Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice

Description: Best Practice

Search

Read the Text Version

Best Practice ถอดบทเรียน More Open, More Efficiency การบรหิ ารงบประมาณท่ีดี เพ่ื อเพ่ิ มประสทิ ธภิ าพการใช้จ่าย งบประมาณของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด

สานัก ัพฒนาและ ่สงเสริมการบริหารราชการจังห ัวด ถอดบทเรยี น “การบริหารงบประมาณที่ดี ก ุ่ลมงาน ่สงเส ิรมการบ ิรหารราชการจังหวัด (Best Practice) เพ่ื อเพิ่ มประสทิ ธภิ าพการใชจ้ ่าย งบประมาณของจังหวดั และกลมุ่ จังหวัด”

สานัก ัพฒนาและ ่สงเสริมการบริหารราชการจังห ัวด คานา ก ุ่ลมงาน ่สงเส ิรมการบริหารราชการจังหวัด “งบประมาณแผ่นดิน” เป็นกลไกสาคัญของรัฐบาลในการขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายของรัฐบาลภายใต้ ทรพั ยากรของภาครฐั ที่มอี ย่อู ย่างจากัด ดังนั้น กระบวนการบริหารงบประมาณ จึงเป็นขั้นตอนสาคัญในการนางบประมาณไปใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพั นให้เป็นไป ตามแผน การพั ฒนาที่ได้เสนอไว้ โดยในแต่ละปีงบประมาณสานักงบประมาณ จะกาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับหน่วยรับงบประมาณ (ส่วนราชการ จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอ่ืนของ รัฐผู้ใช้งบประมาณ ) เมื่อหน่วยรับงบประมาณทุกแห่งได้รับการจัดสรร ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล้ ว จ ะ ต้ อ ง ว า ง แ ผ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ เช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ปี พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพั ฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ และนโยบายท่ีสาคัญของรัฐบาล ตลอดจนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม และวงเงินงบประมาณท่ี ระบุไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี ประกอบกับจะต้องคานึงถึง ประโยชน์สูงสดุ ของประชาชนและประเทศชาติเป็นสาคัญ สานักพั ฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด โดยกลุ่มงาน ส่งเสรมิ การบริหารราชการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย หวังเป็น อย่างยิ่งว่าการจัดทาการถอดบทเรียนในหัวข้อ “การบริหารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) จะช่วยเพ่ิ มประสิทธิภาพในการบริหารงบประมาณให้เกิด ประสทิ ธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวัด/กลุ่มจังหวัดตอ่ ไป สานกั พัฒนาและส่งเสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด กลมุ่ งานสง่ เสรมิ การบริหารราชการจงั หวดั มนี าคม 2564

สารบญั สว่ นท่ี 1 ความเปน็ มา 01 สว่ นที่ 2 แนวทางการคดั เลือก 06จังหวดั ท่มี ีผลการ บรหิ ารงบประมาณทด่ี ี  ข้อมลู เปรยี บเทียบผลการ ใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวดั 3 ปยี อ้ นหลงั (พ.ศ.2560-2562)  ข้อมลู เปรียบเทียบผลการใช้จ่าย งบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนท่ี 3 การจดั เกบ็ ขอ้ มลู 09  กาหนดแบบสอบถามแนวทาง การบริหารงบประมาณที่ดี (Best Practice)  การเก็บขอ้ มลู แนวทาง การบรหิ ารงบประมาณที่ดี 11สว่ นท่ี 4 ผลการวิเคราะห์และสรปุ  การจัดทาคาของบประมาณ  การบรหิ ารงบประมาณ  การกากับตดิ ตาม  ปัจจยั ความสาเร็จ/ขอ้ เสนอแนะ

1ส่วนท่ี ความเปน็ มา “งบประมาณแผ่นดิน” เป็นกลไกสาคัญของรัฐบาลในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายของรัฐบาลภายใต้ทรัพยากรของภาครัฐที่มีอยู่อย่างจากัด ดังนั้น กระบวนการบรหิ ารงบประมาณจึงเป็นข้ันตอนสาคัญในการนางบประมาณไปใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ให้เป็นไปตามแผน การพัฒนาที่ได้เสนอไว้ โดยในแต่ละปีงบประมาณสานักงบประมาณจะกาหนด แนวทางปฏิบัติสาหรับหน่วยรับงบประมาณ (ส่วนราชการ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ รัฐวิสาหกิจ และหนว่ ยงานอ่ืนของรฐั ผ้ใู ช้งบประมาณ) เมื่อหน่วยรับงบประมาณทุกแห่ง ได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้วจะต้องวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องและเช่ือมโยง กับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ปี พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนแมบ่ ท แผนการปฏริ ูปประเทศ และนโยบายท่ีสาคัญของรัฐบาล ตลอดจนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม และวงเงินงบประมาณท่ี ระบุไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี ประกอบกับจะต้องคานึงถึงประโยชน์ สูงสุด ของประชาชนและประเทศชาติเป็นสาคญั สาหรับการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี และได้มีการปรบั ปรุงหลักเกณฑ์ เง่ือนไข เพิ่ มเติมเปน็ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามพระราชบัญญัติ ระยะ ๆ จนกระท่ังถึงระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และ ว่ า ด้ ว ย ก า ร บ ริ ห า ร ง า น เ ชิ ง พื้ น ท่ี แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ที่แก้ไขเพ่ิ มเติม กาหนดให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2560 ทใ่ี ช้อยู่ในปจั จุบัน การจัดสรรงบประมาณ สามารถย่ืนคาขอจัดต้ังงบประมาณได้โดยตรง ไ ป ยั ง จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด จึ ง ถื อ เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง เพื่ อดาเนินการในพ้ื นท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดใน ความเป็นธรรมในระบบงบประมาณ เน่ืองจากเพ่ิ ม ฐานะเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ อานาจของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ งบประมาณ ทั้งนี้ การจัดทาคาของบประมาณ แผ่นดินไปพร้อมกับกระจายงบประมาณลงสู่พ้ื นที่ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะแตกต่างจากการ อั น เ ป็ น ร า ก ฐ า น ส า คั ญ ใ น ก า ร ล ด ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ า ใ น จัดทางบประมาณของส่วนราชการหรือหน่วยงาน สั ง ค ม โ ด ย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า อ่ืนของรัฐซ่ึงอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติวิธีการ ความเดือดร้อนของประชาชนในพื้ นที่ มุ่งเน้นการ ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 1 ห า ก แ ต่ มี ขั้ น ต อ น พั ฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามบริบทขอ ง พ้ื นท่ี และกระบวนการท่ีกาหนดไว้โดยเฉพาะตาม พระราช ซึ่งต้องสอดคล้องและบูรณาการกับยุทธศาสตร์ชาติ กฤ ษ ฎี ก า ว่ า ด้ วย ก า ร บ ริ ห า ร งา น จั ง ห วั ด แ ล ะ และความต้องการของประชาชนทุกภาคสว่ น  กล่มุ จงั หวดั แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 การบรหิ ารงบประมาณทด่ี ี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการใช้จา่ ยงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด 1

เปา้ หมายภาพรวมผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 ร้อยละ 96 รอ้ ยละ 96 รอ้ ยละ 100 เ มื่ อ จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ส ร ร ต้ังแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เปน็ ต้นมารัฐบาลได้มีมติ งบประมาณแล้วข้ันตอนต่อไปคือ “กระบวนการ เ ห็ น ช อ บ ต า ม ที่ ส า นั ก ง บ ป ร ะ ม า ณ เ ส น อ ม า ต ร ก า ร บริหารงบประมาณ” ซึ่งทุกส่วนราชการรวมท้ัง ด้านการงบประมาณเพื่ อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ส ร ร และแผนแม่บท ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ให้การใช้จ่ายภาครัฐเป็น ง บ ป ร ะ ม า ณ ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ เ ป็น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ กลไกสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยเม่ือ และเพื่ อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอ่ืนของ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ป ร ะ จ า ปี รั ฐ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ม า ต ร ก า ร ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ อ ย่ า ง งบประมาณผ่ านความเห็ นชอบและประกาศเป็ น มีประสิทธิภาพ มีความชัดเจน และเป็นรูปธรรม โดยได้ กฎหมายใช้ บั งคั บแล้ ว ส่ วนราชการ จั งหวั ด / กาหนดเปา้ หมายการใช้จ่ายงบประมาณไว้ท่ีรอ้ ยละ 100 กลุ่มจังหวัด รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอ่ืนของรัฐ ผู้ใช้งบประมาณ ต้องจัดทาแผนการปฏิบัติงานและ สานักพั ฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด แผนการใช้จ่ายงบประมาณเพ่ื อเป็นกรอบแนวทาง สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ซ่ึงมีภารกิจในการ ในการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพั นงบประมาณรายจ่ายที่ ส่งเสริมและพั ฒนาประสิทธิภาพการบริหารราชการ ได้รับตามกฎหมาย ว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย จงั หวดั และกล่มุ จังหวัดได้ติดตาม รวบรวมข้อมูลผล และเพ่ื อใช้ในการกากับดูแล และติดตามประเมินผล การใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด การ ปฏิ บัติ งา นแ ละ กา รใ ช้จ่ าย งบ ปร ะม าณ ตา ม มาอยา่ งต่อเนอ่ื ง พบว่า ในห้วงเวลาท่ีผ่านมาจังหวัด มาตรการเร่งรดั การใช้จ่ายงบประมาณหรือมาตรการ และกลุ่มจังหวัดไม่สามารถใช้จ่ายงบประมาณได้ตาม เพิ่ มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณซึ่งสานัก เป้าหมายของรัฐบาล ซึ่งยอดการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรีได้กาหนดให้ส่วน มีความสัมพั นธ์โดยตรงกับผลการดาเนินโครงการ ร า ช ก า ร ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ใ ช้ จ่ า ย เมื่องบประมาณไม่สามารถใช้จ่ายได้ตามเป้าหมายก็ งบประมาณเป็นรายเดือนและรายไตรมาส เพ่ื อให้ ส่งผลให้การดาเนินโครงการเพ่ื อพั ฒนาในพื้ นที่ไม่ สามารถติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานและ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ซึ่งทาให้จังหวัด การใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และกลุ่มจังหวัดเสียโอกาส ในการพั ฒนา /แก้ไข แ ล ะ เ พื่ อ ใ ห้ผ ล ก า ร ใ ช้จ่า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่า ย ปัญหาให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณท่ีได้รับ ล ง ท ุน เ ข้า สู ่ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต า ม การจัดสรรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนก็จะ เป้าหมายท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด โดยรัฐบาลได้กาหนด ขาดโอกาสที่จะได้รับประโยชน์จากการดาเนินงานของ เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณไว้ทุกปีงบประมาณ ภาครัฐ รวมถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจขอ ง อาทิ ปีงบประมาณ พ .ศ. 256 0 เ ป้าหมายการ ประเทศกไ็ ม่เปน็ ไปตามความคาดหวังของรัฐบาลด้วย เ บิ ก จ่ า ย ภ า พ ร ว ม ร้ อ ย ล ะ 9 6 ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ เชน่ กัน... พ.ศ. 2561 เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม รอ้ ยละ 96 2 การบริหารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) เพื่อเพิ่ม ประสิทธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวดั และกลุ่มจงั หวัด

โดยจากการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลผลการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดทาให้พบสาเหตุที่ เปน็ อปุ สรรคในการใชจ้ ่ายงบประมาณหลายประการ อาทิ การรอผลการพิ จารณาอนุมัติให้ใช้พ้ื นที่จากหน่วยงาน ส่วนกลาง การรอผลการพิจารณาอนุมัตใิ ห้โอนเปล่ยี นแปลงโครงการจากหน่วยงานส่วนกลาง เป็นต้น รวมท้ัง จากข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตจากหน่วยงานกากับ ติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณในส่วนกลาง/ จังหวัดและกลุ่มจังหวัดเป็น 1 ใน 5 หน่วยงานที่มีผลการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมต่าสุดของประเทศ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ 1. ปัญหา/อุปสรรคการดาเนนิ งานของจังหวัดกล่มุ จังหวดั 1.1 พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้จัดสรรงบประมาณให้ จังหวัดและกลุ่มจังหวัดตาม มาตรา 58 แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพั ฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบ บูรณาการจานวน 27,579.6011 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 0.92 ของงบประมาณรายจ่ายท้ังหมดของประเทศ กระทรวงมหาดไทยได้ติดตามข้อมูลผลการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด จากระบบ GFMIS ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562 ปรากฏว่า มีผลการใช้จ่าย จานวน 25,371.9658 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 92.00(มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันท่ี 13 ธันวาคม 2561 เป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณร้อยละ 100) และจาก การติดตามรวบรวมปัญหาอุปสรรค/สาเหตุการใช้จ่ายงบประมาณล่าช้า พบว่าปัญหาในการทาให้การใช้จ่าย งบประมาณล่าช้า มี 3 ประเดน็ หลัก ดังน้ี 1.1.1 1.1.2 1.1.3 การรอผลพิ จารณาจาก ความไมพ่ รอ้ มของพื้นทดี่ าเนนิ การปรบั แผนการปฏบิ ัตริ าชการ หน่วยงานส่วนกลางเนอ่ื งจาก โครงการเน่ืองจากต้องรอการ ของจังหวดั และกลุ่มจังหวัดทา โครงการมีปญั หาจาก อนมุ ัต/ิ อนุญาตใหใ้ ชพ้ ้ืนทีจ่ าก ให้ตอ้ งเสนอโครงการ/ กระบวนการจัดซือ้ จัดจา้ ง อาทิ ส่วนราชการทเ่ี กีย่ วขอ้ ง จาก กจิ กรรมมายงั สว่ นกลางเพ่ือ กรณมี กี ารยนื่ อุทธรณผ์ ลการ การสารวจพบว่า มโี ครงการ/ พิ จารณาอนุมัติ/ทราบ จดั ซอื้ จัดจ้างทาใหต้ ้องส่งเรอื่ ง กจิ กรรมจานวนมากซึ่งมี (เจา้ ภาพแผนงานบรู ณาการ ไปยังคณะกรรมการพิ จารณา งบประมาณรวมกนั กวา่ 400 และคณะอนุกรรมการบูรณา อทุ ธรณ์และข้อร้องเรยี น ล้านบาท ตอ้ งยกเลกิ / การนโยบายพั ฒนาภาค (กรมบญั ชกี ลาง) หรอื กรณีการ เปลี่ยนแปลงโครงการหรอื (อ.ก.บ.ภ)) โดยตั้งแต่ต้น ปรับกิจกรรมเดมิ ภายใต้ ต้องดาเนินการล่าชา้ เนื่องจาก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 แผนงาน/โครงการใหเ้ หมาะสม ยงั ไม่ได้รับการอนมุ ัต/ิ อนุญาต จนถงึ เดือนกนั ยายน 2562 เชน่ การลดขนาด/ปริมาณของ การใช้พื้นท่ี นอกจากนจ้ี ากการ จังหวัดและกลุม่ จังหวดั เสนอ พ้ืนที่ดาเนนิ การ การเพิ่ม/ลด เกบ็ รวบรวมข้อมูลโครงการท่ี ปรบั แผนงานโครงการ จานวน กล่มุ เป้าหมาย เปน็ ต้น หรือ เกิดปัญหาจากความไมพ่ รอ้ ม 6 ครง้ั งบประมาณรวม ความคลาดเคลื่อนในขนั้ ตอน ของพื้นที่ย้อนหลัง 4 7,603.7279 ลา้ นบาท คดิ เป็น การจดั ทาคาของบประมาณ (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 รอ้ ยละ 27.57 ของงบประมาณ ทาให้ต้องขอทาความตกลงกับ – 2561) พบวา่ งบประมาณ ท่ีจงั หวดั และกล่มุ จงั หวัดได้รบั สานักงบประมาณ ซ่งึ พบว่า ของจงั หวัดและกลุม่ จังหวดั ณ สิน้ เดอื นพฤษภาคม 2562 ติดปญั หาดงั กลา่ วทาให้ตอ้ ง ยังคงมโี ครงการของจงั หวดั / ยกเลกิ หรือโอนเปลยี่ นแปลง กลุ่มจังหวัดท่ีรอผลการ โครงการกว่า 1,640 ล้านบาท พิจารณาจากกรมบญั ชีกลาง และสานักงบประมาณ จานวน 1,386.3277 ล้านบาท การบริหารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม 3 ประสทิ ธภิ าพการใชจ้ า่ ยงบประมาณของจังหวดั และกล่มุ จังหวัด

1.2 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ส่งผลให้การจัดซื้อจัดจ้างและการใช้จ่ายเงิน ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณ งบประมาณของจงั หวัด/กลุ่มจังหวัด รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาตรา 28 ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด งบประมาณรายจ่ายของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้ตั้ง ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ เป็นจานวน 23,597.0609 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 0.74 ของงบประมาณรายจ่ายทั้งหมดของประเทศ 2019 หรอื โรคโควิด 19ตั้งแต่เดอื น กระทรวงมหาดไทยได้ติดตามข้อมูลผลการใช้จ่าย งบป ระ มา ณข อ งจังห วัด / ก ลุ่ม จังห วัด จา กร ะบ บ กุมภาพั นธ์ 2563 เปน็ ต้นมาแพร่ขยายเปน็ วงกว้างส่งผล GFMIS ณ สิ้นเดือนกันยายน 2563 ปรากฏว่า มีผลการ ต่อการดาเนินงาน การจัดโครงการ/กิจกรรมของจังหวัด ใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 19,783.7343 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ และกลมุ่ จังหวัด โดยเฉพาะโครงการ/กิจกรรมท่ีต้องมีการ 93.94 (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 14 มกราคม 2563 ชุมนุมคนจานวนมากทาให้ต้องชะลอการดาเนินงานหรือ เปา้ หมายการใช้จา่ ยงบประมาณร้อยละ 100) โดยสาเหตุ ยกเลิกกิจกรรม ส่งผลให้ถูกตัดโอนงบประมาณตาม หลักที่ทาให้ปัญหาการใช้จ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตาม พระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2563 เป้าหมาย เ นื่องจากพ ระราชบัญญัติงบประมาณ จานวนท้ังส้ิน 2,537.1846 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.75 รายจ่ายประจาปีฯ มีผลบังคับใช้ล่าช้า (บังคับใช้วันที่ ของงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร 26 กุมภาพันธ์ 2563) 4 การบริหารงบประมาณทดี่ ี (Best Practice) เพ่ือเพิ่ม ประสิทธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัดและกลมุ่ จังหวดั

2. รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รายงานการวิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวดั โดย สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร (Parliamentary Budget Office : PBO) ไดใ้ หข้ ้อสงั เกต เกี่ยวกับผลการเบิกจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ไว้ว่า 2.1 ภาพรวมการเบิกจ่ายของจงั หวัดและกลุ่มจงั หวัดมีความลา่ ช้าและไมเ่ ปน็ ไปตาม เปา้ หมายอยา่ งต่อเนอื่ งซง่ึ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2562 มีผลการ เบกิ จ่ายประมาณ รอ้ ยละ 66 ตอ่ งบประมาณ ตามพระราชบัญญตั ิงบประมาณ สว่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 มีผลการ เบิกจา่ ยภาพรวมเพยี งร้อยละ 18.93 ซงึ่ เปน็ สัดส่วนที่นอ้ ยมากเม่ือพิจารณาถึง ระยะเวลาท่ีเหลือเพยี งแค่ 2 เดอื นในการเบิกจา่ ยงบประมาณ ดังน้ันเพอื่ ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงานและเงนิ งบประมาณ จังหวัดและกลุม่ จังหวดั จงึ ควรช้ีแจง ถงึ ปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนนิ งานต่าง ๆ ท่ีทาใหก้ ารเบกิ จ่ายนัน้ ล่าชา้ ไม่ เป็นไปตามเปา้ หมายและมแี นวทางอย่างไรเพอ่ื เร่งรดั การเบกิ จา่ ยรายจา่ ยลงทนุ ที่ยังไมไ่ ด้เบกิ จา่ ย และทีจ่ ะไดร้ ับจดั สรรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.2 จงั หวดั สระบรุ ี มคี วามพรอ้ มและสามารถดาเนนิ การไดต้ ามเงอ่ื นไขของมาตรการ เร่งรดั การเบกิ จ่ายไดเ้ ป็นอย่างดี แต่การจดั สรรงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวดั สระบุรี ได้รับเงนิ งบประมาณนอ้ ยกวา่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน - 12.391 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 5.97 ในขณะทจ่ี ังหวดั ลพบรุ ี มผี ลการเบิกจา่ ย ณ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2563 เพียงรอ้ ยละ 9.55 แต่กลบั ไดร้ ับ จัดสรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพมิ่ ขึน้ จานวน 21.2379 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.07 2.3 มีจงั หวดั และกลุม่ จงั หวัดบางสว่ นที่สามารถดาเนินงานไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายการเบิกจา่ ย ตามมาตรการเร่งรดั การใช้จา่ ยงบประมาณ แสดงวา่ ต้องมีการวางแผนการดาเนินงาน เชงิ ยทุ ธศาสตรภ์ ายใตเ้ งอื่ นไขของแตล่ ะพืน้ ที่ไดเ้ ป็นอย่างดี จงึ ไม่อาจสรปุ ได้วา่ การเบกิ จา่ ย งบประมาณของจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัดท้งั หมดขาดประสทิ ธภิ าพ ดังน้ัน จึงเห็นควรใหจ้ งั หวดั และกล่มุ จังหวัดทมี่ ีผลการ เบกิ จ่ายอยู่ในอันดบั ตน้ ๆ ถา่ ยทอดเทคนคิ และวธิ ีการ ทางานเพ่ือเปน็ แบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) ใหแ้ ก่ จงั หวดั และกลุ่มจงั หวัดอื่น ๆ โดยผู้บริหารระดบั สงู ให้การสนบั สนุนร่วม ประชมุ หารอื และแสวงหาแนวทางการดาเนนิ งานทดี่ ีที่สุดเหมาะสมกับแตล่ ะพ้ืนท่ี เพื่อใหม้ ผี ลการ ดาเนินงานทดี่ ขี นึ้ ซง่ึ การวัดผลเบกิ จ่ายงบประมาณปีงบประมาณทีผ่ ่านมา ควรวัดผลการ ดาเนินงานเพือ่ หาแนวทางในการพัฒนาการดาเนนิ งานท่ดี ีร่วมกันเพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายของ ยทุ ธศาสตร์ชาติ มากกวา่ ใช้เป็นมาตรการลงโทษด้วยการตดั งบประมาณ สรุป จากปญั หาอปุ สรรคการดาเนินงานของจงั หวัดและกล่มุ จงั หวดั รวมถึงขอ้ สังเกตของ PBO พบวา่ มีปัจจยั หลายประการซงึ่ สง่ เสรมิ ให้การดาเนินงานตามแผน 5 ปฏิบัตริ าชการของจงั หวดั และกลุม่ จงั หวัดมปี ระสทิ ธภิ าพและสามารถบรรลตุ ามเปา้ หมายการเบกิ จา่ ยงบประมาณ แต่ปัจจยั สาคญั ประการหนงึ่ ในการขับเคลือ่ น การดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปขี องจงั หวดั /กล่มุ จงั หวัดและการบริหารงบประมาณใหม้ ีประสิทธิภาพคอื ผู้วา่ ราชการ จงั หวัด ซึง่ มีบทบาทสาคัญในการกาหนดแนวทางและขับเคลือ่ นแผนงานโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีของจงั หวัดและ กล่มุ จังหวัดใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ ดงั น้นั สานักพัฒนาและส่งเสรมิ การบริหารราชการจงั หวดั จึงไดถ้ อดบทเรียนแนวทางการบริหารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) จากจังหวัดทมี่ ผี ลการบริหารงบประมาณ อยู่ในอนั ดบั ต้น ๆ อย่างต่อเนอ่ื ง (3 ปยี ้อนหลงั ) เพ่ือนามาวิเคราะหแ์ ละเผยแพรแ่ นวทางการบริหารงบประมาณ ของจังหวดั / กลมุ่ จังหวดั ซ่ึงจะกอ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อผู้บรหิ าร เจา้ หน้าที่ผู้ปฏบิ ตั งิ านในพนื้ ที่หรือผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งต่อไป  การบริหารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) เพื่อเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการใช้จา่ ยงบประมาณของจังหวดั และกล่มุ จังหวัด

2ส่วนท่ี แนวทางการคัดเลือกจังหวัดทมี่ ีผลการบรหิ ารงบประมาณทดี่ ี สานกั พัฒนาและสง่ เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวดั สานกั งานปลัดกะทรวงมหาดไทย ไดก้ าหนดแนวทางในการ คดั เลอื กจงั หวัดโดยใช้ปัจจยั ด้านบคุ ลากร คือ “ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ” ซ่ึงถอื เปน็ ผทู้ มี่ บี ทบาทสาคญั ในการกาหนดแนวทาง และขับเคลือ่ นแผนงานโครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีของจังหวดั /กลมุ่ จงั หวดั ให้มีประสทิ ธภิ าพ โดยนาปัจจัย ดังกล่าวมาวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหวา่ งข้อมูลผลการใช้จา่ ยงบประมาณและผู้ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ของแต่ละจงั หวัดในขณะนั้น ๆ รวมทั้งระยะเวลา (ปงี บประมาณ) ทจี่ งั หวัดมีผลการบริหารงบประมาณอยูใ่ นอนั ดับต้นและ/ หรือเป็นไปตามเป้าหมายการใชจ้ ่ายงบประมาณ ดังนี้ 1. ข้อมูลเปรียบเทียบ จากข้อมลู ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 3 ปยี อ้ นหลงั (พ.ศ. 2560 – 2562) ผลการใช้จ่ายงบประมาณ พบวา่ มีผ้วู า่ ราชการจังหวดั ที่ดารงตาแหน่งในจังหวัดทมี่ ีผลการใช้จา่ ย ของจงั หวดั 3 ปยี อ้ นหลงั งบประมาณสูงสุด 10 ลาดบั แรก ติดต่อกนั 3 ปีงบประมาณ 2 ทา่ น ได้แก่ 1.นายแมนรตั น์ รตั นสคุ นธ์ และ 2) นายนมิ ติ วันไชยธนวงศ์ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 จังหวดั ลาดับ ร้อยละ จงั หวดั ลาดบั รอ้ ยละ จังหวดั ลาดบั รอ้ ยละ สมุทรสาคร 1 100 อทุ ยั ธานี 5 99.90 สระบรุ ี 1 100 อุทยั ธานี 5 99.78 นายแมนรัตน์ รัตนสคุ นธ์ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดสระบรุ ี ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 จังหวดั ลาดบั ร้อยละ จังหวัด ลาดับ รอ้ ยละ จังหวัด ลาดับ ร้อยละ ชัยนาท 2 99.99 สพุ รรรณบุรี 7 99.22 สุพรรรณบุรี 3 99.82 นายนมิ ผติ วู้ ่าวรนั าไชชกยาธรนจวงั งหศวดั์ สพุ รรณบรุ ี 6 การบรหิ ารงบประมาณท่ีดี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั

2. ขอ้ มูลเปรียบเทยี บผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ขอ้ มลู ณ สนิ้ เดือนสิงหาคม 2563) 2.1 เป้าหมายการใช้จา่ ยงบประมาณ ตามมติ ครม. เม่อื วนั ท่ี 14 มกราคม 2563 ดังน้ี เป้าหมายการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (รอ้ ยละสะสม) งบรายจา่ ย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ภาพรวม 23 54 77 100 100 รายจา่ ยประจา 28 58 80 100 รายจา่ ยลงทุน 8 40 65 2.2 จงั หวัดที่มผี ลการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมในไตรมาส 3 เป็นไปตามมตคิ ณะรัฐมนตรี (ตง้ั แตร่ ้อยละ 77.00 เปน็ ตน้ ไป) 28จังหวัด 1.ชลบรุ ี 8.ชยั นาท 15.อตุ รดิตถ์ 22.สมุทรสงคราม เรยี งผล 2.มหาสารคาม 9.พะเยา 16.สระบรุ ี 23.เพชรบรุ ี ใช้จา่ ย 3.อุทัยธานี 10.เพชรบรู ณ์ 17.ตาก 24.กาฬสินธุ์ จากสงู 4.อา่ งทอง 11.พระนครศรีอยธุ ยา 18.สุพรรณบุรี 25.ลพบุรี ไปต่า 5.ขอนแกน่ 12.สมทุ รปราการ 19.ชมุ พร 26.ระนอง 6.หนองคาย 13.ประจวบคีรขี นั ธ์ 20.จันทบุรี 27.ตรงั จงั หวัดที่มีผลการใชจ้ า่ ยไตรมาส 3 7.สตูล 14.ร้อยเอด็ 21.สงขลา 28.นครปฐม ตัง้ แตร่ อ้ ยละ 77 เป็นตน้ ไป 2.3 จังหวดั ท่ีมีผลการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ณ สนิ้ เดอื นสงิ หาคม 2563 สงู 10 ลาดบั แรก ไดแ้ ก่ จงั หวัดอุทยั ธานี มหาสารคาม สระบรุ ี ขอนแกน่ สตูล ตราด รอ้ ยเอด็ พะเยา ปทมุ ธานี และพงั งา 10 1 2 3 อุทัยธานี มหาสารคาม สระบุรี 4 5 ขอนแก่น สตูล 6 7 ตราด 8 9 10รอ้ ยเอ็ดพะเยา จังหวัดแรกที่มีผลการใชจ้ า่ ยสงู ปทุมธานี พังงา 2.4 เม่ือนาข้อมูลของจงั หวดั ท่ีมีผลการใช้จ่ายงบประมาณตามขอ้ 2.2 และขอ้ 2.3 มาวิเคราะหร์ ่วมกัน พบว่ามีจานวน 7 จังหวดั ได้แก่ จังหวัดอุทัยธานี มหาสารคาม สระบุรี ขอนแก่น สตลู ร้อยเอด็ และพะเยา มผี ลการใช้จ่ายงบประมาณในไตรมาส 3 เป็นไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรแี ละมผี ลการใชจ้ า่ ย ณ สนิ้ เดอื นสงิ หาคม 2563 อยู่ใน 10 ลาดบั แรก การบริหารงบประมาณท่ดี ี (Best Practice) เพื่อเพ่ิม 7 ประสทิ ธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัดและกล่มุ จังหวัด

รายนาม 2. นายนิมิต วนั ไชยธนวงศ์ ผวู้ ่าราชการจังหวัด ผูว้ ่าราชการจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ท่ีมผี ลการบริหาร งบประมาณ 4. นายเกียรตศิ ักดิ์ จนั ทรา ในลาดับตน้ ๆ ผู้ว่าราชการจังหวดั มหาสารคาม ตามแนวทางการ 6. นายวรี นนั ทน์ เพ็งจันทร์ คดั เลอื ก ผู้วา่ ราชการจงั หวัดสตลู 8จงั หวัด 8.นายกมล เชียงวงค์ 1. นายแมนรัตน์ รตั นสคุ นธ์ ผู้ว่าราชการจงั หวัดพะเยา ผวู้ า่ ราชการจังหวดั สระบุรี 3. นายณรงค์ รกั รอ้ ย ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั อุทัยธานี 5. นายสมศักด์ิ จังตระกุล ผู้วา่ ราชการจังหวัดขอนแกน่ 7. นายวันชัย คงเกษม ผู้วา่ ราชการจงั หวัดร้อยเอด็ 8 การบรหิ ารงบประมาณทีด่ ี (Best Practice) เพื่อเพิ่ม ประสทิ ธิภาพการใชจ้ า่ ยงบประมาณของจังหวดั และกลุม่ จงั หวัด

3สว่ นท่ี การกาหนดแบบสอบถามและการจัดเก็บข้อมูล 1. กาหนดแบบสอบถามแนวทางการบรหิ ารงบประมาณทด่ี ี (Best Practice) เปน็ 4 หัวข้อหลัก ดังนี้ การจดั ทาคาของบประมาณ การบรหิ ารงบประมาณ การกากับและตดิ ตาม ปจั จัยความสาเร็จ และข้อเสนอแนะ 1 . ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ต่ อ แ น ว 1.ความคิดเห็นของผู้ว่าราชการ 1. จัดทาแผนเพื่อใช้ในการ ทางการดาเนินการตามนโยบาย จั ง ห วั ด ต่ อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ติ ด ต า ม / เ ร่ ง รั ด ก า ร ใ ช้ จ่ า ย 1. ปัจจัยความสาเร็จของ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ วิ ธี ก า ร จั ด ท า ระเบียบ กฎ ประกาศ หนังสือ งบประมาณ การดาเนินโครงการและการ แผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนา ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ใช้ จ่ าย งบประ มาณให้ มี กลุ่มจงั หวดั งบประมาณ 2. วิธีการติดตาม เร่งรัด ประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ 2. วิ ธี ก า ร / แ นว ท า ง / ก ล ยุ ท ธ์ 2 . ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด มี 2. ข้อเสนอแนะต่อ ที่ผู้ ว่ าราชการจังหวั ดใช้ ในการ แ น ว ท า ง / วิ ธี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร น โ ย บ า ย ก า ร จั ด ท า ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร จั ด ท า แ ผ น ง า น แ ผนงาน / แ ผนเงิ น แ ผนงาน / งบประมาณจังหวัดให้มี โค รง ก า รเ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า รพั ฒ น า / โ ค ร ง ก า ร ใ น จั ง ห วั ด อ ย่ า ง ไ ร เ พ่ื อ ประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ ให้สอดคล้อง ให้การดาเนินแผนงาน/โครงการ กั บ น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บา ล แ ล ะ ค ว า ม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ต้องการของประชาชน ทั น ต า ม ก ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ต า ม นโยบายของรฐั บาล 3.ปัจจัยแวดล้อมท่ีจะสามารถ ผลักดันให้การขับเคล่ือนแผนงาน โครงการเพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหา ในพืน้ ท่ีใหป้ ระสบความสาเรจ็ การบริหารงบประมาณทีด่ ี (Best Practice) เพื่อเพ่ิม 9 ประสิทธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั

2. การเกบ็ ขอ้ มลู แนวทางการบรหิ ารงบประมาณที่ดี ขอนแกน มหาสารคาม พะเยา  อทุ ัยธานี      ร้อยเอด็ สระบุรี สุพรรณบุรี  สตลู (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0212.2/ว 5904 ลงวันท่ี 30 กันยายน 2563) แจ้ง ผู้ว่าราชการจังหวัดให้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8 จังหวัดได้แก่ จังหวัดสระบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี มหาสารคาม ขอนแก่น สตลู รอ้ ยเอด็ และพะเยา เพ่ือเก็บข้อมูลความคิดเห็น แนวทาง ข้อเสนอแนะจากผ้วู า่ ราชการจงั หวัดนามาวเิ คราะห์เป็นแนวทางการบริหารงบประมาณท่ีดี 10 การบรหิ ารงบประมาณที่ดี (Best Practice) เพ่ือเพิ่ม ประสิทธภิ าพการใชจ้ ่ายงบประมาณของจงั หวดั และกลุ่มจงั หวดั

4ส่วนที่ ผลการวเิ คราะหแ์ ละสรปุ 1. การจัดทาคาของบประมาณ 1.1 ความคิดเห็นต่อแนวทางการดาเนินการตามนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการจัดทา 11 แผนพั ฒนาจังหวัด/แผนพั ฒนากลุ่มจังหวัด และการดาเนินการตามหลักเกณฑ์การ จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณของจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ห็ น ว่ า แ น ว ท า ง ใ น ปั จ จุ บั น เ ห ม า ะ ส ม ดี แ ล้ ว ซึง่ นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาแผนพั ฒนาจังหวัด และแผนพั ฒนากลุ่มจังหวัด ในแต่ละปีจะมีแนวทางท่ีคล้ายกัน โดยคณะกรรมการบูรณาการนโยบายพั ฒนาภาค (ก.บ.ภ.) เป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดดาเนินการจัดทาแผนพั ฒนา จังหวัดและแผนพั ฒนากลุ่มจังหวัดให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่ อใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด อย่างไรก็ตาม ยังคง มีผู้ว่าราชการจังหวัดบางท่านให้ความเห็นว่า แนวทางปัจจุบันยังไม่เหมาะสม /ยังขาด ความชัดเจนเทา่ ทคี่ วร และมขี อ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ อาทิ  ควรปรับปรุงเง่ือนไขการพิ จารณาจัดสรรงบประมาณแก่โครงการท่ีจังหวัด เสนอให้มคี วามชดั เจนและควรให้ความสาคัญกับความต้องการของจังหวัดเป็นอันดับแรก เพราะในปัจจุบันโครงการท่ีสานักงบประมาณพิ จารณาจัดสรรงบประมาณไม่เป็นไปตาม ความต้องการที่จังหวัดเสนอ ส่งผลให้การดาเนินโครงการไม่สามารถตอบสนองต่อ แผนพัฒนาจังหวัดได้อยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ  การกาหนดเป้าหมายงบลงทุนต่องบประมาณในสัดส่วน 75 ต่อ 25 นั้น บริบท ของจังหวัด ในภาคเหนือโดยส่วนใหญ่เป็นพ้ื นท่ีป่า การท่ีจะกาหนดงบลงทุนร้อยละ 75 เปน็ สดั สว่ นที่สูงเกินไป ทาใหง้ บประมาณของจังหวดั ถกู ปรับลดลงทุกปี จึงควรใหป้ รับลด งบลงทุนให้เหลือเพี ยงร้อยละ 50 และงบดาเนินงานร้อยละ 50 ทาให้จังหวัดสามารถ ดาเนินโครงการเพ่ื อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพ้ื นที่ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ การบริหารงบประมาณท่ดี ี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม ประสิทธภิ าพการใช้จา่ ยงบประมาณของจังหวดั และกลุ่มจงั หวัด

1.2 วิธีการ/แนวทาง/กลยุทธ์ ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดใช้ในการขับเคล่ือนการจัดทา แผนงานโครงการเพ่ื อให้เกิดการพั ฒนา/แก้ไขปัญหาในพ้ื นท่ีให้สอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลและความตอ้ งการของประชาชน ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกท่านมีความเห็นสอดคล้องในทิศทางเดียวกันว่าการจัดทา แผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี ควรมงุ่ เนน้ ในประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี 1.2.1 โครงการท่ีดาเนนิ การนอกจากจะต้องมีความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ยังต้องมุ่งเน้นอบสนองความต้องการของประชาชนโดยการสารวจความต้องการของ ประชาชนผ่านช่องทางต่าง ๆ อาทิ การออกจังหวัดเคล่ือนที่ การใช้ส่ือ/เครื่องมือ/ เทคโนโลยสี ารสนเทศ การประสานแผนหมู่บ้าน/ชุมชนและการวเิ คราะห์สถานการณ์ปจั จบุ ัน 1.2.2 มีการบูรณาการทุกภาคส่วนสร้างการรับรู้ให้กับทุกภาคส่วน/เปิดโอกาสให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทาแผนตั้งแต่เร่ิมต้นซึ่งจะช่วยลดผลกระทบและ ความขัดแยง้ ระหวา่ งชุมชนและภาครฐั เมื่อเรม่ิ ดาเนนิ โครงการจรงิ 1.2.3 การประสานแผนในระดับต่าง ๆ (One Plan) โดยการจัดลาดับความต้องการ ของปญั หาและความต้องการในพื้นที่ ผ่านกลไกการจัดทาแผนพั ฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แ ผ น พั ฒ น า ต า บ ล แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ แ ผ น พั ฒ น า อ า เ ภ อ เ พ่ื อ ใ ห้ แ ผ นมี ความเชอ่ื มโยงกันทกุ ระดบั 1.3 ปัจจัยแวดล้อมทจ่ี ะสามารถผลักดันให้การขับเคล่ือนแผนงานโครงการเพื่ อพั ฒนาและ แกไ้ ขปญั หาในพ้ื นทใ่ี หป้ ระสบความสาเรจ็ 1.3.1 ความพร้อมของโครงการ ทั้งแบบรูปรายการ ประมาณการ ปร.4/ปร.5 หนังสืออนุญาตการใช้พื้ นท่ีจากผู้มีอานาจ รวมถึงการบริหารจัดการทรัพย์สินหลัง โครงการเสรจ็ สิน้ 1.3.2 ผบู้ รหิ ารในพื้นท่ตี ้องใหค้ วามสาคญั ในการขบั เคล่อื นการทางานให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 1.3.3 ความพร้อมของส่วนราชการในการดาเนนิ โครงการตามแผนพัฒนาจงั หวดั 1.3.4 การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมกันแก้ไขปัญหาในพื้ นที่/ขับเคล่ือน แผนไปส่กู ารปฏิบัติทง้ั สว่ นกลาง ส่วนภมู ิภาค และส่วนท้องถิ่น 1.3.5 ความพร้อมของบคุ ลากร ควรมีความรใู้ นการดาเนินโครงการ รวมถึงมีความรู้ ในการจดั ซ้อื จดั จา้ ง ระเบียบกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง 1.3.6 การจัดสรรงบประมาณตามท่ีจังหวัดได้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ โดยมีการจัดเรยี งลาดบั ความสาคัญของโครงการ/ความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ี 1.3.7 การปรบั ปรุงกฎหมายระเบยี บ 12 การบริหารงบประมาณท่ดี ี (Best Practice) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชจ้ ่ายงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

2. การบรหิ ารงบประมาณ 2.1 ความคิดเห็นของผู้ว่าราชการจังหวัดต่อพระราชบัญญัติ ระเบียบ กฎ ประกาศ หนงั สือ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการใช้จ่ายงบประมาณ (การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารพัสดุ การเบิก เงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนาเงินส่งคลัง การบริหารงบประมาณ ฯลฯ ) เพ่ือช่วยใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในทางปฏิบัติ ผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความเห็นว่า พระราชบัญญัติ ระเบียบ กฎ ประกาศ หนังสือ ที่เกี่ยวข้อง กับการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพ่ื อให้การใช้จ่ายงบประมาณของ แผ่นดนิ เกดิ ประโยชนส์ งู สุด โดยหลายท่านได้ให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอไว้ โดยเฉพาะในประเด็นท่ีเก่ียวกับ ระเบียบกระทรวงคลังว่าดว้ ยการจัดซ้อื จัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 อาทิ 2.1.1 กฎหมายบางฉบับไม่เอ้ือต่อการพั ฒนาในพื้ นที่ จาเป็นต้องมีการปรับปรุง/แก้ไขให้ทันต่อ สถานการณ์ปัจจุบัน เช่น เร่ือ งการมอบอานาจในการจัดซื้อ จัดจ้างตามข้อ 8 แห่งระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพั สดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ในประเด็นการ มอบอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัดให้หน่วยงานส่วนกลางที่มีท่ีต้ังในภูมิภาคโดยระเบียบกาหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบอานาจให้หัวหน้าส่วนราชการส่วนกลาง (อธิบดี) ไม่สามารถมอบอานาจ โดยตรงใหห้ นว่ ยงานส่วนกลางทมี่ ีทตี่ ง้ั ในจงั หวัด ส่งผลให้การจัดซ้ือจัดจ้างโครงการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจาปขี องจังหวัดเป็นไปด้วยความล่าช้าไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการมอบอานาจ พ.ศ. 2550 จึงควรแก้ไขข้อจากัดดังกล่าว เพื่ อให้เกิดความคล่องตัวในการ ดาเนินการของจังหวัด ยกตัวอย่าง เช่น แขวงทางหลวงชนบท ได้รับการจัดสรรงบประมาณตาม พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 จานวน 1 โครงการ งบประมาณ 30 ล้าน บาท ผู้ว่าราชการจังหวัดจะต้องมอบอานาจให้อธิบดีกรมทางหลวงชนบท และอธิบดีกรมทางหลวง ชนบทจะมอบอานาจต่อให้ผู้อานวยการแขวงทางหลวงชนบทในพ้ื นท่ีอีกคร้ัง ซ่ึงทาให้เป็นการทางาน หลายข้ันตอน จึงขอเสนอแนะให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัด/ผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถมอบอานาจให้ หัวหน้าส่วนราชการส่วนกลาง ซ่งึ สังกัดในภูมิภาคได้โดยตรง 2.1.2 การปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้และ มีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอนนั้น ส่งผลให้บุคลากรท่ีเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านพั สดุจะต้องมี การพัฒนา เสริมสรา้ งความเข้าใจในการปฏิบัติงาน เพ่ื อให้เกิดความถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ลดโอกาสและความผิดพลาดท่ีเป็นความเส่ียงในการปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างแก่เจ้าหน้าที่ ผูป้ ฏิบัตงิ านพัสดุ จึงมคี วามจาเปน็ ต้องให้ความรผู้ ู้ปฏบิ ตั ิงานพัสดุอย่างต่อเนอ่ื ง การบริหารงบประมาณที่ดี (Best Practice) เพ่ือเพิ่ม 13 ประสทิ ธภิ าพการใช้จา่ ยงบประมาณของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด

2.2 ผู้ว่าราชการจังหวัดมีแนวทาง/วิธีการบริหารจัดการแผนงาน/ แผนเงิน แผนงาน/โครงการในจังหวัดอย่างไรเพื่ อให้การดาเนิน แผนงาน/โครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และทันตามกรอบ ระยะเวลาตามนโยบายของรัฐบาล ในแต่ละจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัดมีแนวทาง วิธีการบริหารจัดการแผนงาน แผนเงิน ให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพแตกต่างกันข้ึนอยู่กับบริบทของพ้ื นที่ภายในจังหวัดน้ัน ๆ โดยสรุปเทคนิคการ ดาเนนิ งานได้ ดังนี้ 2.2.1 กาหนดแผนงาน/แผนเงินโดยกาหนดวงเงินการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ 60 ในไตรมาส 1 และ 2 2.2.2 แจ้งแผนงาน แผนเงินที่สานักงบประมาณให้ความเห็นชอบให้ส่วนราชการที่ได้รับการ จัดสรรงบประมาณทราบและถือปฏิบัติตามแผนฯ อย่างเคร่งครัด ตามระยะเวลาที่กาหนดและเบิกจ่าย ให้ตรงตามงวดงานทไ่ี ดว้ างไว้ 2.2.3 นาผลการใช้จ่ายงบประมาณมาประเมินการทางานของส่วนราชการ ซ่ึงการติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณนั้นมีระบบฐานข้อมูล (Data Platform) muj ท่ีสามารถเขา้ ถึงได้ เพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเรว็ และเปน็ ปจั จบุ ัน 2.2.4 ทุกภาคส่วนในจังหวัดจะต้องให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการแผนงาน/แผนเงินของ จังหวัด ตั้งแต่ระดับผู้บริหารรวมถึงเจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติทุกระดับจะต้องร่วมกันกาหนดแนวทางใน การจัดทาแผนงานโครงการ การดาเนินงาน ตลอดจนการเร่งรัดติดตาม เพ่ื อให้การดาเนินงานและ การใช้จ่ายงบประมาณ เป็นไปตามเป้าหมายท่ีรัฐบาลกาหนด และท่ีสาคัญคือประชาชนในพื้ นท่ีได้รับ ประโยชน์สูงสุด 2.2.5 การสร้างความเข้าใจกับทุกส่วนราชการ กาหนดให้มีการประชุมชี้แจง ทาความเข้าใจกับทุก หน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพ่ื อทาความเข้าใจทั้งในมิติการดาเนินการ เช่น แนวทาง ขั้นตอนการดาเนินการและกาหนดเป้าหมายให้ตรงกัน ตลอดจนคาดการณ์ปัญหา/อุปสรรค ที่จะเ กิดขึ้นเ พื่ อ กา หนดแนว ทางในก ารแก้ไข ล่วงหน้า และมิติก ารบริหา รงบประ มาณ เช่น การสร้างความเขา้ ใจเกีย่ วกับมาตรการเรง่ รดั การเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาล การกาหนดข้ันตอน ในการติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายและร่วมกันกาหนดปฏิทินการติดตามในระดับพ้ื นที่ การประชุมติดตาม ในระดบั จังหวัด การประชุมซักซอ้ มความเข้าใจต่าง ๆ 14 การบริหารงบประมาณทด่ี ี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม ประสิทธภิ าพการใชจ้ ่ายงบประมาณของจงั หวัดและกล่มุ จังหวดั

2.2.6 การประชมุ ตดิ ตามการดาเนินการอย่างใกล้ชิด และต่อเน่ือง กาหนดให้มีการประชุมติดตามรายเดือน โดยมอบหมายภารกิจให้ส่วนราชการดาเนินการ ดังน้ี (1) การจัดประชุมเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณ กาหนดให้มีการจัดประชุมใน 2 ลักษณะ คือ การประชุม เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัดซ่ึงมอบหมายให้สานักงานจังหวัดดาเนินการและประชุม เร่งรัดการเบิกจ่ายในภาพรวมซึ่งกาหนดให้มีการประชุมทุกเดือน โดยให้สานักงานคลังจังหวัดจัดประชุม เร่งรัดการเบกิ จ่ายงบประมาณในภาพรวม (2) การติดตามการดาเนินการตามแผน มอบหมายให้กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพ่ื อการพั ฒนา จังหวัด สานักงานจังหวัดดาเนินการติดตามผลการดาเนินการและสภาพปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึน โดยในช่วง แรกของการดาเนินการ (ไตรมาส 2) กาหนดให้มีการประชุมชี้แจงอย่างต่อเนื่องเพื่ อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าใจ ข้ันตอนการทางาน และรบั ทราบปญั หาอปุ สรรคจากการดาเนินการในแต่ละขน้ั ตอนตามมาตรการดังกลา่ ว 2.2.7 ให้ความสาคัญกับการขับเคล่ือนการทางานฯ เพ่ื อให้แผนงาน/โครงการที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณฯ เป็นไปตามแผนดาเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่วางไว้ และเป็นไปตามเป้าหมาย ของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามท่ีรัฐบาลกาหนด 2. 2 . 8 ก าหนดเป็นวาระส าคั ญของจั งหวั ดและเป็นตั วช้ีวั ดการท างานในการประเมินส่ วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตริ าชการของจงั หวัด (ประเมินจงั หวดั /ประเมนิ ผู้บริหารของจังหวัด) และกรอบการจัดสรรงบประมาณฯ ในปถี ัดไป 2.2.9 แต่งตั้งคณะกรรมการกากับและติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัด ลงพื้ นท่ีติดตาม โครงการ จดั ประชุมเร่งรัดการทางานรายหน่วยงาน และประชุมเร่งรัดติดตามฯ เป็นประจาทุกสัปดาห์เพ่ื อแก้ไข ปญั หา/อุปสรรคในการทางานฯ 2 . 2 . 1 0 การรายงานผลความคื บหน้ า /ปั ญหาอุ ปสรรค และแนวทางการแก้ ไขปั ญหาในท่ี ประชุ ม คณะกรมการจังหวัด/หัวหน้าส่วนราชการในทุกเดือน และการประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ เป็นต้น 2.2.11 การจัดตั้งศูนย์ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาในการปฏิบัติงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย การ บูร ณ า การ คว าม ร่ว มมือ ขอ งส านัก งา นค ลัง จังห วัด ส านั กงา นจั งห วัด ส านั กง าน โ ยธ าธิ กา ร และผงั เมืองจังหวัด และหนว่ ยตรวจสอบภายในจงั หวัด 2.2.12 สานักงานจังหวัดได้มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบในการกากับเร่งรัดติดตามการดาเนินงานและ การใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปขี องจังหวัดเปน็ รายหน่วยงาน 2 . 2 . 1 3 ให้ ความส าคั ญกั บการพั ฒนาบุ คลากรที่ เ กี่ ยวข้ อ งด้ วยการพั ฒนาความรู้ ความเ ข้ าใ จ และทกั ษะในเรื่องพระราชบัญญัติ ระเบียบ กฎ ประกาศ และหนังสือท่ีเก่ียวข้องกับการใช้จ่ายงบประมาณ (การ จัดซือ้ จดั จา้ ง การบริหารพั สดุ การเบิกเงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนาเงินส่งคลัง การ บริหารงบประมาณ ฯลฯ) วิเคราะห์โครงการ รวมทั้งการเขียนแผนงาน/โครงการ ให้กับส่วนราชการ และภาคีการ พั ฒนาที่เกี่ยวข้อง เพ่ื อนามาปรับใช้ในการทางาน การปรับปรุงแผนพั ฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจาปขี องจังหวัด เพ่ือให้เกดิ การพัฒนาในมติ ติ า่ ง ๆ การบริหารงบประมาณทดี่ ี (Best Practice) เพื่อเพ่ิม 15 ประสิทธิภาพการใชจ้ า่ ยงบประมาณของจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั

3. การกากับติดตาม 3.1 จดั ทาแผนเพ่ื อใช้ในการติดตาม/เร่งรัดการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ดังน้ี 3.1.1 จัดทาแผนติดตามโครงการงบพัฒนาจังหวัด 3.1.2 ส่วนราชการ/หน่วยงานท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณ ต้องมีแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ในการเบิกจ่ายเงนิ ลว่ งหน้า 3.1.3 จัดตั้งคณะทางานตดิ ตามโครงการงบพัฒนาจังหวดั /มกี ารกาหนดผู้รบั ผดิ ชอบที่ชัดเจน 3.1.4 ส่วนราชการ เช่น สานักงานคลังจังหวัด สานักงานจังหวัด และสานักงานสถิติจังหวัด วางระบบติดตามผลและรายงานผลเปน็ ระบบ ไมเ่ น้นการจัดทาในรปู แบบเอกสาร 3.1.5 การวางกรอบและแนวทางในการเร่งรัดก่อหนี้ผูกพั น กรณีงบลงทุนที่มีวงเงินงบประมาณ สูง เช่น ขอความร่วมมือกาหนดให้มีการเบิกจ่ายเงินล่วงหน้า 15% และการแบ่งงวดงานหลายงวด เพื่อใหส้ ามารถเบิกจ่ายได้ตามแผนดาเนินงาน และแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณท่วี างไว้ 3.1.6 มีการปรบั แผนดาเนินงาน และการใช้จา่ ยงบประมาณฯ เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายและ สถานการณท์ ่ีเปลย่ี นแปลงไป เปน็ ตน้ 3.2 วิธีการตดิ ตาม เร่งรดั การใชจ้ ่ายงบประมาณ 3.2.1 กาหนดห้วงเวลาในการติดตาม เร่งรัด การใช้จ่ายงบประมาณท่ีชัดเจน ในแต่ละจังหวัด จะมีการจัดประชุมเร่งรัดการดาเนินงานในทุกเดือน ทั้งน้ี มีบางจังหวัดท่ีกาหนดให้มีการรายงานผลเป็นราย สัปดาห์ 3.2.2 เร่งรัดให้ผู้รับผิดชอบโครงการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างให้แล้วเสร็จโดยเร็ว รวมถึงเร่งรัด ให้มีการเบกิ จา่ ย งบประมาณตามงวดงานสัญญา 3.2.3 แต่งตั้งคณะทางานติดตามการดาเนินโครงการ เพื่ อลงพื้ นท่ี ทาให้ทราบถึงปัญหาของการ ดาเนินงาน/ให้คาแนะนาแนวทางแกไ้ ขแก่ส่วนราชการผู้รับผิดชอบโครงการ และหากมีปัญหาการดาเนินงานต้อง รีบรายงานให้ผู้บริหารทราบทันที เพื่ อแก้ไขปัญหาการดาเนินงานและเบิกจ่ายงบประมาณได้ทันตามระยะเวลา ท่กี าหนด 3.2.4 การตดิ ตามผลการเบิกจา่ ย และการจัดลาดับการเบิกจ่ายของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดจากระบบ การบริหารการเงินภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ของกรมบัญชีกลางทุกสัปดาห์ เพื่ อเป็นข้อมูลในการ รายงานผู้บริหารของจังหวัดและปรับใช้ประโยชน์ในส่วนท่ีเก่ียวข้อง และการรายงานความคืบหน้าผลการ ดาเนินงานเพ่ื อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ไข และร่วมตรวจสอบ” ตามหลกั ธรรมาภิบาล ผา่ นชอ่ งทางเว็บไซต์จังหวดั เปน็ ต้น 16 การบรหิ ารงบประมาณที่ดี (Best Practice) เพ่ือเพ่ิม ประสิทธภิ าพการใชจ้ ่ายงบประมาณของจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั

4. ปัจจัยความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ 4.1 ปจั จยั ความสาเร็จของการดาเนินโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณให้มี ประสิทธภิ าพ 4.1.1 ผู้บรหิ ารในพื้นทใี่ ห้ความสาคญั ในการขับเคล่ือนการทางานให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4.1.2 กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในจังหวัด ความร่วมมือการทางานของทุก ภาคี การพั ฒนา “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ไข และร่วมตรวจสอบ” ตามหลักธรรมาภิบาล ตั้งแต่กระบวนการ ทบทวนแผน การระดมความคิดเห็น การรับฟงั ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะประชาชน ในพ้ื นท่ี เมื่อมีการนาแผนงานโครงการลงสู่การปฏิบัติจาเป็นต้องมีการตรวจติดตามท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่ อให้การดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดและบรรลุตัวช้ีวัด ของแผนงานโครงการทก่ี าหนดไว้ 4.1.3 การวางแผนที่ดี จัดทาแผนงานของโครงการล่วงหน้าหรือนาเครื่องมือวงจรเดมมิ่ง (กระบวนการ PDCA) มาใช้เปน็ เครือ่ งมือในการบริหารจัดการดา้ นคณุ ภาพของโครงการใหบ้ รรลุผล 4.1.4 การส่ือสารท่ีเหมาะสม เพ่ื อให้เกิดความร่วมมือของส่วนราชการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รบั การตอบสนองหรอื แก้ไขปญั หาตามความตอ้ งการตามที่สมควร 4.1.5 การจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการประชุมร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการจัดเวที พู ดคุย/การรับฟงั ความคิดเห็น เพื่ อหาข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมาย ทจี่ ะตอ้ งทาให้สาเร็จของโครงการ ผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั ท่ีจะได้รับ 4.1.6 การมีระบบวัดประสิทธิภาพที่ดี เช่น แผนภูมิ Gantt, Network Logic, PERT Chart, โครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Breakdown Structure) และโครงสร้างการแบ่งงาน (Work Breakdown Structure) 4.1.7 ตรวจสอบข้อกฎหมาย กฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ประกาศต่าง ๆ เพ่ื อจะได้ดาเนินโครงการ ให้ตรงกับวัตถปุ ระสงค์และหลีกเลีย่ งปัญหาท่เี กิดจากการดาเนินงานท่ีผิดพลาด 4.1.8 มรี ะบบฐานข้อมลู Data Platform ทันสมัย และเปน็ ปจั จบุ นั 4.1.9 ความพร้อมโครงการ โครงการจะต้องมีความพร้อมในการดาเนินการ ท้ังแบบรูปรายการ ประมาณการ ปร.4/ปร.5 หนังสืออนุญาตให้ใช้พ้ื นท่ีจากผู้มีอานาจ รวมถึงการบริหารจัดการทรัพย์สิน หลงั โครงการเสร็จส้นิ 4.1.10 บุคลากร ควรมีความรู้ในการดาเนินโครงการ รวมถึงมีความรู้ความสามารถในการจัดซ้ือ จดั จ้าง ตลอดจนระเบยี บกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง การบรหิ ารงบประมาณท่ดี ี (Best Practice) เพ่ือเพิ่ม 17 ประสทิ ธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัด

4.2 ข้อเสนอแนะตอ่ นโยบายการจดั ทางบประมาณจงั หวัดให้มีประสิทธิภาพ 4.2.1 ในการพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบการจัดสรรงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด หรือการปรับลดงบประมาณ ฝ่ายเลขานุการ ก.บ.ภ. ควรเปิดโอกาสให้ จังหวัดได้ชี้แจงความจาเป็นในการดาเนินโครงการว่าส่วนราชการผู้รับผิดชอบโครงการสามารถดาเนิน โครงการได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไดห้ รือไม่ 4.2.2 ให้อาเภอสามารถขอรับการจัดสรรงบประมาณงบพั ฒนาจังหวัดได้ เน่ืองจากอาเภอเป็น หน่วยงานท่ีใกล้ชิดประชาชนมากท่ีสุด ย่อมมีภารกิจในการดูแลประชาชน บาบัดทุกข์ บารุงสุข ประกอบ กับปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีงบประมาณไม่เพี ยงพอบางโครงการอาจเกินศักยภาพของ ท้องถน่ิ 4.2.3 ควรทบทวนนโยบายมาตรการเกี่ยวกับการเร่งรัดเบิกจ่ายที่กาหนดห้วงเวลา เน่ืองจากจะ สง่ ผลใหก้ ระบวนการจดั ซ้อื จัดจ้างหยดุ ชะงกั ซึง่ ต้องเพ่ิมข้ันตอนในการอทุ ธรณ์ทาใหก้ ารเบิกจ่ายลา่ ช้า 4.2.4 ควรให้ความสาคัญกับการพั ฒนาทักษะ และองค์ความรู้ในสหวิทยาการสมัยใหม่ ของ บคุ ลากรที่เก่ียวข้องกับจัดทางบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เพื่ อนาไปสู่การทางานในพ้ื นท่ีได้อย่าง มปี ระสิทธภิ าพสูงสุด 4.2.5 กฎหมายบางฉบับไม่เอ้ือต่อการพั ฒนาในพื้ นที่ จาเป็นต้องมีการปรับปรุง/แก้ไขให้ทันต่อ สถานการณป์ จั จบุ นั 18 การบรหิ ารงบประมาณทด่ี ี (Best Practice) เพื่อเพิ่ม ประสทิ ธิภาพการใชจ้ า่ ยงบประมาณของจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวดั

จากแนวทางการบริหารงบประมาณจังหวัด ขอ ง “คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด “ ผู้ว่าราชการจังหวัดท้ัง 8 ท่าน จะเห็นได้ว่า นโยบาย และกลมุ่ จังหวดั แบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ใ น ก า ร จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ แ ผ น พั ฒ น า ควรกาหนดหลกั เกณฑแ์ ละเรอื่ งท่ีสามารถ กลุ่มจังหวัด รวมถึงแผนปฏิบัติราชการประจาปีใน มอบอานาจใหแ้ กผ่ ู้วา่ ราชการจังหวดั พิจารณา ปัจจุบันเป็นแนวทางที่ดีและเหมาะสมแล้ว มีกรอบ และดาเนนิ การกรณีทต่ี อ้ งไดร้ ับการอนมุ ัต/ิ อนญุ าต การดาเนินงานท่ีตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาล รวมถึง จากหนว่ ยงานส่วนกลาง เช่น การอนญุ าตใชพ้ ้ืนที่ การประชาคมแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่ อให้ จากอธิบดีกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุ ได้มาซึ่งความต้องการของประชาชนจากพ้ื นท่ีมีแผนที่ พืช และการมอบอานาจในการจัดซื้อจัดจา้ ง เชื่อมโยงสอดคล้องกันในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน โดยตรงใหห้ นว่ ยงานของรัฐทขี่ นึ้ ตรงตอ่ กรม (One Plan) และประเด็นสาคัญคือการขับเคล่ือนแผนที่ โดยไมต่ อ้ งรอการอนญุ าตจากส่วนกลาง เนือ่ งจาก มุ่งเน้นการทางานแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ซึ่งผู้ว่า จังหวดั มีการประชมุ ประจาทุกเดอื นและในการประชมุ ราชการจังหวัดเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการกาหนด ดังกลา่ วจะมผี แู้ ทนจากทกุ ภาคสว่ นเขา้ รว่ มประชุม แนวทางและขับเคล่ือนแผนพั ฒนาจังหวัด/แผนงาน โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด เพ่ือใหโ้ ครงการสามารถดาเนนิ การ และกลุ่มจังหวัดให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับบริบท ไดร้ วดเร็วขึ้น ของพ้ืนที่ แต่อยา่ งไรก็ตามในการปฏบิ ัติงาน/ขับเคล่ือน แผนต่าง ๆ ย่อมมีปัญหาอุปสรรคและผู้ว่าราชการ จากประเด็นการมอบอานาจการจัดซื้อจัดจ้าง จังหวัดในแต่ละพื้ นท่ีมีเทคนิคในการแก้ไขปัญหาหรือ นั้นกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง สานัก วางแนวทางการดาเนินงานที่แตกต่างกนั ท้ังนี้ ประเด็น งบประมาณ และสานักงานคณะกรรมการพั ฒนาระบบ ปั ญ ห า ห ลั ก ที่ พ บ คื อ ก า ร ไ ม่ เ อื้ อ ข อ ง ก ฎ ห ม า ย ที่ ราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) ได้ร่วมกันแก้ไขปัญหา เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่อง ดังกล่าว และคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือ การมอบอานาจในการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบ จัดจ้างและการบริหารพั สดุภาครัฐ (คณะกรรมการ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง แ ล ะ วินิจฉัย) กรมบัญชีกลาง ได้มีหนังสือกรมบัญชีกลาง การบริหารพั สดุภาครัฐ พ .ศ. 2560 ผู้ว่าราชการ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/3732 ลงวันที่ 22 จังหวัดต้องมอบอานาจให้หัวหน้าราชการส่วนกลาง มกราคม 2564 แจ้งเรื่อง การมอบอานาจในการ ไมส่ ามารถมอบอานาจโดยตรงให้หน่วยงานส่วนกลางท่ี จัดซื้อจัดจ้างของผู้ว่าราชการจังหวัดให้กับหัวหน้า มี ท่ี ต้ั ง อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ล่ า ช้ า ห น่ ว ย ง า น ที่ ตั้ ง อ ยู่ ใน จั ง ห วั ด แ ละ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดหลายท่านมีความคิดเห็นตรงกัน โด ย ค ณ ะ ก ร ร ม กา ร วิ นิ จ ฉั ย ไ ด้ พิ จ า ร ณ า ป ร ะ เ ด็ น วา่ ควรแกไ้ ขกฎระเบียบดังกล่าว สอดคล้องกับรายงาน การมอบอานาจการจัดซื้อจัดจ้างของผู้ว่าราชการ ผลการตรวจติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตาม จั ง ห วั ด ต า ม ร ะ เ บี ย บ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ว่ า ด้ ว ย ก า ร แผนพัฒนาจงั หวดั และกลุ่มจังหวัดของผู้ตรวจราชการ จัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพั สดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 สานักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย เพ่ื อให้เกิดความคล่องตัวแก่จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ทร่ี ายงานตอ่ คณะกรรมการกากับและติดตามการปฏิบัติ ในการขับเคลื่อนการพั ฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ราชการในภูมภิ าค (กกภ.) คร้ังที่ 2 ประจาปีงบประมาณ ร ว ม ถึ ง ก า ร เ ร่ ง รั ด ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ ก ลุ่ ม พ.ศ. 2562 ในคราวการประชุม กกภ. ครั้งท่ี 1/2563 จังหวัดให้สามารถเบิกจ่ายหรือก่อหน้ีผูกพั นได้ทัน วันจันทร์ท่ี 16 พฤศจิกายน 2563 ณ ตึกบัญชาการ 1 จึงอนุมัติยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง ทาเนียบรัฐบาล ซึ่งผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพั สดุภาครัฐ และผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยได้เสนอแนะให้ พ.ศ. 2560 ข้อ 7 วรรคหนึ่ง โดยให้ผู้ว่าราชการ หน่วยงานที่รับผิดชอบรับไปประกอบการพิ จารณา จังหวดั สามารถมอบอานาจในการจัดซื้อจัดจ้างให้กับ ดาเนนิ การ ไวว้ ่า ผู้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ใ น ร า ช ก า ร ส่ ว น ก ล า ง ที่ ต้ั ง อ ยู่ ใ น ภูมิภาค หรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจที่ ตั้งอยู่ในภูมิภาค หรือหัวหน้าหน่วยงานของราชการ ส่วนท้ อ งถ่ิ น ห รือ หั วห น้ าห น่ วย งา น ที่ต้ั ง อยู่ ใน จังหวัดหรือกลมุ่ จังหวัดโดยตรง ดังน้ัน สานักพั ฒนาและส่งเสริมการบริหาร ราชการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ขอนาการถอดบทเรียน “การบริหารงบประมาณที่ดี (Best Practice) เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด” ดังกล่าวมา เพ่ื อเป็นแนวทางในการใช้บริหารงบประมาณให้เกิด ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัด/กลุ่ม จังหวัดตอ่ ไป  การบริหารงบประมาณทด่ี ี (Best Practice) เพ่ือเพิ่ม 19 ประสิทธิภาพการใช้จา่ ยงบประมาณของจังหวดั และกลุ่มจังหวัด

กลุม่ งานส่งเสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สานกั พั ฒนาและสง่ เสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook