธรรมชาติ เช่น หิน ดิน ทราย แร่ธาตุอื่นๆมาจากคนสร้างขึ้น เช่น แก้ว พลาสติก หนังเทียม ใย สังเคราะห์ อื่นๆ
สมบัติของวัสดุ สี ต่างๆ ลักษณะผิวสัมผัส เช่น เรียบ ขรุขระ ความแข็ง หรือความอ่อนนุ่ม หนัก เบา ยืดหยุ่นได้ เหล่านี้ เป็นสมบัติของวัสดุดังนั้นวัสดุแต่ละชนิดมีแหล่งที่มาที่ต่างกัน จึงมีสมบัติที่ แตกต่างกันวัสดุที่นำมาทำของเล่นของใช้ วัสดุที่นำมาทำเป็นของเล่นของใช้ เพื่อให้วัสดุเหล่านั้นมีความคงทนตามคุณสมบัติ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม และความปลอดภัย ประโยชน์ของการใช้งานและความทนทาน สมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น โลหะ เป็นวัสดุที่แข็ง มีหลายชนิด เช่น เหล็ก อลูมิเนียม ทองแดง จะนำมาใช้ต่างกัน ส่วนเหล็กมี ความแข็งแต่เป็นสนิม อะลูมิเนียม แข็งน้อยกว่าเหล็กแต่เบาและไม่เป็นสนิม จึงใช้อลูมิเนียมทำภาชนะหุงต้มทองแดงเป็นโลหะ ที่แข็งเหมือนเหล็กแต่เบากว่ามากและดัดให้โค้งเป็นรูปต่าง ๆ ได้ โลหะเป็นวัสดุที่มีลักษณะผิวมันวาว สามารถตีให้เป็นแผ่นเรียบ หรือดึงออกเป็นเส้น หรืองอได้โดยไม่หัก นำไฟฟ้า และนำความร้อน ได้ดี
ไม้ มีลักษณะแข็ง บางชนิดมีความทนทาน สามารถนำมาประดิษฐ์ ดัดแปลง ทำที่อยู่อาศัย เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือเครื่องใช้อื่น ๆ เยื่อไม้นำมาทำกระดาษ เช่น สมุด หนังสือ หนังสือพิมพ์ กระดาษเนื้อเยื่ออ่อน แก้ว เป็นของแข็ง โปร่งใส ผิวเรียบ ทนต่อการขูดขีดและความร้อนแต่ แตกหักง่าย ส่วนใหญ่จะนำมาทำ แก้วน้ำ ขวด กระจก อุปกรณ์ในห้องทดลอง นอกจากนั้นยังมีการผลิตแก้วให้มีคุณสมบัติพิเศษเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง เช่น เลนส์แว่นตา เลนส์แว่นขยาย กระจกเงา กระจกนิรภัย เป็นต้น
!( พลาสติกเป็นวัสดุสังเคราะห์ ที่ได้จากจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี(อุตสาหกรรม การผลิตน้ำมัน) มีน้ำหนักเบา ไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า น้ำซึมผ่านไม่ได้ ไม่แตกหัก ง่ายบางชนิดมีความแข็ง บางชนิดสามารถยืดหยุ่นได้ นำมาทำของเล่นของใช้ได้หลาก หลาย เพราะกรรมวิธีในการผลิตไม่ซับซ้อนและทำให้มีสีต่าง ๆ ได้ }r / ยาง ทำมาจากยางของต้นยางพารา มีความยืดหยุ่นดี ใช้ทำยางรถยนต์ ยางลบ ลูกโป่ง พื้นรองเท้า เป็นต้น
เซรามิก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากดิน หิน หรือแร่ธาตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่โลหะ โดยทำเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วผ่านการให้ความร้อนที่อุณหภูมิสูงมาก ๆ ผลิตภัณฑ์ ที่ได้จะมีความแข็ง แต่เปราะต่อแรงกระแทก ทนต่อสารเคมี ทนต่อสภาพอากาศ และความชื้น มีสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้า นิยมทำเป็นของประดับบ้าน และใช้ทำเป็น วัตถุทนไฟในอุปกรณ์ไฟฟ้า ผ้า ทำมาจากเส้นใยธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์ เส้นใยธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่ได้ จากพืชและสัตว์ ผ้าที่ผลิตจากเส้นใยที่ได้จากพืช ได้แก่ ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน ผ้าใยสับปะรด และ ผ้าป่าน ผ้าที่ผลิตจากเส้นใยที่ได้จากสัตว์ ได้แก่ ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ เส้นใยสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่ผลิตจากสารเคมี ผ้าผลิตจากเส้นใยสังเคราะห์ ได้แก่ ผ้าไนลอน พอลิเอสเทอร์ และอะไครลิค มีสมบัติไม่ค่อยยับ ซักง่าย แห้งเร็ว ไม่ดูดซึม เหงื่อ เพราะไม่มีช่องระบายอากาศ จึงไม่นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มในบ้านเราเนื่องจาก สภาพอากาศที่ร้อน
การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ วัสดุต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา เมื่อถูกกระทำ เช่น บีบ ทุบ ดึง ดัด เป่า จะทำให้วัสดุมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างดังนี้ การบีบ การทำให้วัสดุหดหรือลดขนาด เช่น บิดผ้า บีบฟองน้ำ เป็นต้น การบิด คือ การทำให้วัสดุ บิดเบี้ยว เช่น บิดผ้า บิดลวด เป็นต้น การทุบ คือ การทำให้วัสดุแตกหรือยุบด้วยแรงกระแทก เช่น ทุบกระป๋อง ทุบกะลามะพร้าว เป็นต้น การดัด คือ การทำให้วัสดุโค้งงอได้ตามต้องการ เช่น ดัดเหล็กประตูหน้าต่าง เป็นต้น การดึง คือ การทำให้วัสดุยืดขยายขึ้น เช่น การดึงยางรัดของ เป็นต้น การทำให้ร้อนขึ้น หรือทำให้เย็นลงจะทำให้ลักษณะและรูปร่างของวัสดุเปลี่ยนแปลงไป เช่น การทอดไข่ การทำน้ำแข็ง ประโยชน์และอันตรายจากของเล่นของใช้ 1.ของเล่นและของใช้ต่างๆ มีทั้งประโยชน์และโทษ เช่น จานชาม ทำมาจาก พลาสติก แก้ว อลูมิเนียม ใช้ประโยชน์ในการใส่อาหาร ภาชนะที่มีสีไม่ควร นำมาใช้ เพราะสีที่อยู่ในภาชนะไม่ปลอดภัยจะผสมละลายปนเปื้อนออกมาเมื่อได้รับความ ร้อน ส่วนภาชนะที่ทำจากแก้ว พลาสติก กระเบื้อ เป็นวัสดุที่แตกหักง่าย สมุดหนังสือ ทำมาจากกระดาษใช้ประโยชน์ในการเรียน แต่โทษของหนังสือนั้นเราจะต้องรู้จัก เลือกประเภทของหนังสือที่นำมาอ่าน จะต้องเลือกหนังสือประเภทที่อ่านแล้วประเทืองปัญญา ให้ความรู้ และมีสาระ ของเล่น ของเล่นที่ทำด้วยผ้า พลาสติก เช่น ตุ๊กตา หรือของเล่นที่เป็นหุ่นยนต์หรือรถยนต์ มี ประโยชน์คือ ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หลังจากใช้แล้วต้องรู้จักเก็บให้เป็นระเบียบ เพราะอาจทำให้เหยียบลื่นหกล้มเกิดอันตรายได้ ของใช้ที่เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ควรระวังการใช้งาน เวลาที่จะเสียบปลั๊กมือและร่างกายต้องแห้ง เสมอ มิฉะนั้นจะเกิดไฟดูด เกิดอันตรายได
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ แรง (Force) หมายถึง อำนาจหรือสิ่งที่สามารถทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแรงเป็น ปริมาณที่ประกอบด้วยขนาดและทิศทาง แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน(N) เรียกตามชื่อนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ เซอร์ ไอแซค นิวตัน ผู้ ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก และเป็นผู้ศึกษาเกี่ยวกับแรง และการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุ อาจทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้ 1. ทำให้เปลี่ยนจากวัตถุหยุดนิ่ง เป็นเคลื่อนที่ 2. ทำให้เปลี่ยนจากวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ เป็นหยุดนิ่ง เกร็ดความรู้ 3. ทำให้เปลี่ยนจากเคลื่อนที่ช้า เป็นเร็วขึ้น 4. ทำให้เปลี่ยนจากเคลื่อนที่เร็ว เป็นช้าลง ดึง(Pull) คือ การออกแรงดึงวัตถุ จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่ 5. ทำให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง ไปในทิศทางเดียวกับแรงดึงโดยเคลื่อนที่เข้าหาตัวเรา ผลัก(Push) คือ การออกแรงผลักวัตถุ จะทำให้วัตถุ 6. ทำให้วัตถุเปลี่ยนขนาด เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับ แรงผลัก โดยเคลื่อน 7. ทำให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง ออกจากตัวเรา แรงลัพธ์(Resultant Force) คือ ผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุตั้งแต่ 2 แรงขึ้นไป เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการหาแรงลัพธ์ จึงเขียนสัญลักษณ์แทนแรงด้วยลูกศร ความยาวของ ลูกศรแทนขนาดของแรง หัวลูกศรแทนทิศทางของแรง เมื่อวัตถุถูกแรงกระทำพร้อม ๆ กันมากกว่าหนึ่งแรงขึ้นไป ผลของแรงกระทำทั้งหมดจะส่ง ผลเสมือนเกิดจากแรง ๆ เดียว ซึ่งเป็นผลจากการรวมกันของแรงทุกแรง เราเรียกแรงที่เกิดจาก การรวมแรงหลาย ๆ แรงนี้ว่า แรงลัพธ์
แรงเ%ยดทาน แรงเ%ยดทาน หมาย%ง แรง)เ+ด-นระห0าง1ว3ม!สของ7ต\" 2 #น)3ม!ส9น :งแรง ;เ<นแรง)1ว7ต\"1วห=ง>านทานการเคBอน)ของ1ว7ต\"Cก1วห=ง DงผลGใI7ต\" เคBอน)Jาลงเ$อย ๆจนกระ%งหMด&งใน)Nด ธรรมชา.ของแรงเ%ยดทาน แรงเOยดทานจะกระGใน'ศตรงQาม9บการเคBอน)ของ7ต\" (าไTUแรงเOยดทาน7ต\"จะ เคBอน)Vวย)ตราคงWวตลอดการเคBอน) แXเYอUแรงเOยดทาน7ต\"จะเคBอน)Jาลงเ$อย ๆ จนหMด &งใน)Nด ขนาดของแรงเOยดทานจะมากหZอ[อย -นอ\\9บ]กษณะของ1ว3ม!ส และ`หaกของ7ต\" )กดลงบนCก*น1วห=งเ<นห]ก หาก`หaกของ7ต\"มาก แรง)กดลงบน*น1วCก*น1วห=งbจะมาก แรงเOยดทาน)เ+ด-นbจะUมาก Cกcงหาก7ต\">องเคBอน)บน*น1วขdขระมาก bจะUแรงเOยดทาน เ+ด-นมากก0าตอนเคBอน)อ\\บน*น1ว)ขdขระ[อย 1จ3ย45ผล8อแรงเ%ยดทาน 1.`หaกหZอแรงกดของ7ต\")กดลงบน*น (า`หaกหZอแรงกดของ7ต\"มาก จะเ+ดแรงเOยด ทานมาก (า`หaกหZอแรงกดของ7ต\"[อยจะเ+ดแรงเOยดทาน[อย 2. ]กษณะของ*น1ว3ม!ส – 9า:น;วเ=ยบ เeน กระเ+อง กระจก พลาสgก เ<น>น จะเ+ดแรงเOยดทาน[อย เhองจาก*น 1วเiยบ UการเOยดOระห0าง9น[อย – 9า:น;วข?ขระ เeน *นทราย *นห,า *น-นกรวด เ<น>น จะเ+ดแรงเOยดทานมาก เhองจาก*น1วขdขระUการเOยดOระห0าง9นมาก jงUแรงเOยดทาน)>านการเคBอน)ของ7ต\" เ+ด-น
ประโยชCของแรงเ%ยดทาน เราสามารถใJประโยช.จากแรงเOยดทาน ในการG+จกรรมXาง ๆ ในopตประq7นไVมากมาย เeน 1. GใI7ต\"หMด&งไTเคBอน) เeน eวยหMดรถยน/)0]งเคBอน) ยางรถ)UดอกยางeวยใIรถ เกาะถนนไVr เ<น>น 2. การสsาง*นถนน>องGใI*นรถเ+ดแรงเOยดทานพอสมควร รถjงจะเคBอน)บนถนนโดย)tอ รถไTหuนอ\\9บ)ไV 3. eวยในการห1บvบwงของโดยไTBนไหลไปมา 4. eวยในการเxนไTใIBนไหล Dกษณะของแรงเ%ยดทาน 1) `หaกหZอแรงกดของ7ต\")กดลงบน*น (าUมากจะเ+ดแรงเOยดทานมาก 2) ]กษณะของ1ว3ม!ส (า1ว3ม!สเiยบแบะBนจะเ+ดแรงเOยดทาน[อย (า1ว3ม!สขdขระจะ เ+ดแรงเOยดทานมาก เhองจาก*น1วขdขระUการเOยดOระห0าง9นและ9นมาก jงUแรงเOยดทาน)>าน การเคBอน)ของ7ต\"เ+ด-น การ)*น1วเiยบ-น GใIUการเOยดOระห0าง9นและ9น[อยลงจะeวยลดแรง เOยดทาน GใI7ต\"เคBอน)ไปไV2าย แรงเOยดทานGใIเ+ดผลr เeน eวยในการเ+นไปใIBนไถล eวยหMดรถ)0]งเคBอน) eวยใIการห1บvบwงของไTBนไหลไปมา eวยใIUดไTBนบาดyอเYอWดหZอ3นของ เ<น>น
แรงแม่เหล็ก แม่เหล็ก เป็นวัตถุชนิดหนึ่ง ที่สามารถดูดหรือผลักสิ่งของที่เป็นสารแม่เหล็กได้ แม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือ และขั้วใต้ แม่เหล็กขั้วเดียวกันเมื่อนำมาใกล้กันจะผลักกัน ส่วนขั้วต่างกันจะดูดกัน แม่เหล็ก เป็นวัตถุที่มีแรงดึงดูดเหล็กหรือวัตถุโลหะเล็กๆ บางชนิดเข้าหาตัวเองได้ โดยที่เราไม่สามารถมองเห็นแรงดึงดูดนั้น เราเรียกแรงที่แม่เหล็กดึงดูดว่า \"อำนาจแม่ เหล็ก\" อำนาจแม่เหล็ก จะแรงที่สุดที่ตรงปลายทั้งสองข้าง ที่เราเรียกว่า \"ขั้วแม่เหล็ก\" แม่เหล็ก แต่ละแท่งจะมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือเหนือและขั้วใต้ (ขั้วบวกและขั้วลบ) ถ้าแท่งแม่เหล็กอยู่ ใกล้กันจะแสดงอำนาจแม่เหล็กออกมา โดยขั้วแม่เหล็กที่เหมือนกันจะผลักกัน และขั้วที่ต่าง กันจะดูดกัน แม่เหล็กทุกแท่งจะส่งแรงแม่เหล็กไปรอบๆ โดยที่เรามองไม่เห็นเราเรียกบริเวณนั้นว่า \"สนามแม่เหล็ก\" ไฟฟ้าทำให้เกิดแม่เหล็กได้โดย นำลวดทองแดงมาพันรอบแท่งเหล็กที่ต้องการทำให้ เป็นแม่เหล็กแล้วต่อเข้ากับแบตเตอร์รี่ เมื่อกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ไหลผ่านลวดและ แท่งเหล็กจะทำให้แท่งเหล็กกลายเป็นแม่เหล็ก และเมื่อเอาแบตเตอร์รี่ออกแท่งเหล็กก็จะ หมดอำนาจความเป็นแม่เหล็กทันที ดังนั้น เราจะสรุปเรื่องแรงและการเคลื่อนที่ได้ดังนี้ แรงทำให้วัตถุเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น ตำแหน่ง ความเร็ว ขนาด รูปร่าง แรงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ แรงที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ และแรงที่เกิด จากธรรมชาติ
แรงที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น แรงดึง แรงผลัก แรงจากเครื่องกล แรงที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น แรงลม แรงน้ำ แรงแม่เหล็ก มวลและน้ำหนักมีความหมายแตกต่างกัน มวล หมายถึง ปริมาณของเนื้อสารที่มีอยู่ในวัตถุ ซึ่งจะมีค่าคงที่ตลอดเวลา ไม่ว่าวัตถุ จะอยู่ที่ไหนก็ตาม น้ำหนัก คือ แรงดึงดูดของโลก ที่ดึงให้วัตถุตกลงสู่พื้น น้ำหนักของวัตถุขึ้นกับแรงโน้ม ถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุนั้น แม่เหล็ก เป็นวัตถุที่มีแรงดึงดูดเหล็กหรือวัตถุโลหะเล็กๆ บางชนิดเข้าหาตัวเองได้ โดยที่ เราไม่สามารถมองเห็นแรงดึงดูดนั้น เราเรียกแรงที่แม่เหล็กดึงดูดว่า \"อำนาจแม่เหล็ก\" อำนาจแม่เหล็ก จะแรงที่สุดที่ตรงปลายทั้งสองข้าง ที่เราเรียกว่า \"ขั้วแม่เหล็ก\" แม่เหล็ก แต่ละแท่งจะมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือเหนือและขั้วใต้ แม่เหล็กทุกแท่งจะส่งแรงแม่เหล็กไปรอบๆ โดยที่เรามองไม่เห็นเราเรียกบริเวณนั้นว่า \"สนามแม่เหล็ก\"
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ! ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พลังงาน คำว่า \"พลังงาน\" หมายถึง ความสามารถในการทำงานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งาน ได้โดยการทำให้วัตถุ หรือธาตุเกิดการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปแบบไปได้ การที่วัตถุ เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ ก็เพราะมีแรงหรือพลังงานเข้าไปกระทำพลังงานหรือ ความสามารถในการทำงานได้นี้ นอกจากสิ่งมีชีวิตจะใช้พลังงาน ซึ่งอยู่ในรูปของสาร อาหารในการดำรงชีวิตโดยตรงแล้ว สิ่งมีชีวิตยังต้องใช้พลังงานในรูปแบบลักษณะอื่น ๆ ที่ เกี่ยวกับการดำรงชีวิตประจำวันอีกในหลายรูปแบบ เช่น ทางด้านแสงสว่าง ความร้อน ไฟฟ้า เป็นต้นทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ก็คือ 1. พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ (พลังงานหมุนเวียน) ได้แก่ พลังงานจากฟืน และถ่าน แกลบ กากอ้อย พลังงานลม พลังงานจากชีวมวลพลังงานความร้อนใต้พิภพ ฟืนและถ่าน เป็นรูปแบบของพลังงานที่มนุษย์รู้จักใช้ก่อนพลังงานอย่างอื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันก็ยังใช้ฟืนและถ่านเป็นพลังงานในการหุงต้มอยู่ สำหรับประเทศไทย ป่าไม้ เป็นแหล่งพลังงานพื้นฐานของคนไทยการจนกระทั่งปัจจุบัน การตัดไม้จากป่ามา แปรรูปเป็นฟืนและถ่านส่วนใหญ่ใช้เพื่อหุงต้มในครัวเรือนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขต ชนบทอัตราการทำลายป่าในปัจจุบันชี้ให้เห็นว่าในอนาคตถ้าหากยังไม่มีการควบคุม ป้องกันการทำลายป่าหรือการปลูกป่าให้ทันกับความต้องการใช้แล้ว ก็จะทำให้เกิด ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรชนิดนี้อย่างแน่นอน
แกลบ แกลบได้มาจากผลผลิตของข้าวที่ชาวนาปลูกกันไว้กิน สำหรับใน ประเทศไทยก็ยังมีการปลูกอยู่มากมายทั่วทุกภาค การนำแกลบมาใช้ทางด้านความร้อน ได้แก่ โรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้ำ และใช้ฉุดเครื่องเพื่อสีข้าว ใช้ในการเผาอิฐ ใช้ในการหุงต้ม และผลิตถ่านแกลบยังมีอยู่มาก ตราบใดชาวนายังปลูกข้าวอยู่ แหล่งพลังน้ำ ประเทศไทยใช้พลังน้ำผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการสร้างเขื่อนเริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2507 จนถึงปี พ.ศ. 2534 รวมทั้งสิ้น 30 เขื่อน (ขนาด 1 MW ขึ้นไป) พลังงานไฟฟ้า ที่ได้จากพลังน้ำคิดเป็นร้อยละ 9% ของหลังงานอื่น ๆ ทั้งหมดที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ของประเทศ สำหรับรูปแบบของการนำพลังน้ำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า สามารถแบ่งตามแหล่งผลิตไฟฟ้าได้ดังนี้ 1. โรงไฟฟ้าพลังน้ำ คือ โรงไฟฟ้าที่ใช้แรงดันของน้ำจากเขื่อน อ่างเก็บน้ำหรือ น้ำจาก ลำห้วยที่สูง ๆ ไปหมุนเครื่องกังหัน เพื่อเปลี่ยนแรงดันเป็นพลังงานที่ควบคุมได้และ ใช้พลังงานกลที่ได้นี้ไปหมุนเครื่องผลิตไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 2. โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน (พลังไอน้ำ) คือ โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานความ ร้อนเป็นกำลังในการผลิตไฟฟ้า โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อต้มน้ำ ให้กลายเป็นไอน้ำที่มี แรงดันสูง ไปขับดันเครื่องกังหันไอน้ำแล้วฉุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าตลอดเวลาเป็นระยะเวลา นานก่อนการหยุดเครื่องแต่ละครั้ง
พลังงานแสงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานของโลกที่สำคัญที่สุด พลังงาน ที่โลกได้รับจากแสงอาทิตย์โดยตรง คือ พลังงานความร้อน และพลังงานแสงสว่าง พลังงานความร้อนจะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศ และน้ำเป็นผลทำให้เกิด ลม คลื่น ฝน ซึ่งกลายเป็นแหล่งพลังงานที่เราสามารถนำมาใช้ประโยชน์ สำหรับพลังงานแสงสว่าง นั้นสิ่งที่มีชีวิตจำพวกพืชสีเขียว จะได้รับประโยชน์ในการสังเคราะห์แสง ทำให้พืชเจริญ เติบโต โดยพลังงานแสงจะเปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีและสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อตามส่วนต่าง ๆ ของพืชนั่นเองในลักษณะของห่วงโซ่อาหาร และเมื่อพืชและสัตว์ตายลงก็จะเกิดการเน่า เปื่อยผุพังทับถมกันนับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี จนกลายเป็นแหล่งพลังงาน ซากสัตว์ คือ ฟอสซิล อันได้แก่ ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติต่าง ๆ เดิมเราใช้ประโยชน์จากแสงอาทิตย์ตาม สภาพธรรมชาติ เช่น ใช้ในการทำเกลือนอกจากนั้นก็ใช้ในการอบหรือตากผลิตผลทางการ เกษตร เช่น การทำเนื้อแห้ง ปลาแห้ง ผลไม้แห้ง และการตากข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจัย เพื่อที่จะพัฒนาเอาพลังงานจากดวงอาทิตย์มาใช้ โดยการสร้าง แผงสำหรับความร้อนหรือเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า (เซลล์แสง อาทิตย์) เพื่อนำไปใช้ในการสูบน้ำ ไฟฟ้าแสงสว่าง โทรทัศน์ เป็นต้น สำหรับชนบทและที่ อื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่ยังอยู่ในการทดลอง ทั้งนี้เพื่อหาทางทดแทนพลังงานประเภทที่ใช้แล้ว หมดไป ในอนาคต
2. พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ฯลฯ ก๊าซธรรมชาติ เป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่เกิดจากการสลายตัวของซากชีวะภายใต้การทับถมที่ มีความร้อนสูงเป็นเวลาหลายล้านล้านปีโดยปกติจะถูกกักเก็บอยู่ในบริเวณชั้นหินปูน (lime stone) ซึ่งอยู่เหนือแหล่งของน้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติที่สูบขึ้นมามักจะถูกทำให้อยู่ใน รูปของของเหลว เพื่อความสะดวกในการขนส่งก๊าซธรรมชาติที่สูบขึ้นมาได้สามารถนำไปใช้ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตลอด หรืออาจใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงซากชีวะที่อยู่สถานะของแข็ง สันนิษฐานว่าเกิดจากซากพืชที่ขึ้น อยู่ตามที่ชื้นแฉะเช่น หนองบึง ครั้นเมื่อพืชเหล่านั้นตายลงก็จะทับถมกันอยู่ และเกิดการ เปลี่ยนแปลงสลายตัวแบบไม่ใช้ออกซิเจนอย่างช้า ๆ โดยบักเตรี (bacteria) ซึ่งจะเปลี่ยน สารเซลลูโลส (cellulose) ไปเป็นลิกนิน (lignin) ประจวบกับมีการเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีวิทยาที่เกิดจากการทับถมกัน ทำให้การสลายตัวหยุดลง จากการถูกทับถมกันเป็นเวลา นาน ๆ ภายใต้ความดันสูง ทำให้น้ำและสารระเหย (volatile) ถูกขจัดออกไป ถึงตอนนี้ อะตอมไฮโดรเจนจะรวมตัวกับอะตอมคาร์บอนเกิดเป็นสารประกอบไฮโดร์คาร์บอนขึ้นมา หินน้ำมัน เกิดตามแหล่งที่ดึกดำบรรพ์เคยเป็นทะเลสาปมาก่อน แล้วกลับตื้นเขินขึ้น เพราะมีสัตว์และพืชตายทับถมจมอยู่ ซากสัตว์และพืชประกอบด้วยสารอินทรีย์เป็นส่วนใหญ่เมื่อ ผสมกับหิน ดิน ทราย และถูกอัดแน่นเป็นเวลานานล้าน ๆ ปี ก็กลายเป็นหินน้ำมันขึ้นมา หินน้ำมันมีลักษณะคล้ายหินชนวน มีสีดำแข็ง การนำหินน้ำมันมาใช้เป็นเชื้อเพลิง อาจจะนำมา เผาโดยตรงในเตาเผา แล้วนำลมร้อนที่ได้ไปต้มน้ำ เพื่อหมุนกังหันต่อไป หรืออาจนำหินน้ำมัน มาสกัดเอาน้ำมันออกเสียก่อน แล้วจึงค่อยนำน้ำมันดิบที่ได้จากหินน้ำมันนี้ไปกลั่นลำดับส่วน จึง จะได้น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ แล้วจึงนำไปใช้ประโยชน์เป็นแหล่งพลังงานอีกทีหนึ่ง ซึ่ง กรรมวิธีในการผลิตน้ำมันจากถ่านหินค่อนข้างยุ่งยากมากและได้ผลไม่คุ้มค่า จึงยังไม่นิยมผลิต น้ำมันจากหินน้ำมันมาใช้ แหล่งหินน้ำมันที่สำคัญ ได้แก่ ที่ อ. แม่สอด จ. ตาก
ประโยชน์และโทษของไฟฟ้า ประโยชน์ของไฟฟ้า อย่างที่รู้กันว่าไฟฟ้านั้นมีประโยชน์และโทษอยู่ในตัวเปรียบเสมือนดาบสองคมโดย ถ้าใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีจะทำให้เกิดประโยชน์มากมาย แต่ถ้าใช้ไฟฟ้าผิดวิธีมันจะก่อให้ เกิดโทษและอันตรายมากมายเช่นกัน โดยที่สามารถก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตได้ ประโยชน์ของไฟฟ้า 1.ให้แสงสว่าง เช่น ไฟฉาย หลอดไฟฟ้า ฯลฯ 2.ให้ความร้อน เช่น เตาไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า ฯลฯ 3.ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก เช่น กระดิ่งไฟฟ้า ออด ฯลฯ 4.ทำให้เกิดแรงหรือพลังงานกล ใช้แทนแรงงานคน เช่น มอเตอร์หมุนพัดลม สว่าน ฯลฯ5.สามารถใช้ในด้านการอำนวยความอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน เช่น ตู้ เย็น โทรทัศน์ เครื่องเล่นดีวีดี ฯลฯ โทษของไฟฟ้า 1.ทำให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บหรือทำให้เสียชีวิต 2.ทำให้ทรัพย์สินในบ้านเสียหาย 3.เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม 4.เสียค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การปรากฏการณ์บนท้องฟ้า ดวงดาว ที่เราเห็นอยู่ในท้องฟ้ามีอยู่ 2 ประเภท คือ ดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็นดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง ส่วนดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่มีแสงในตัวเองแต่ที่ เราเห็นดาวเคราะห์สว่างได้ เพราะได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ระบบสุริยะ (Solar system) เป็นระบบของดวงดาวระบบหนึ่งในกาแล็กซีทางช้าง เผือก(Milky Way) มีดวงอาทิตย์(The Sun) เป็นศูนย์กลาง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากใจกลาง กาแล็กซี 30,000 ปีแสง กาแล็กซี (Galaxy) หรือดาราจักร เป็นระบบของดวงดาวที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ จำนวนมากมาย รวมทั้งก๊าซ ฝุ่นละอองและวัตถุท้องฟ้าอื่น ๆ เอกภพ (Universe) เป็นระบบรวมของกาแล็กซีประมาณ 100,000 ล้านกาแล็กซี มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลไร้ขอบเขต * ปีแสง ( light-year ) เป็นมาตราวัดระยะทางอย่างหนึ่งในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง หมายถึง ระยะที่แสงเดินทางในสุญญากาศ ในเวลา หนึ่งปี ซึ่งเท่ากับ 9.46 ล้าน ล้านกิโลเมตร แสงเดินทางใน 1 วินาที เท่ากับ 300,000 กิโลเมตร
บบ ย ระบบสุรยิ ะเปนระบบทปี ระกอบดว้ ยดวงอาทติ ยเ์ ปนศูนยก์ ลาง และมดี าวเคราะห์ 8 ดวง เรยี งลาดบั จากทอี ยู่ใกลด้ วงอาทติ ยไ์ ปยงั ดาวทอี ยู่ไกลจากดวงอาทติ ยม์ ากทสี ุด คอื ดาวพธุ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั และดาวเนปจูน นอกจากนีระบบสุรยิ ะยงั มดี าวเคราะหน์ อ้ ย ดาวหาง หรอื อาจเรยี กว่า ดาวตก หรอื ผพี งุ่ ไต้ และยงั มดี วงจนั ทรท์ เี ปนบรวิ ารของดาวเคราะหต์ ่างๆ โคจรรอบดวงอาทติ ย์ ดวงอาทติ ย์ (Sun) ดวงอาทติ ยเ์ ปนศูนยก์ ลางของระบบสุรยิ ะจกั รวาล อยู่ห่างจากโลกเปนระยะทางประมาณ 93 ลา้ น ไมล์ และมขี นาดใหญ่กวา่ โลกมากกวา่ 1 ลา้ นเท่า มขี นาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลางยาวกวา่ โลก 100 เท่า ดวง อาทติ ยเ์ ปนดาวฤกษท์ มี แี สงสว่างในตวั เอง ซงึ เปนแหล่งพลงั งานทีสาคญั ของโลก อณุ หภมู ขิ องดวงอาทติ ย์ อยู่ระหวา่ ง 5,500 - 6,100 องศาเซลเซยี ส พลงั งานของดวงอาทติ ยท์ งั หมดเกดิ จากกา๊ ซไฮโดรเจน โดย พลงั งานดงั กลา่ วเกดิ จากปฏกิ ิรยิ านิวเคลยี รภ์ ายใตส้ ภาพความกดดนั สูงของดวงอาทติ ย์ ทาใหอ้ ะตอมของ ไฮโดรเจนซงึ มอี ยู่มากบนดวงอาทติ ยท์ าปฏกิ ิรยิ าเปลยี นเปนฮเี ลยี ม ซงึ จะส่งผ่านพลงั งานดงั กลา่ วมาถงึ โลกไดเ้พยี ง 1 ใน 200 ลา้ นของพลงั งานทงั หมด
นอกจากนนั บนพนื ผวิ ของดวงอาทติ ยย์ งั เกดิ ปรากฏการณต์ ่างๆ เช่น การเปลยี นแปลงของ พลงั งานความรอ้ นบนดวงอาทติ ยอ์ นั เนืองมาจากจดุ ดบั บนดวงอาทติ ย์ (Sunspot) ซงึ จะสง่ ผลใหเ้กิดการ แปรผนั ของพายุแม่เหลก และพลงั งานความรอ้ น ทาใหอ้ นุภาคโปรตรอนและอเิ ลกตรอนหลดุ จากพนื ผวิ ดวงอาทติ ยส์ ู่หว้ งอวกาศ เรยี กวา่ ลมสุรยิ ะ (Solar Wind) และแสงเหนือและใต้ (Aurora) เปน ปรากฏการณท์ ขี วั โลกเหนือและขวั โลกใต้ การเกดิ จดุ ดบั บนดวงอาทติ ย์ (Sunspot) บางครงั เราสามารถมองเหนไดด้ ว้ ยตาเปลา่ และจะเหน ไดช้ ดั เจนเวลาดวงอาทติ ยใ์ กลต้ กดนิ จดุ ดบั ของดวงอาทติ ยจ์ ะอยู่ประมาณ 30 องศาเหนือ และ ใต้ จาก เสน้ ศูนยส์ ูตร ทเี หนเปนจดุ สดี าบรเิ วณดวงอาทติ ยเ์ นืองจากเปนจดุ ทมี แี สงสวา่ งนอ้ ย มอี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 4,500 องศาเซลเซยี ส ตากวา่ บรเิ วณโดยรอบประมาณ 2,800 องศาเซลเซยี ส นกั วทิ ยาศาสตรส์ นั นิษฐานวา่ ก่อนเกดิ จดุ ดบั บนดวงอาทติ ยน์ นั ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอานาจแม่เหลกไฟฟ้าบรเิ วณพนื ผวิ ดวงอาทติ ยม์ กี าร เปลยี นแปลง ทาใหอ้ ณุ หภูมบิ รเิ วณดงั กลา่ วตากวา่ บรเิ วณอนื ๆ และเกิดเปนจดุ ดบั บนดวงอาทติ ย์ แสงเหนือและแสงใต(้ Aurora) เปนปรากฏการณท์ เี กิดบรเิ วณขวั โลกเหนือ และขวั โลกใต้ มี ลกั ษณะเปนลาแสงทมี วี งโคง้ เปนม่าน หรอื เปนแผ่น เกดิ เหนือพนื โลกประมาณ 100 - 300 กโิ ลเมตร ณ ระดบั ความสูงดงั กลา่ วกา๊ ซต่างๆ จะเกิดการแตกตวั เปนอนุภาคทมี ปี ระจไุ ฟฟ้า และเมอื ถูกแสงอาทติ ยจ์ ะ เกิดปฏกิ รยิ าทซี บั ซอ้ นทาใหม้ องเหนแสงตกกระทบเปนแสงสแี ดง สเี ขยี ว หรอื สขี าว บรเิ วณขวั โลกทงั สอง มแี นวทเี กดิ แสงเหนือและแสงใตบ้ อ่ ย เราเรยี กวา่ \"เขตออโรรา\" (Aurora Zone) ด พธ (Mercury) ดาวพธุ เปนดาวเคราะหท์ อี ยู่ใกลก้ บั ดวงอาทติ ยม์ าก ทสี ุด สงั เกตเหนดว้ ยตาเปลา่ ไดต้ อนใกลค้ าและ ช่วงรุ่งเชา้ ดาวพธุ ไมม่ ดี วงจนั ทรเ์ ปนดาวบรวิ าร ดาวพธุ หมนุ รอบตวั เอง จากทศิ ตะวนั ตกไปยงั ทศิ ตะวนั ออกกินเวลา ประมาณ 58 - 59 วนั และโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบ ใชเ้วลา 88 วนั
ด ก ์ (Venus) ดาวศุกรส์ งั เกตเหนไดด้ ว้ ยตาเปลา่ โดยสามารถมองเหนไดท้ าง ขอบฟ้าดา้ นทศิ ตะวนั ตกในเวลาใกลค้ า เราเรยี กวา่ \"ดาวประจาเมอื ง\" (Evening Star) ส่วนช่วงเชา้ มดื ปรากฏใหเ้หนทางขอบฟ้าดา้ นทศิ ตะวนั ออกเรยี กว่า \"ดาวร่งุ \" (Morning Star) เรามกั สงั เกตเหนดาวศกุ ร์ มแี สงสอ่ งสว่างมากเนืองจาก ดาวศุกรม์ ชี นั บรรยากาศทปี ระกอบไปดว้ ย กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ มผี ลทาใหอ้ ณุ หภมู พิ นื ผวิ สูงขนึ ดาวศุกร์ หมนุ รอบตวั เองจากทศิ ตะวนั ออกไปยงั ทศิ ตะวนั ตก ไมม่ ดี วงจนั ทรเ์ ปน ดาวบรวิ าร ก (Earth) โลกเปนดาวเคราะหด์ วงเดยี วทมี สี งิ มชี วี ติ อาศยั อยู่ เนืองจากมชี นั บรรยากาศและมรี ะยะห่าง จากดวงอาทติ ยท์ เี หมาะสม ต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดารงชวี ติ ของสงิ มชี วี ติ นกั ดาราศาสตร์ อธิบายเกยี วกบั การเกิดโลกวา่ โลกเกดิ จากการรวมตวั ของกลมุ่ กา๊ ซ และมกี ารเคลอื นทสี ลบั ซบั ซอ้ นมาก ด งค (Mars) ดาวองั คารอยู่ห่างจากโลกของเราเพยี ง 35 ลา้ นไมล์ และ 234 ลา้ นไมล์ เนืองจากมวี งโคจรรอบดวง อาทติ ยเ์ ปนวงรี พนื ผวิ ดาวองั คาร มปี รากฏการณเ์ มฆและพายุฝุ่นเสมอ เปนทนี ่าสนใจในการศึกษาของ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ปนอย่างมาก เนืองจากมลี กั ษณะและองคป์ ระกอบที ใกลเ้คียงกบั โลก เช่น มรี ะยะเวลาในการหมนุ รอบตวั เอง 1 วนั เท่ากบั 24.6 ชวั โมง และระยะเวลาใน 1 ปี เมอื เทยี บกบั โลกเท่ากบั 1.9 มกี าร เอยี งของแกน 25 องศา ดาวองั คารมดี วงจนั ทรเ์ ปนบรวิ าร 2 ดวง
ด พ บด (Jupiter) ดาวพฤหสั บดเี ปนดาวเคราะหท์ ใี หญ่ทสี ุดในระบบสุรยิ ะจกั รวาล หมนุ รอบตวั เอง 1 รอบใชเ้วลา 9.8 ชวั โมง ซงึ เรวทสี ุดในบรรดาดาว เคราะหท์ งั หลาย และโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบ ใชเ้วลา12 ปี นกั ดารา ศาสตรอ์ ธบิ ายว่า ดาวพฤหสั เปนกลมุ่ กอ้ นกา๊ ซหรอื ของเหลวขนาดใหญ่ ที ไม่มสี ว่ นทเี ปนของแขงเหมอื นโลก และเปนดาวเคราะหท์ มี ดี วงจนั ทรเ์ ปน ดาวบรวิ ารมากถงึ 16 ดวง ด ์ (Saturn) ดาวเสารเ์ ปนดาวเคราะหท์ เี ราสามารถมองเหนไดด้ ว้ ยตาเปลา่ เปน ดาวทปี ระกอบไปดว้ ยกา๊ ซและของ เหลวสคี ่อนขา้ งเหลอื ง หมนุ รอบตวั เอง 1 รอบใชเ้วลา 10.2 ชวั โมง และโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบใชเ้วลา 29 ปี ลกั ษณะเด่นของดาวเสาร์ คือ มวี งแหวนลอ้ มรอบ ซงึ วงแหวนดงั กลา่ วเปน อนุภาคเลกๆ หลายชนิดทหี มนุ รอบดาวเสารม์ วี งแหวนจานวน 3 ชนั ดาว เสารม์ ดี วงจนั ทรเ์ ปนดาวบรวิ าร 1 ดวง และมดี วงจนั ทรด์ วงหนึงชอื Titan ซงึ ถอื วา่ เปนดวงจนั ทรท์ ใี หญ่ทสี ุดในระบบสุรยิ ะจกั รวาล ด ย น (Uranus) ดาวยูเรนสั หมนุ รอบตวั เอง 1 รอบ ใชเ้วลา 16.8 ชวั โมง และโคจรรอบ ดวงอาทติ ย์ 1 รอบ ใชเ้วลา 84 ปี ดาวยูเรนสั ประกอบดว้ ยกา๊ ซและของเหลว เช่นเดยี วกบั ดาวพฤหสั และดาวเสาร์ 4.8 ดาวเนปจูน (Neptune) เปนดาว เคราะหท์ มี รี ะยะเวลาในการหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบ เท่ากบั 17.8 ชวั โมง และ ระยะ เวลาในการโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบ เท่ากบั 165 ปี มดี วงจนั ทรเ์ ปน ดาวบรวิ าร 2 ดวง
ด นปจน ดาวเนปจูนเปนดาวเคราะห์นาแขงยกั ษ์ ( (Ice Giant Planet) ห่างจากดวงอาทิตยเ์ ปนอนั ดบั ที 8 มรี ะยะทางประมาณ 4.5 พนั ลา้ นกิโลเมตร เท่ากบั ไกลจาก ดวงอาทติ ยร์ าว 30 เท่า เมอื เทยี บกบั ระยะของโลก (Earth) จากดวงอาทติ ยห์ รือตอ้ งใชเ้ วลาเกือบ 165 ปี ใน การโคจรหนึงรอบของดวงอาทติ ย์ ดาวเนปจูนเปนดาวเคราะหด์ วงแรกที อาศยั การคาดการณ์คณิตศาสตรม์ ากกว่าการสงั เกตการณ์ทอ้ งฟ้า เพราะ มรี ะยะทางทไี กลและมดื มาก ในทกุ ๆ คนื จะมดี าวตก หรอื ทเี รยี กว่า ผพี ่งุ ไตต้ กลงมา บางคืนอาจพบหลายดวง ทตี กลงมา อาจพบเหนในระยะเวลาทหี ่างกนั แต่บางช่วงเวลาเดยี วกนั ของปีจะตกหนาแน่น มาก ซงึ เรยี กว่า ฝนดาวตก ดาวตกเปนวตั ถบุ นทอ้ งฟ้า ทเี กดิ จากเศษหนิ หรอื เศษชนิ สว่ น ขนาดเลกของดาวหาง เรยี กว่า อกุ กาบาต เมอื โคจรเขา้ ใกลบ้ รรยากาศของโลกจะถกู โลก ดงึ ดูดตกลงมา สะเกดดาวเหลา่ นีจะสมั ผสั แกส๊ ออกซเิ จนในบรรยากาศเกดิ การลกุ ไหมเ้รา จงึ เหนเปนลาแสงพ่งุ ตกลงมา
ปรากฏการ&'นตกของดวงดาว - !ด#ง%ดบน(อง!า+ตรง.บ\"รษะเ2ยก5า !ดเห#อ\"รษะ - (อง!ารอบ ๆ 8วเรา+อ:ตรง.บระ;บสายตา เ2ยก5า เ=นขอบ!า ;ง?น$าเรา%&ศและCมเงย Eจะหา'แหGง+ปรากฏ'แหGง+ปรากฏของดาวบน(อง!าไK การบอก&ศและCมเงยLงเMนNงOPญ+(หนดไ)ในแผน+ดาว Tงแผน+ดาวจะประกอบKวย ซองใVแWนดาวและแWนดาว แผน1ดาว 2อ แผน13อง4า แผน+ดาว เMนแผน++แสดง'แหGงของดาวฤก*บน(อง!า TงYZนเฉพาะ'แหGงของ] ^งเกต+ละ_+ดห`ง ๆ แผน+ดาว+ใa,ายจะแbงคdงทรงกลม(อง!าออกเMน 2 Vวน fอ!าทาง &ศเห#อและเห#อและ!าทาง&ศใg โดยiเ=น+ลากจากขอบ!าตรง&ศตะjนออกไปตามความ โ-งของทรงกลม(อง!าWาน!ดเห#อ\"รษะไปkงขอบ!าตรง&ศตะjนตกเMนเ=นแbง การใa แผน+ดาวจะlวยใmการ.กษา(อง!า,ายZน ปรากฏการ&การ'นตกของดวงอา5ต6 และดวง9นท; การ'นและตกของดวงอา5ต6 เnดจากการหCนรอบ8วเองของโลกจาก&ศตะjนตก ไปkง&ศตะjนออก LงYใmเoนดวงอา&ตpทาง&ศตะjนออกในตอนเaา และเคqอน+จนrบ ขอบ!าทาง&ศตะjนตก การ'นและการตกของดวง9นท; เnดจากการโคจรรอบโลกของดวงsนทtจาก&ศ ตะjนตกไปkง&ศตะjนออก โดย +ดวงsนทtใaเวลา 27.3 jนในการโคจรรอบโลก Yใmดวงsนทtปรากฏใน'แหGงเuมaา ลง Lงเoนดวงsนทtเปvยนแปลงwกjน
เ\"อโลกห(นจากตะ.นตกไปตะ.นออกไปพ2อม4บ6อง!าของเรา ขณะ;ขอบ!าตะ.นออก <ม\"สดาว เ@ยกBา ดาวCน เ\"อขอบ!าตะ.นตกพบดาว เ@ยกBา ดาวตก เ\"อเมDเEยน<ม\"สดาวFอ #แหHง;ดาวอIJงKดจากขอบ!า เ@ยก ทรานMท (transit) $าเNนดาวOานเมDเEยนไปทางตะ.นตก เ@ยกBา ทรานMทบน (upper transit) $าเNนดาวOานเมDเEยนไปทางตะ.นออก (PกBาดาวเห%อ) เ@ยกBา ทรานMทQาง (lower transit) จะเNนไRBาSกอTางในอวกาศนอกโลก Cน – ตก เพราะโลก ห(นรอบWวเอง ดาวไXเคZอน;อTาง;ตาเNน ดาวไXไRเคZอนรอบโลกจากตะ.นออกไปตะ.นตกรอบ ละ 1 .น แ[โลกห(นใน&ศตรง\\ามโดยเอาขอบ!าไปพบดาว และเพราะการพาขอบ!าตะ.นตกไปพบ ดวงอา&ต]ปรากฏการ'ดวงอา&ต]ตก_งเ`ดCน บนโลกa&ศตะ.นตก – ตะ.นออกbเพราะเหcd eนเอง $าโลกไXห(นรอบWวเอง ดวงดาวจะไXCน – ตก เfนเEยว4บเ\"ออIในอวกาศไกลออกไปbจะ ไXเNนการCน – ตกของดวงดาวแ[จะเNนดาวอIรอบWวของเรา เNนดาวอIบนgวทรงกลม!า (Celestial sphere) ปรากฏการ'ดาวCน-ตกเhนผลสะ6อนจากการห(นรอบWวเองของโลก jงห(นจาก&ศตะ.นตก ไป&ศตะ.นออก โลกกลม ๆ เ\"อห(นรอบWวเองจะห(นรอบแกน;Oานlวโลกเห%อและlวโลกใm แกน ;Oานlวโลกเห%อจะ( ไปnงlว!าเห%อjงaดาวเห%ออIใกo ๆ pงqน เ\"อโลกห(นจาก&ศตะ.นตก ไป&ศตะ.นออก ดาว_งวนเhนวงกลม รอบดาวเห%อ โดยวนจากRาน&ศตะ.นออกไปทาง&ศตะ.นตก เrนทางการCน-ลงของดวงดาวsงหลายจะขนาน4น ในประเทศไทยดาว;Cนตรงtด&ศตะ.นออกพอE จะa เrนทางCน-ตกเuยงไปทาง&ศใmเvกwอย xใytด;CนไปJงKดอIทาง&ศใmของtดเห%อ)รษะ เhน(มเ{า4บ ละ|*ด และคoอยPลงไปตรงtด&ศตะ.นตกพอE รวมเวลา}งแ[Cน~งตกเ{า4บ 12 +วโมงพอE ดาว;Cนเ,ยงไปทางใmของtด&ศตะ.นออกเhน(มเ{าใด จะไปตกทาง&ศตะ.นตกเ,ยง ไปทาง&ศใmเhน (มเ{าqนโดยจะaเวลาอIเห%อขอบ!ายาวมากกBา 12 +วโมง โดยเrนทางCน-ตก ขนาน4บเrน;Cนตรงtด&ศตะ.นออก ดาวเห%ออIJงจากขอบ!า&ศเห%อเhน(มเ{า4บละ|*ด 15 องศาตลอด 24 +วโมง เrนทางCน – ตกของดาวอาจหาไRจาก•วนโ-งของวงกลมบน6อง!า;a tด.น]กลางอI;ดาวเห%อ และ€ศaเ{า4บระยะ;ดาว•างจากดาวเห%อeนเอง
ผล#เ%ดจากการเค,อน#ของโลก - ดาวCน – ตก เพราะโลกห(นรอบWวเองจากตะ.นตกไปตะ.นออกรอบละ 1 .น - เrนทางCน – ตกของดาวฤก/จะคง;เหƒอนเ„มSกFนตลอด…†ตของเรา แ[จะCนเ0วห‡อ มาอI;เˆาในเวลา;เ0วCน.นละ 4 นา1 เพราะโลกโคจรอบดวงอา&ต] - เrนทางCน – ตกของดวงอา&ต]เป‰ยนไปSก.น เพราะแกน;โลกห(นรอบเuยงจากแนว}ง ฉาก4บแนวระนาบทางโคจรของโลกรอบดวงอา&ต]เhน(มประมาณ 23.5 องศา - เrนทางCน – ตกของดวง‹นทŒดาวเคราะ2เป‰ยนไปSก.น เพราะดวง‹นทŒโคจรรอบโลก และดาวเคราะ2โคจรรอบดวงอา&ต] ส3ปไ67า โลกห(นรอบWวเองxใyเ`ดปรากฏการ'Cนตกของดวงดาว xใyเ`ด&ศ และกลาง.นกลางFน •วนโลกเคZอนรอบดวงอา&ต]xใyเNนดาวCนเ0วSก.น .นละประมาณ 4 นา1 ห‡อเ3อนละ 2 +วโมง บน6อง!าaดาว;เhนmน4เ•ดของ5อ.น และคนไทย}ง5อเ3อน KDยะค|ตาม5อกŽมดาว‹กรรา) •ง;อIบน6อง!าqนaความสวยงามเสมอsง;เNนRวยตา เปQา และภาพ;ไRจากกoองโทรทรรศ6
การกำหนดทิศ 4 ทิศ ทิศทั้ง 4 ได้แก่ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ด้านที่เห็นดวง อาทิตย์ขึ้น เรียกว่า ทิศตะวันออก และด้านที่เห็นดวงอาทิตย์ตก เรียกว่า ทิศตะวันตก ความสัมพันธ์ของทิศทั้ง 4 ดังนี้ เมื่อเราใช้ทิศตะวันออก (ด้านที่เห็นดวงอาทิตย์ขึ้น) เป็นหลักโดยให้ ด้านแขนขวาอยู่ทางทิศตะวันออก ด้านแขนซ้าย จะชี้ไปทางทิศตะวันตก ด้านหน้า จะเป็นทิศเหนือ ด้านหลัง จะเป็นทิศใต้
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง อากาศ องค์ประกอบของอากาศ อากาศเป็นส่วนผสมของแก๊สต่าง ๆ รวมทั้งไอน้ำที่ระเหยมาจากแหล่งน้ำต่าง ๆ ด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าอากาศปะปนไปด้วยสารแขวนลอยต่าง ๆ ทั้งที่เป็นละอองของของเหลว และอนุภาคของของแข็ง เช่น อนุภาคของเกลือจากทะเลและมหาสมุทร ฝุ่นผง เขม่าและควัน จากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในการปรุงอาหาร และไอเสียจากเครื่องยนต์ นักวิทยาศาสตร์แบ่งอากาศออกเป็น 2 ชนิด คือ อากาศแห้ง หมายถึง อากาศที่ไม่มีไอน้ำอยู่ ด้วย และอากาศชื้น หมายถึง อากาศที่มีไอน้ำอยู่ด้วย แก๊สที่เป็นส่วนประกอบของอากาศ ปริมาณ (ร้อยละโดยประมาณ) ไนโตรเจน 78 ออกซิเจน 21 อาร์กอน 0.93 คาร์บอนไดออกไซด์ 0.03 แก๊สอื่น ๆ 0.04
โดยปกติแล้วจะไม่มีอากาศแห้งที่แท้จริง อากาศทั่วไปเป็นอากาศชื้น ถ้าอากาศ ชื้นมีน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ก็จะมีไอน้ำปนอยู่ประมาณ 40 กรัม ดังนั้นจำนวนส่วนผสมของ แก๊สอื่นตามตารางข้างต้นก็จะเปลี่ยนแปลงไปบ้าง ตามปกติในบรรยากาศมีไอน้ำอยู่ ประมาณร้อยละ 0 ถึง 4 ของอากาศทั้งหมด ไอน้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญมากเนื่องจาก ไอน้ำเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดฝน พายุ ฟ้าแลบ และฟ้าร้อง รายละเอียดของแก๊สต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของอากาศมีดังนี้ 1. แก๊สไนโตรเจน (N2) เป็นแก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ มีสมบัติเป็นแก๊สเฉื่อย มี ประโยชน์คือ ช่วยเจือจางออกซิเจนในอากาศให้พอเหมาะสำหรับสิ่งมีชีวิตที่จะนำไปใช้ได้ โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย นอกจากนี้ ไนโตรเจนยังเป็นธาตุที่เป็นอาหารของพืช โดย ไนโตรเจนในดินจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี ในปมรากของพืชตระกูลถั่วมีแบคทีเรียที่ชื่อ ว่า ไรโซเบียม อาศัยอยู่ ซึ่งจะช่วยตรึงไนโตรเจนจากอากาศไปไว้ในดิน ทำให้ดินอุดม สมบูรณ์เหมาะที่จะทำการเพาะปลูกพืช 2. แก๊สออกซิเจน (O2) เป็นแก๊สที่สิ่งมีชีวิตใช้ในการหายใจเข้าไป เพื่อนำไปสันดาปกับ อาหารภายในเซลล์ แล้วให้พลังงานออกมา ซึ่งจะถูกเซลล์นำไปใช้ในการดำรงชีวิต นอกจากนี้แก๊สออกซิเจนในอากาศยังช่วยในการสันดาปกับเชื้อเพลิง แล้วให้พลังงานความ ร้อนและแสงสว่างออกมา และแก๊สออกซิเจนบางส่วนในอากาศจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแก๊ส โอโซนเพื่อใช้ในการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์ด้วยแสงซึ่งเป็นการ สร้างอาหารของพืช โดยทำการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยอาศัยคลอโรฟิลล์ อาหารที่ได้จาก ส่วนหนึ่งพืชจะนำไปใช้ อีกส่วนหนึ่งจะถูกเก็บไว้ เมื่อสัตว์กินพืชเข้าไป อาหารที่เก็บไว้ก็จะ กลายเป็นอาหารของสัตว์ต่อไป 4. ไอน้ำ ไอน้ำในอากาศเกิดจากการระเหยของน้ำที่ผิวโลก โดยเฉพาะจากบริเวณ เช่น มหาสมุทร ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำคลอง โดยจะมีปริมาณมากหรือน้อยตามแต่สถานที่ การ เปลี่ยนแปลงของไอน้ำในอากาศเป็นสาเหตุให้เกิดเมฆ หมอก หิมะ ฝน และลูกเห็บ
นอกจากที่กล่าวมานี้ องค์ประกอบอื่น ๆ ในอากาศส่วนใหญ่จะเป็นพวกแก๊สเฉื่อย เช่น แก๊สอาร์กอน นีออน ฮีเลียม ไฮโดรเจน และสารแขวนลอยในอากาศ เช่น ควันไฟ เขม่า และฝุ่นผงต่าง ๆ ซึ่งสารแขวนลอยต่าง ๆ เหล่านี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้จากสาเหตุและ ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การเกิดมลพิษทางอากาศ การตัดไม้ ทำลายป่า และการเกิดไฟป่า ทำให้สัดส่วนขององค์ประกอบของอากาศเปลี่ยนแปลงไป
สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางอากาศ สาเหตุของมลพิษทางอากาศ สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญมีดังนี้ 1. ยานพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์ รถยนต์เป็นแหล่งก่อปัญหาอากาศเสียมากที่สุด สารที่ออกจาก รถยนต์ที่สําคัญได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของไนโตรเจน และของกํา มะถัน สารพวกไฮโดรคาร์บอนนั้น ประมาณ 55 % ออกมาจากทอไอเสีย 25 % ออกมาจากห้อง เพลา ข้อเหวี่ยง และอีก 20 % เกิดจากการระเหยในคาร์บูเรเตอร์ และถังเชื้อเพลิง ออกไซด์ของ ไนโตรเจนคือ ไนตริกออกไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และไน ตรัสออกไซด์ (N2O) เกือบทั้งหมดออกมาจากท่อไอเสีย เป็นพิษต่อมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้สารตะกั่วในน้ำมัน เบนซินชนิดซุปเปอร์ยังเพิ่มปริมาณตะกั่วในอากาศอีกด้วย 2. ควันไฟ และก๊าซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม - จากโรงงานผลิตสารเคมี ได้แก่ โรงกลั่นน้ำมัน โรงผลิตไฟฟ้า โรงงานทําเบียร์ โรงงาน สุรา โรงงานน้ำตาล โรงงานกระดาษ โรงงานถลุงแร่ โรงงานย้อมผ้า โรงงานทําแก้ว โรงงานผลิต หลอดไฟ โรงงานผลิตปุ๋ย และโรงงานผลิตกรด - พลังงานที่เกิดจากสารเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ทําให้เพิ่มสาร ต่าง ๆ ในอากาศ อาทิ สารไฮโดรคาร์บอนต่าง ๆ ออกไซด์ของไนโตรเจน และ กํามะถันในบรรยากาศ 3. แหล่งกําเนิดฝุ่นละอองต่าง ๆ ได้แก่ บริเวณที่กําลังก่อสร้าง โรงงานทําปูนซีเมนต์ โรงงาน โม่ หิน โรงงานทอผ้า โรงงานผลิตโซดาไฟ เหมืองแร่ เตาเผาถ่าน โรงค้าถ่าน เมรุเผาศพ 4. แหล่งหมักหมมของสิ่งปฏิกูล ได้แก่ เศษอาหาร และขยะมูลฝอย 5. ควันไฟ จากการเผาป่า เผาไร่นา และจากบุหรี่
6. การทดลองอาวุธนิวเคลียร์ ก่อให้เกิดละอองกัมมันตรังสี 7. การตรวจและรักษาทางรังสีวิทยา การใช้เรดิโอไอโซโทป ที่ขาดมาตรการที่ถูกต้อง ในการ ป้องกันสภาวะอากาศเสีย 8. อากาศเสียที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว ไฟป่า กัมมันตรังสีที่เกิดตามธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น ความเป็นพิษเนื่องจากสาเหตุข้อนี้ ค่อนข้าง น้อยมาก เนื่องจากต้นกําเนิดอยู่ไกล จึงเข้าสู่สภาวะแวดล้อมของมนุษย์และสัตว์ ได้น้อย ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ 1. ทําลายสุขภาพ อากาศเสียทําให้เกิดโรค แพ้อากาศ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรค เกี่ยวกับการไหลเวียนของโลหิต ผลที่เกิดในระยะยาวอาจทําให้ถึงตายได้ 2.ทําลายสิ่งก่อสร้างและเครื่องใช้โดยเฉพาะสิ่งก่อสร้างที่ทําด้วยโลหะทําให้เกิดการสึก กร่อน ทําให้หนังสือและศิลปกรรมต่าง ๆ เสียหาย 3. ทําให้ทัศนวิสัยเลวลง และมีผลทําให้อุณหภูมิอากาศลดต่ำลงกว่าปกติได้ ทัศนวิสัยเลวลง ก่อให้เกิดอุบัติเหตุทั้งในอากาศ ท้องถนน และท้องน้ำ
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: