Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวตนคนเมือง - exam

ตัวตนคนเมือง - exam

Published by nscras, 2017-11-17 03:59:01

Description: ตัวตนคนเมือง - exam

Search

Read the Text Version

ตวั ตนคนเมือง ไํก์รศ์รี นปมิ  มชาานต฼หกมาินลท วสนั ต ปญ ญา฽กว บรรณาธกิ าร

ตวั ตนคนเมืองํ์์ ป ชาตกาล เกรศรี นิมมาน฼หมนิ ทຏจดั พิมพຏ฾ดย ศนู ยวຏ จิ ยั ฽ละบรกิ ารวิชาการ คณะสงั คมศาสตรຏ มหาวิทยาลยั ฼ชยี ง฿หม຋บรรณาธิการ 239 ถนนหຌวย฽กຌว ตำบลส฼ุ ทพ อำ฼ภอ฼มอื งพิมพຏครงๅั ทีไ 1 จังหวดั ฼ชยี ง฿หม຋ 50200 ฾ทรศพั ทຏ 0 5394 3511จำนวน วสนั ตຏ ปຑญญา฽กຌวออก฽บบ/พิมพทຏ ไี ธันวาคม 2555 1,000 ฼ลม຋ วนดิ าการพมิ พຏ 14/2 หมู຋ 5 ตำบลสนั ผ฼ี สืๅอ อำ฼ภอ฼มอื ง จังหวัด฼ชียง฿หม຋ 50300 ฾ทรศพั ทຏ 0 5311 0503 ฾ทรสาร 0 5311 0504 ตอ຋ 15

บทบรรณาธิการ “ตัวตนคน฼มือง” คือหนังสือรวมบทความของนักคิดนักวิชาการทไีทำงานดຌานลຌานนาคดีศึกษา หรือสน฿จประ฼ดในปຑญหาทีไ฼กีไยว฼นไืองกับประวัติศาสตรຏ การ฼ปลีไยน฽ปลงทาง฼ศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ฽ละการ฼มืองของผຌูคน฿นทຌองถไินภาค฼หนือ ทไี฾ดยทไัวเปมัก฼รียกตน฼องว຋า“คน฼มือง” อย຋างเรกใตามจุด฼นຌน฽ละทรรศนะทไีผูຌ฼ขียน฽ต຋ละท຋านมีต຋อ฼รืไอง“คน฼มือง” หรือสังคมวัฒนธรรมของคน฼มืองทไีว຋านีๅ กใ฽ตกต຋างกันเปตามภูมิหลังทางวิชาการ จุดยืน หรืออุดมการณຏทางสังคม การตีพิมพຏครัๅงนๅี฾ดยศนู ยวຏ จิ ยั ฽ละบรกิ ารวชิ าการ คณะสงั คมศาสตรຏ มหาวทิ ยาลยั ฼ชยี ง฿หม຋ถือ฼ปຓนความตๅัง฿จทีไจะรวบรวมผลงาน฼กไียวกับ฼รืไองนีๅ฼ผย฽พร຋ ฼นืไอง฿นวาระพิ฼ศษ฽ละ฼ปຓนส຋วนหนึไงของงาน “100 ป຃ ชาตกาล นายเกรศรีนิมมาน฼หมินทຏ” ซึไงจัดขึๅน฾ดยคณะสังคมศาสตรຏ ฿นวันทีไ 24 ธันวาคม2555 ทๅังนีๅกใ฼พไือทไีจะรำลึก฽ละ฽สดงมุทิตาจิตอุทิศบุญส຋วนกุศล฿หຌท຋าน฿นฐานะทไี฼ปຓนผูຌมีส຋วนอย຋างสำคัญ฿นการร຋วมผลักดันก຋อตัๅงมหาวิทยาลัย฼ชยี ง฿หม฽຋ ละคณะสังคมศาสตรຏ ตๅัง฽ต຋ช຋วงตຌนทศวรรษ 2490 ฼ปຓนตຌนมา เกรศรี นิมมาน฼หมินทຏ(2455-2535) คอื หนงึไ ฿น฽กนนำสำคญั ของกลมุ຋ ปญຑ ญาชน นกั คดิ นกั ฼ขยี น฾ดย฼ฉพาะทีไทำงานกับหนังสือพิมพຏ “คน฼มือง” ฿น฼ชียง฿หม຋ ทไีร຋วม฽รงร຋วม฿จกันทำงานรณรงคຏ฼รียกรຌอง฼คลืไอนเหว฿หຌรัฐบาลส຋วนกลางยุคนัๅน฿หคຌ วามสำคญั ตอ຋ การจดั ตงๅั มหาวทิ ยาลยั ฿นสว຋ นภมู ภิ าค ภาย฿ตบຌ รรยากาศของสังคมการ฼มืองเทย “ยุคประชาธิปเตยทไีนำ฾ดยทหาร” (คือ฽มຌจะมีกระ฽สการตไืนตัวทางการ฼มือง-ประชาธิปเตยของประชาชนชาวเทย฽ละมกี ารจดั การ฼ลอื กตงๅั ทวไั เป ทวา຋ การ฼มอื งเทยยคุ นนๅั กลบั ฼รมไิ มกี ลม຋ุ นายทหารสลบั สบั ฼ปลยีไ นกนั กอ຋ การรฐั ประหารยดึ อำนาจของฝาຆ ยบรหิ ารอยา຋ งบอ຋ ยครงๅัมากขๅึนจน฼กือบจะกลาย฼ปຓน “ธรรม฼นียม” ของการ฼มืองเทยเป) จน฼ปຓน

iiผลสำ฼รใจ฿นป຃ 2503 ฼มืไอคณะรัฐมนตรีมีมติ฼หในชอบกับการจัดตๅังมหาวิทยาลัยขๅึนทไี฼ชียง฿หม຋ ลงวันทีไ 29 มีนาคม 2503 ฽ละกำหนด฿หຌ฼ปຂดสอน฿น พ.ศ.2507 ระหว຋างการดำ฼นินงานจัดตัๅงมหาวิทยาลัย(ชว຋ งป຃ 2506) อาจารยเຏ กรศรี นมิ มาน฼หมนิ ทຏ ยงั เดรຌ บั ฽ตง຋ ตงัๅ ฿ห฼ຌ ปนຓ หนงไึ ฿น“คณะอนกุ รรมการดำ฼นนิ งานจดั ตงๅั มหาวทิ ยาลยั ฼ชยี ง฿หม”຋ ฽ละงานสำคญัทีไเดຌรับมอบหมายคือพิจารณาการก຋อสรຌาง ออก฽บบ ฽ละจัดหาครุภัณฑຏ฽ละ฼ปนຓ “ผูคຌ ดั ฼ลอื กบุคลากรประจำคณะสังคมศาสตรຏ” นอก฼หนอื จากบทบาททางสงั คม เกรศรี นมิ มาน฼หมนิ ทຏ ยงั ถอื ฼ปนຓบุคคลสำคัญยไิง฿น฽วดวงลຌานนาคดีศึกษา ทๅังความรักความผูกพันทไีมีต຋อถไินฐานบຌาน฼กิด฽ละความสน฿จ฿คร຋รูຌ฼กีไยวกับอารยธรรมความ฼ปຓนมาของตน฼อง อาจารยเຏ กรศรเี ดอຌ ทุ ศิ ฼วลา฽ละลงทนุ ลง฽รงศกึ ษาคนຌ ควาຌ อยา຋ งจรงิ จงั ทไีจะศึกษาคຌนควຌาหาความรูຌ฼กีไยวกับลຌานนา กระทัไงมักเดຌรับการขนานนามจากมิตรสหาย฽ละ฼พืไอนร຋วมวิชาการ฾ดย฼ฉพาะ฿น฽วดวงสยามสมาคม(Siam Society) วา຋ ฼ปนຓ “นกั มานษุ ยวทิ ยาสมคั ร฼ลน຋ ” ฼พราะทา຋ น฼อง฼รยี นจบบริหารธุรกิจจากฮาวารຏด ฽ต຋กลับมี฿จ฽ละเดຌผลิตงานดีโ ทางดຌานมานษุ ยวทิ ยาออกมา จนกลา຋ วเดวຌ า຋ ผลงานวชิ าการททไี า຋ นเดทຌ ำงานบกุ ฼บกิวางรากฐานเวຌเดຌสรຌางคุณูปการอย຋างสำคัญต຋อการคຌนควຌาหาความรูຌ฼กไียวกับลຌานนา฽ละอาณาจักรนຌอย฿หญ຋ทไีมีมา฿นประวัติศาสตรຏ฿น฼ขตภูมิภาคลุ຋มนๅำ฾ขงตอนบน ดังทีไปรากฏ฿น฼ดือนมกราคม พ.ศ.2525สภามหาวิทยาลัย฼ชียง฿หม຋ เดຌมีมติมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด่ิสาขาสงั คมวิทยา฽ละมานุษยวิทยา ฼พืไอ฼ปนຓ ฼กยี รต฿ิ หຌกบั ท຋าน กล຋าวถึงงาน฼ขียนทไีรวมตีพิมพຏอย຋ู฿นหนังสือ฼ล຋มนีๅ (รายละ฼อียด฼กยไี วกบั ชวี ติ ฽ละงานของอาจารยเຏ กรศรี มผี รຌู วบรวม฽ละ฼ขยี นถงึ เวมຌ าก฽ลวຌทๅัง฿นรูปของหนังสือ ฼ช຋น ลายคราม ฽ละบทความ฿นทไีต຋างโ ท຋านผูຌอ຋านทไีสน฿จสามารถคຌนหามาอา຋ น฼พมิไ ฼ติมเดຌ) มีทัๅงทไี฼ปຓนงาน฼ขียนของอาจารยຏเกรศรี฼อง฼รืไอง “หำยนตຏ” (บททีไ 2) ซึไง฽ปลจาก “Hamyon The MagicTesticles” ฾ดย นฤจร อิทธิจีระจรัส (ซึไงทางศูนยຏวิจัยฯ เดຌขออนุญาต

iiiจากท຋าน฽ลຌว) งาน฼ขียนจากกัลยาณมิตรคือ Gehan Wijeyewarden(บททไี 1) ซไึงเดຌ฼ขียนสดุดี฽ละเวຌอาลัย฿หຌกับการจากเปของอาจารยຏเกรศรี฿น฼ดือนพฤษภาคม 2535 (“Kraisri Nimmanhaeminda 1912-1992”The Tai World, ed. Nicholas Tapp and Andrew Walker: The Thai-YunnanProject, Department of Anthropology, Australian National University.2001 - การ฽ปลครๅังนเีๅ ดขຌ ออนุญาตจาก Professor Nicholas Tapp ฽ลຌว)งาน฼ขยี น฼รอไื ง “ครบู า อวตารของตนຎ บญุ ” ของวสนั ตຏ ปญຑ ญา฽กวຌ (บททไี 3)ซไึงตัดตอน฼อาบางสว຋ นจากบทความ฼รไอื ง “Remembering With Respect”ตพี มิ พ฿ຏ นวารสาร The Asia Pacific Journal of Anthropology (จะ฼ผย฽พร຋฿น฼ดือนมกราคม 2556) ฽ละบทความจากผຌูทีไ฼คยร຋วมงานหรือ฼ปຓนมิตรทางวชิ าการของอาจารยเຏ กรศรี คือ อรณุ รัตนຏ ว฼ิ ชยี ร฼ขียว (บททไี 4) ฽ละชยันตຏ วรรธนะภูติ (บททีไ 5) ผลงานของผຌู฼ขียนทัๅงสองท຋านนีๅเดຌ฼คยนำ฼สนอ฿นทีไประชุมสัมมนา฼กีไยวกับ฼รไือง “คน฼มือง” ทีไคณะสังคมศาสตรຏจัดขๅึนกว຋า 10 ป຃ทไี฽ลຌว (คือ฿นป຃ 2543) จากนๅันทๅังสองท຋านเดຌปรับปรุง฽กเຌ ข฽ละ฼ผย฽พร฿຋ น฾อกาสอนืไ โ เปบาຌ ง อยา຋ งเรกตใ ามงาน฼ขยี นทงๅั สองชนิๅ นีๅมคี ณุ คา຋ ฼ชงิ วชิ าการสงู ยงไิ ทจีไ ะนำพา฼ราเปคนຌ ควาຌ หาคำตอบ฼กยีไ วกบั ฼รอไื งของ“คน฼มอื ง” ศนู ยวຏ จิ ยั ฯ จงึ เดขຌ ออนญุ าตนำมารวมตพี มิ พ฼ຏ ผย฽พร฿຋ นหนงั สอื฼ล຋มนๅีอีกครัๅงหนึไง นอกจากนีๅยังมีงาน฼ขียนของ Katherine A. Bowie(บททไี 6) นักมานุษยวิทยาชาวอ฼มริกันซึไงสน฿จศึกษาสังคมลຌานนามากว຋า40 ป຃ (฽ละน຋าจะ฼ปຓนกัลยาณมิตรทางวิชาการอีกท຋านหนึไงของอาจารยຏเกรศรี฼ปຓน฽น຋) ขຌอคิดขຌอ฼สนอ฿นงาน฼ขียนชิๅนนๅี (฽ปลจาก “PollutedIdentities”, Southeast Asian Historiography Unravelling the Myths, ed.Volker Grabowsky: Bangkok, River Books. 2011. ฾ดยกงั วาฬ ฟอง฽กวຌเ ดຌ รั บ อ นุ ญ า ต ฽ ล ะ ค ว า ม ช຋ ว ย ฼ ห ลื อ ฼ ปຓ น อ ย຋ า ง ดี จ า ก ผຌู ฼ ขี ย น ฼ อ ง คื อ“อาจารย฽ຏ คท”) นบั วา຋ ทาຌ ทายความรคຌู วาม฼ขาຌ ฿จท฼ไี ราม฼ี กยไี วกบั ประวตั ศิ าสตรຏความคิด ความ฼ชืไอ ฽ละวัฒนธรรมความ฼ปຓนหญิงชาย฿นสังคมลຌานนาทีไหลายคนคຌนุ ฼คย฽ละมกั ทกึ ทัก฼อา฼องว຋า “รຌ฽ู ลวຌ ” เดຌอยา຋ งดยี งไิ

iv สองบทสุดทຌาย (บททีไ 7 ฽ละ บททไี 8) ฼ปຓนงาน฼ขียนของนักประวัติศาสตรຏ฽ละนักรัฐศาสตรຏ คือ ภิญญพันธุຏ พจนะลาวัณยຏ ฽ละธ฼นศวรຏ ฼จรญิ ฼มอื ง ทีไอาจกล຋าวเดอຌ กี อยา຋ งหนึไงว຋า฼ปຓนนกั วิชาการทຌองถนิไ(ทๅังคู຋) ทไีสน฿จศึกษาติดตามความ฼คลไือนเหว฼ปຓนมา฼ปຓนเป฼กไียวกับสังคมวฒั นธรรม฽ละการ฼มอื งของลาຌ นนาอยา຋ งมปี ระวตั ศิ าสตร฽ຏ ละ฼ปนຓ การ฼มอื งดังทไีผมเดຌกล຋าวเวຌ฿นตอนตຌนว຋า ผຌู฼ขียนผลงานทีไนำมารวมตีพิมพຏเวຌ฿นหนังสือ฼ล຋มนีๅ ลຌวนต຋างมีจุด฼นຌนความสน฿จ฽ละทรรศนะทีไ฽ต຋ละท຋านมีต຋อ฼รไือง “คน฼มือง” ฽ตกต຋างกันเปตามจุดยืน฽ละภูมิหลังทางวิชาการ(คอื ประวัตศิ าสตรຏ รฐั ศาสตรຏ ฽ละมานุษยวิทยา) ทวา຋ ฿นสังคม฽ห຋งปຑญญา฼มืไอเดຌมาอย຋ู฿นทไี฼ดียวกัน งานศึกษาหรืองาน฼ขียนทไีอาจดู฼หมือนว຋าจะ฼สนอสิไงทไี฽ตกต຋าง วิพากษຏวิจารณຏ กลับจะยิไงช຋วยกันสอดประสาน฼สริมส຋ง ประหนงไึ “฽สง฼ทยี น” ส຋องสว຋างทีไอาจชว຋ ยนำ฼รา฼ดนิ ทางออกจากอุ฾มงคຏของความ฼ขลาเปสู຋฾ลกอันกวຌาง฿หญ຋เพศาล ทไีกล຋าวอย຋างถึงทไีสุดเมม຋ ี “ความจริง฽ทຌ” ฽ละสิงไ ทีไจีรงั อยา຋ งยืน หนังสือ “ตัวตนคน฼มือง” (Deconstructing The Muang) จึงถือ฼ปຓน฼พียงงาน฼ขียน฼ล຋ม฼ลใกโ อีก฼ล຋มหนึไง ทไีน຋าจะพอมีประ฾ยชนຏอย຋ูบຌางต຋อผຌูอ຋านทีไสน฿จ฿คร຋รຌู฼กไียวกับ฼รืไองของ “คน฼มือง” ฽ละความ฼ปຓนมา฼ปຓนเปของลຌานนา ดิน฽ดนอัน฼ปຓนทไีรัก฽ละ฼ปຓนถิไนฐานบຌาน฼กิดของอาจารยเຏ กรศรี นมิ มาน฼หมนิ ทຏ วสนั ตຏ ปຑญญา฽กຌว หวั หนาຌ ศนู ยวຏ ิจยั ฽ละบรกิ ารวชิ าการ คณะสังคมศาสตรຏ มหาวิทยาลยั ฼ชยี ง฿หม຋

สารบัญ1เกรศรี นมิ มาน฼หมนิ ทຏ พ.ศ.2455-2535...Gehan Wijeyewarden7หำยนต.ຏ ..เกรศรี นิมมาน฼หมินทຏ27ครบู า อวตารของตนຎ บญุ ...วสันตຏ ปญญา฽กวຌ43คน฼มือง฿นประวัตศิ าสตรຏ/ประวัตศิ าสตรຏของผຌูคน฿นลຌานนา...อรุณรตั นຏ วิ฼ชียร฼ขียว“คน฼มือง”: ตวั ตน การผลิตซๅำสรຌาง฿หม຋75฽ละพืๅนททีไ างสงั คมของคน฼มอื ง...ชยันตຏ วรรธนะภตู ิอตั ลกั ษณอຏ นั (ถูก) ฽ปด฼ปอ຅ น: ความหลากหลายทางชาติพันธุຏ฽ละการสถาปนาความ฼ชอืไ ฼กียไ วกับ฼พศสถานะ125฿นภาค฼หนอื ของเทย...Katherine A. Bowieลຌานนาย฾ู ท฼ปย กับ฼สຌนขอบฟาງ ของสำนกั ทຌองถนไิ นยิ ม:16960 ป ธ฼นศวรຏ ฼จรญิ ฼มอื ง...ภิญญพันธุຏ พจนะลาวัณยຏเกรศรี นมิ มาน฼หมนิ ทຏ (พ.ศ.2455-2535):221นกั รบทอຌ งถไิน฿นรัฐรวมศนู ย.ຏ ..ธ฼นศวรຏ ฼จรญิ ฼มือง248฼กยีไ วกับผຌู฼ขยี น฽ละผ฽ูຌ ปล...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook