Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ.2566

คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ.2566

Description: สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการบริหารจัดการสินทรัพย์ที่อยู่ในความควบคุมของหน่วยงานรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดและกลุ่มจังหวัดซึ่งมีสินทรัพย์ที่อยู่ในความควบคุมเป็นจำนวนมาก จึงได้จัดทำ “คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด” ขึ้น โดยจัดพิมพ์และเผยแพร่
เป็นครั้งแรกเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แต่ในปัจจุบัน มีระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสินทรัพย์บางฉบับได้มีการแก้ไข ปรับปรุง และเพิ่มเติม ซึ่งส่งผลให้ขั้นตอน วิธีการ และแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการสินทรัพย์เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น เพื่อเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้แก่เจ้าหน้าที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ทั้งในสังกัดราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และราชการบริหารส่วนท้องถิ่นให้สามารถปฏิบัติงานในเรื่องการบริหารจัดการสินทรัพย์ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จึงได้ดำเนินการปรับปรุงเนื้อหาและสาระสำคัญของคู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกล่มุ จงั หวัด 46 ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 7.2 หนวยงานรับโอนตรวจสอบความถูกตองของการบันทึกการรับ โอนสินทรัพยจากรายงานสินทรัพยรายตัว (สท12) และรายงานแสดงบรรทัด รายการบัญชีแยกประเภททั่วไป บัญชีรายไดจากการรับโอนสินทรัพยระหวาง หนวยงาน (4309010101) ทง้ั นี้ กรณจี งั หวดั และหนว ยงานรบั โอนตรวจสอบแลว พบวา มขี อ มลู คลาดเคลื่อนหรือไมถูกตองใหจังหวัด (กรณีหนวยงานรับโอนใหแจงจังหวัด เปน ผจู ดั ทำหนงั สอื ) จดั ทำหนงั สอื แจง ไปยงั กรมบญั ชกี ลาง เพอื่ แกไ ขขอ มลู ใหถ กู ตอ ง และในกรณที ด่ี ำเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ งของการบนั ทกึ โอนสนิ ทรพั ยห รอื การรับโอนสินทรัพยแลวใหจ งั หวดั และหนว ยงานรบั โอนบนั ทกึ การปรบั ปรงุ บญั ชี พกั หกั ลา งการโอนสนิ ทรพั ย ในระบบ New GFMIS Thai เพอ่ื รบั รกู ารโอนสนิ ทรพั ย ตอไป (จังหวัดและหนวยงานรับโอนอาจดำเนินการปรับปรุงบัญชีพักหักลาง การโอนสินทรพั ยป ละครงั้ หรือรายไตรมาสตามความเหมาะสม) ผรู บั ผดิ ชอบ: กรมบญั ชกี ลาง งานการเงนิ และบญั ชี กลมุ งานอาํ นวยการ สํานกั งาน จังหวัด และหนวยงานรับโอน หมายเหตุ: แบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ คือ แบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยของ จังหวัดและกลมุ จังหวัดใหส ว นราชการ ของกรมบัญชกี ลาง 4.1.2 การโอนสินิ ทรพั ยข์ องจงั หวดั ้ กรณ์คี รภุ ณั ์ฑ์ ใหห้ นว� ยงาน รบั ัโอนท�ไี ม�ใชี้ระบับั New GFMIS Thai STEP 1 : จังหวัดบันทึกบัญชีสนิ ทรัพยใ นระบบ New GFMIS Thai กอ นการโอนสินทรัพย ใหห นว ยงานรบั โอน 1.1 จังหวัดไดรับงบประมาณในระบบ New GFMIS Thai และ เบกิ จา ยงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของจงั หวดั โดยสนิ ทรพั ยท เ่ี กดิ ขนึ้ นน้ั ตามกฎหมายถือวาจังหวัดเปนเจาของสินทรัพยซ่ึงในการเบิกจายงบประมาณ แตละรอบของแผนงาน/โครงการ เจาหนาท่ีการเงินและบัญชีตองบันทึกขอมูล การเบิกจา ยในระบบ New GFMIS Thai และรับรูร ายการเปนบัญชพี กั สนิ ทรพั ย (ระบุประเภท) หรือบัญชีพักงานระหวางกอสรางหรือบัญชีท่ีดินราชพัสดุรอโอน

คู่มอื การโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกล่มุ จงั หวัด 47 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ทุกครั้งที่มีการเบิกจายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการ เพ่ือปองกัน การคลาดเคล่ือนของจำนวนวงเงินและครภุ ัณฑทไ่ี ดมา 1.2 จังหวัดแจงใหหนวยดำเนินโครงการท่ีไดรับงบประมาณจาก จังหวัดสำรวจรายการสินทรัพยท่ีไดมาจากการใชจายเงินงบประมาณของ จังหวัดและรายงานกลับมายังจังหวัด ท้ังน้ี ใหเจาหนาท่ีพัสดุรวมกับเจาหนาที่ การเงินและบัญชีตรวจสอบความถูกตองของรายการสินทรัพยที่ไดรับจาก หนว ยดำเนินโครงการอกี คร้งั 1.3 เจาหนาที่การเงินและบัญชีของสำนักงานจังหวัดรวบรวม เอกสารจากหนวยดำเนินโครงการและดำเนินการบันทึกรับรูสินทรัพยของ จังหวัด โดยสรางขอมูลหลักสินทรัพยพรอมทั้งลางบัญชีพักสินทรัพย เพื่อรับรู เปน สินทรพั ยในระบบ New GFMIS Thai จากนัน้ ใหประมวลผลคาเสอ่ื มราคา หลงั จากรบั รสู นิ ทรพั ยแ ลว หากจงั หวดั ยงั ไมม กี ารบนั ทกึ รบั รเู ปน สนิ ทรพั ยร ายตวั จะสงผลใหมีบัญชีพักสินทรัพยคงคางอยูในระบบ New GFMIS Thai ดังน้ัน จงั หวดั จงึ ตอ งลา งบญั ชพี กั สนิ ทรพั ยเ พอื่ ดำเนนิ การบนั ทกึ รบั รเู ปน สนิ ทรพั ยร ายตวั ใหแ ลว เสรจ็ (หนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ที่ กค 0423.3/ว 198 ลงวนั ท่ี 11 มถิ นุ ายน 2553) หลกั การและนโยบายในการบนั ทึกสินทรพั ย (1) การบันทึกสินทรัพยยอย หมายถึง การบันทึกสินทรัพยที่ตอง ใชรวมกับสินทรัพยหลัก หากแยกออกจากกันจะไมสามารถใชงานได หรือ วิธีการไดม าของสนิ ทรพั ยตามท่รี ะเบยี บกฎหมายวาดวยการพัสดกุ ำหนด อกี ท้ัง ยงั เปน วิธีการลา งบญั ชพี กั สนิ ทรพั ยท่ีไดมาในปก อ น ๆ ซงึ่ จะตอ งสรางสินทรพั ย ยอ ยสำหรับการคำนวณคา เสื่อมของปท ่ผี า นมา ตัวอยาง: อุปกรณตอพวงคอมพิวเตอรมูลคาไมถึง 10,000 บาท หากบันทึกอุปกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอรเปนการบันทึกรับรูสินทรัพยเปน รายการเดียวและใชหลักเกณฑการรับรูสินทรัพยเปนมูลคารวม สามารถบันทึก สนิ ทรัพยหลักเปน คอมพวิ เตอร 1 ชุด และสนิ ทรัพยย อยเปน อปุ กรณต อพว งของ คอมพิวเตอร

คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวดั และกลมุ่ จงั หวัด 48 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 (2) การรับรูสินทรัพยท่ีมีมูลคาข้ันต่ำตั้งแต 10,000 บาท ข้ึนไป ใหถ อื ปฏบิ ัติสำหรบั สนิ ทรัพยท ไี่ ดม าต้งั แตป ง บประมาณ พ.ศ. 2563 เปน ตน ไป กรณที ส่ี นิ ทรพั ยม มี ลู คา ตำ่ กวา 10,000 บาท และมอี ายกุ ารใชง านของสนิ ทรพั ยน นั้ เกินกวา 1 ป ใหร บั รเู ปน คาใชจ า ยในช่ือบัญชี “คา ครภุ ณั ฑม ลู คา ต่ำกวา เกณฑ” และจดั ทำทะเบยี นคมุ สนิ ทรพั ยไวเพอ่ื ใชในการตรวจสอบ8 (3) สิง่ มชี วี ิต เชน โค กระบือ ไก ท่ีไดมาจากการทำโครงการตา ง ๆ ใหบ นั ทกึ รบั รสู นิ ทรพั ย ในระบบ New GFMIS Thai เปน “คา ใชจ า ยอนื่ ” เนอ่ื งจาก กรมบัญชีกลางยังไมมีการกำหนดสินทรัพยที่มีชีวิตไวในมาตรฐานบัญชีภาครัฐ แตท ง้ั น้ี การโอนสนิ ทรพั ยท ม่ี ชี วี ติ ใหท ำหลกั ฐานการโอนสนิ ทรพั ยต ามแบบฟอรม ของกรมบัญชีกลางและจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย โดยบันทึกสินทรัพย เปนสิ่งมีชีวิต จำนวนสัตว มูลคาของสัตว และมูลคารวมเพ่ือเก็บเปนหลักฐาน การโอนสนิ ทรัพยระหวางหนวยงาน (4) กรณีจัดซ้ือครุภัณฑประเภทเดียวกันและจำนวนมาก ในคราวเดียวกัน ใหสรางรหัสสินทรัพยเทากับจำนวนของสินทรัพยที่จัดซื้อ (1 รหัสสินทรัพย เทากับ สินทรัพย 1 หนวย) เชน จัดซื้อเรือ 10 ลำ สรางรหสั สินทรัพย 10 รหสั ตามจำนวนของสินทรัพยท ่ีไดม า เปน ตน (5) การคิดคาเสื่อมราคาสำหรับสวนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอปุ กรณแตล ะสว น แยกออกตา งหากจากกัน (6) การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั ทรี่ าชพสั ดปุ ระเภททด่ี นิ ใหบ นั ทกึ ทดี่ นิ ท่ีราชพัสดุเปนคาใชจายจากการโอนรายการระหวางกันใหกรมธนารักษ และบนั ทึกบญั ชที ร่ี าชพสั ดุกรณีอาคารและสง่ิ ปลูกสรางเปน สนิ ทรัพยค รภุ ัณฑ ผูรับผิดชอบ: งานพัสดุ งานการเงินและบัญชี กลุมงานอํานวยการ และ กลุมงานยทุ ธศาสตรและขอ มูลเพอื่ การพฒั นาจงั หวดั สาํ นกั งานจงั หวดั 8 ตวั อยา งทะเบยี นคุมสินทรัพยสามารถอา นเพมิ่ เติมไดใ นบทที่ 2

ค่มู ือการโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จงั หวัด 49 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 2 : จังหวัดแจง รายละเอยี ดสินทรัพยใหห นวยงานรับโอน 2.1 จังหวัดรวบรวมบัญชีรายการสินทรัพยและเลขที่สินทรัพย ทบี่ ันทึกรับรใู นระบบ New GFMIS Thai 2.2 จังหวัดดำเนินการจัดทำขอมูลสินทรัพยในแบบฟอรม รายละเอยี ดการโอนสินทรัพยฯ ในสวนของผโู อน จำนวน 3 ฉบบั ผูร ับผดิ ชอบ: งานการเงินและบญั ชี กลุมงานอาํ นวยการ สํานกั งานจงั หวัด STEP 3 : จงั หวดั นาํ เรอ่ื งการโอนสนิ ทรพั ยใ หห นว ยงานรบั โอนเสนอ ท่ีประชมุ คณะกรรมการบริหารงานจงั หวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) จงั หวดั จดั ทำรายการสนิ ทรพั ยท จี่ ะทำการโอนใหก บั หนว ยงานรบั โอน พรอ มทง้ั ขอ มลู รายละเอยี ดทเี่ กย่ี วขอ งเสนอตอ ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงาน จังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพ่ือใหความเห็นชอบการโอนสินทรัพยใหแก หนวยงานรบั โอน ผูรับผิดชอบ: กลุมงานยุทธศาสตรและขอมูลเพ่ือการพัฒนาจังหวัด สํานักงาน จังหวดั STEP 4 : จังหวัดจัดสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ไปยงั หนว ยงานรบั โอน 4.1 จังหวัดเสนอผูวาราชการจังหวัดลงนามในแบบฟอรม รายละเอยี ดการโอนสนิ ทรัพยฯ ในสวนของผโู อน จำนวน 3 ฉบับ 4.2 จังหวัดจัดสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ จำนวน 3 ฉบับ ไปยังหนวยงานรับโอน เพื่อใหหนวยงานรับโอนดำเนินการ สรา งรหัสตามแนวทางการปฏบิ ตั ทิ างระบบบญั ชขี องหนวยงานรบั โอน โดยระบุ รายละเอียดสินทรัพยใหตรงกับสินทรัพยท่ีบันทึกในระบบ New GFMIS Thai ของจังหวัด พรอมทั้งใหหัวหนาสวนราชการของหนวยงานรับโอนลงนาม ในแบบฟอรมรายละเอยี ดการโอนสนิ ทรัพยฯ จำนวน 3 ฉบับ ดงั กลาว ผรู บั ผิดชอบ: งานการเงินและบัญชี กลมุ งานอํานวยการ สาํ นกั งานจงั หวดั

คู่มอื การโอนสินทรพั ย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 50 ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 5 : หนวยงานรับโอนแจงจังหวัดรับทราบรหัสสินทรัพย ของหนวยงาน 5.1 หนวยงานรับโอนสรางขอมูลหลักสินทรัพยตามระบบบัญชี ของหนวยงาน 5.2 หนวยงานรับโอนสงรายละเอียดสินทรัพยตามแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ท่ีหัวหนาสวนราชการของหนวยงานรับโอน ไดลงนามแลว ในสว นของผรู ับโอนสง กลบั จงั หวดั จำนวน 3 ฉบบั พรอ มทง้ั จัดทำ ทะเบยี นคมุ สนิ ทรัพยเพื่อเก็บเปน หลักฐานการรบั โอนสินทรพั ยดังกลาว ผูร บั ผดิ ชอบ: หนว ยงานรบั โอน STEP 6 : จงั หวดั ตดั จาํ หนา ยสนิ ทรพั ยอ อกจากระบบ New GFMIS Thai 6.1 จังหวัดบันทึกการตัดจำหนายสินทรัพยรายตัวในระบบ New GFMIS Thai ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซ้ือจัดจาง และการบรหิ ารภาครฐั พ.ศ. 2560 ขอ 215 6.2 จังหวัดจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย เพื่อเก็บเปนหลักฐาน การโอนสนิ ทรัพยท ่ีไดโอนใหกับหนวยงานรับโอน ผรู ับผิดชอบ: งานการเงนิ และบัญชี และงานพัสดุ กลมุ งานอํานวยการ สํานักงาน จงั หวดั หมายเหต:ุ 1. กรณีการมอบหมายผูรับผิดชอบในสํานักงานจังหวัด เปนการกาํ หนดตามภารกิจและหนาท่ีความรับผิดชอบ ท้ังนี้ หัวหนา หนว ยงานอาจมอบหมายผรู ับผิดชอบไดต ามดุลยพินิจ 2. หัวหนาหนวยงานรัฐ ราชการสวนกลาง หมายถึง อธิบดี หรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนนิติบุคคล ราชการสวนทองถิ่น หมายถึง นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกองคก ารบริหารสว นตาํ บล

คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั 51 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 4.2 ก�รนำำ�ส่งข้ึนำทะเบียนำ และก�รขอใช้–ส่งคำืนำท่ีร�ชพั สดุ กรณอี �คำ�รและสิ่งปลูกสร้�งของจังหวดั พระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2562 ไดมีการปรับปรุงระเบียบ หลักเกณฑ และแนวทางปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดความคลองตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงกำหนดบทบัญญัติตาง ๆ ใหมีความเหมาะสม กบั สภาวการณในปจจุบนั ดงั นนั้ กรมธนารักษจ ึงไดม ีการปรับปรงุ กฎกระทรวง เพ่ือใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติดังกลาว โดยไดยกเลิกกฎกระทรวง วาดวยหลักเกณฑและวิธีการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช และจัดหา ประโยชนเก่ียวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และใชกฎกระทรวงการใชที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2563 แทน ประกอบกบั พระราชบญั ญตั ทิ รี่ าชพสั ดุ พ.ศ. 2562 ไดก ำหนดนยิ าม “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานธรุ การขององคก รอสิ ระ ตามรัฐธรรมนูญหรือศาลหรือองคกรอัยการ หรือรัฐสภา ที่สามารถเปนผูใช ที่ราชพัสดุโดยไมไดครอบคลุมถึงจังหวัดและกลุมจังหวัดใหเปนสวนราชการ ตามคำนิยาม แตพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ไดนิยามใหสวนราชการ หมายความรวมถึงจังหวัดและกลุมจังหวัด ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน ดังน้ัน กรมธนารักษจึงได กำหนดแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการนำสงขึ้นทะเบียนและการขอใช-สงคืน ที่ราชพัสดุ กรณีอาคารและส่ิงปลูกสรางของจังหวัด ตามหนังสือกรมธนารักษ ดว นทส่ี ดุ ที่กค0302/11241ลงวนั ที่19กรกฎาคม2564โดยใหจ งั หวดั สามารถเปน ผนู าํ สง ขน้ึ ทะเบยี น กรณอี าคารและสง่ิ ปลกู สรา ง เพอื่ ใหส อดคลอ งกบั ขอ เทจ็ จรงิ ในการไดส นิ ทรพั ยม าจากการเปน เจา ของงบประมาณทใี่ ชใ นการสรา งอาคารและ ส่ิงปลูกสรางน้ัน ทั้งนี้ อาคาร สิ่งปลูกสราง และอุปกรณตาง ๆ ในอาคาร หรือส่ิงปลูกสรางอันเปนสินทรัพยที่เกิดจากงบประมาณของจังหวัดจะตอง ทำการบันทึกรับรูสินทรัพยและการโอนสินทรัพยใหกับหนวยงานรับโอน ในระบบ New GFMIS Thai ควบคกู ันไปดว ย โดยมขี น้ั ตอนการดำเนินการ ดงั นี้

คมู่ อื การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจงั หวดั 52 ฉบบั ปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 4.2.1 ขน�ั ตอนการนาำ สิง� ขนึ� ทะเบัยี น กรณ์อี าคารแลัะสิงิ� ปลัก่ สิรา้ ง ของจงั หวัด้ การนำสงข้ึนทะเบียน กรณีอาคารและสิ่งปลูกสรางของจังหวัด มีขนั้ ตอนการดำเนนิ การ ดังนี้ STEP 1 : จงั หวดั มอบอาํ นาจการขนึ้ ทะเบยี นทรี่ าชพสั ดใุ หห นว ยงาน (หนว ยดําเนินโครงการ) กรณีมีการสรางอาคารหรือสิ่งปลูกสรางตาง ๆ ท่ีเกิดจาก งบประมาณรายจายของจังหวัดจะตองมีการนำสงข้ึนทะเบียนเปนที่ราชพัสดุ โดยจะตอ งสำรวจและสง รายงานสงิ่ ปลกู สรา งนน้ั ตามแบบทก่ี รมธนารกั ษก ำหนด (แบบ ทบ.03 ทร.04 และ ทร.05) ใหก รมธนารกั ษโ ดยเรว็ เพอ่ื ขนึ้ ทะเบยี นทร่ี าชพสั ดุ ผวู า ราชการจงั หวดั มอบอำนาจใหห นว ยงาน (หนว ยดำเนนิ โครงการ) ทเ่ี ปน ผรู บั ผดิ ชอบโครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปข องจงั หวดั เพอื่ นำสง อาคารหรือส่ิงปลูกสรางข้ึนทะเบียนกับสำนักงานธนารักษพื้นท่ีเพ่ือทำการ ขึ้นทะเบียนทีร่ าชพสั ดุ ผูรับผิดชอบ: กลุมงานยุทธศาสตรและขอมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สาํ นักงาน จงั หวัด

คู่มือการโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลุ่มจังหวัด 53 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 STEP 2 : หนวยงาน (หนวยดาํ เนินโครงการ) นาํ สงข้ึนทะเบียน ทร่ี าชพสั ดุกับสํานักงานธนารักษพืน้ ที่ หนวยงาน (หนวยดำเนินโครงการ) นำสงรายการอาคารและ สิ่งปลูกสรางตาง ๆ เพ่ือข้ึนทะเบียนเปนท่ีราชพัสดุกับสำนักงานธนารักษพื้นที่ พรอมเอกสารหลักฐาน ดงั น้ี 2.1 แบบฟอรมการขึ้นทะเบยี นท่รี าชพสั ดุ (1) การข้ึนทะเบียนท่ีดิน ใชแบบฟอรม ทร.03 (แบบสำรวจ รายการท่ีดนิ ) (2) การข้ึนทะเบียนอาคารและสิ่งปลูกสราง ใชแบบฟอรม ทร.04 (แบบสำรวจรายการอาคาร/สิ่งปลกู สรางข้ึนทะเบียนที่ราชพสั ดุ) (3) การข้ึนทะเบียนอาคารและสิ่งปลูกสรางที่ปลูกอยูบนที่ดิน ท่ีไมใชท่ีราชพัสดุ ใหใชแบบฟอรม ทร.05 (แบบสำรวจรายการอาคาร/ ส่งิ ปลกู สรางของรฐั ท่ีปลกู อยบู นท่ดี ินทม่ี ใิ ชทรี่ าชพสั ดุ) 2.2 หากมีอาคารหรือสิ่งปลูกสรางท่ีเปนท่ีราชพัสดุท่ียังไมได ขึ้นทะเบียนหนวยดำเนินโครงการตองสำรวจรายการสิ่งปลูกสรางที่เกิดขึ้น จากแผนงาน/โครงการของจังหวัด (อาคาร/สิ่งปลูกสรางใหม และอาคาร/ สง่ิ ปลกู สรา งทมี่ อี ยเู ดมิ ) แลว นำสง ขนึ้ ทะเบยี นทรี่ าชพสั ดดุ ว ย เอกสารประกอบการนำสงขน้ึ ทะเบยี น (1) แบบฟอรม การนำสง ขึ้นทะเบยี นในแตละกรณีตามขอ 2.1 (2) เอกสารหลักฐานการไดมา หรือหนังสือสำคัญแสดง กรรมสิทธ์ิ หรอื เอกสารหลกั ฐานแสดงการไดรับงบประมาณหรือบริจาค (3) แผนทีส่ งั เขปท่ตี ัง้ ทด่ี นิ และหรืออาคาร/สงิ่ ปลกู สราง (4) หลักฐานการอนุญาตใหใช/ใหเชาท่ีดิน (กรณีเปนอาคาร/ ส่งิ ปลกู สรางของรฐั ทป่ี ลกู อยบู นท่ดี นิ ท่ีมิใชท่รี าชพัสด)ุ (ถา มี) ผรู บั ผิดชอบ: หนว ยดําเนนิ โครงการ

คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั 54 ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 กรณีจังหวัดเปนผูนำสงขึ้นทะเบียนเอง ใหจังหวัดมีหนังสือ แจงหนวยงานที่จังหวัดประสงคจะมอบทรัพยสินนั้น ๆ ใหเปนผูย่ืนหนังสือ แสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุตอสำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี หากไมมี หนว ยงานใดประสงคจ ะขอใชประโยชน ใหจงั หวัดดแู ลบำรงุ รกั ษาไวจนกวา จะมสี วนราชการย่นื หนังสอื แสดงความประสงคขอใชทร่ี าชพสั ดุนนั้ กรณีที่มีการใช ร้ือถอน หรือดัดแปลงท่ีราชพัสดุ หรือกระทำ การใด ๆ อนั มผี ลกระทบตอ สาระสำคญั หรอื สถานะของทร่ี าชพสั ดโุ ดยยงั เปน การดำเนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคเ ดมิ ใหผ ใู ชท ร่ี าชพสั ดุ แจง กรมธนารกั ษท ราบ เพอื่ แกไขรายการทะเบียนที่ราชพสั ดุใหถ ูกตอ ง กรณีการกอสรางอาคารหรือสิ่งปลูกสรางจากเงินงบประมาณ รายจายของจังหวัดบนท่ีดินอ่ืน เชน ที่ดินของสหกรณ รัฐวิสาหกิจ องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ หรอื ทธี่ รณสี งฆ กอ นดำเนนิ การใด ๆ ในทด่ี นิ นน้ั ใหจงั หวดั (หนว ยดำเนินโครงการ) ขออนญุ าตใชพ้นื ท่ตี ามระเบยี บกฎหมาย ของหนวยงานเจาของท่ีดินน้ันพรอมท้ังจดทะเบียนสิทธิเหนือพื้นดิน ใหแลว เสรจ็ กอนนำสินทรพั ยสงข้นึ ทะเบียนทร่ี าชพัสดุ STEP 3 : สํานักงานธนารักษพ ืน้ ท่ดี ําเนินการขึ้นทะเบียน สำนักงานธนารักษพ้ืนท่ีจัดทำทะเบียนที่ราชพัสดุตามที่หนวยงาน (หนว ยดำเนนิ โครงการ) นำสง ขึน้ ทะเบยี น ผรู ับผิดชอบ: สาํ นักงานธนารกั ษพืน้ ที่ 4.2.2การขอใชี-้ สิง� คน่ แลัะเปลัยี� นแปลังผใ้่ ชีป้ ระโยชีนท์ รี� าชีพัสิดุ้ กรณ์อี าคารแลัะสิง�ิ ปลัก่ สิร้างของจังหวัด้ กฎกระทรวงการใชทรี่ าชพสั ดุ พ.ศ. 2563 ขอ 2 ไดกำหนดนยิ าม ผูขอใชท ี่ราชพัสดุ หมายถงึ สวนราชการหรอื องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ทีข่ อใช ที่ราชพัสดุ และผูใชที่ราชพัสดุ หมายถึง สวนราชการหรือองคกรปกครอง สวนทองถิ่นท่ีเปนผูใช ปกครอง ดูแล และบำรุงรักษาท่ีราชพัสดุ ประกอบกับ

คู่มอื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุ่มจงั หวดั 55 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2562 มาตรา 4 วรรคหนึ่ง ไดกำหนดนิยาม สว นราชการ หมายความวา สว นราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม และหนว ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบงานธรุ การขององคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู หรอื องคก รอยั การ หรอื รฐั สภา โดยไมร วมถงึ จงั หวดั ใหเ ปน สว นราชการในการขอใช ตามมาตรา 19 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2562 ดังนั้น กรมธนารักษ จงึ ไดกำหนดแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้ 1. กรณีไมม หี นวยงานประสงคข อใชป ระโยชนท ี่ราชพัสดุ ใหจ งั หวดั นำสงขึ้นทะเบียนและสามารถใชที่ราชพัสดุดังกลาว รวมท้ังตองดูแลและบำรุง รักษาท่ีราชพัสดุไวจนกวาจะมีหนวยงานแสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุ เพ่ือใหมีผูดูแลและบำรุงรักษาท่ีราชพัสดุท่ีไดมาจากงบประมาณของจังหวัด ไมใหเสียหายและอยูในสภาพท่ีเหมาะสมตอการใชประโยชนในราชการ และ เมือ่ มหี นว ยงานแสดงความประสงคขอใชท่ีราชพสั ดุดงั กลา วแลว จงั หวดั จะตอ ง นำสง คนื ทร่ี าชพสั ดกุ อ นและใหห นว ยงานทปี่ ระสงคจ ะขอใชท รี่ าชพสั ดดุ ำเนนิ การ เปลย่ี นแปลงผูใชประโยชนท รี่ าชพสั ดุตอไป 2. กรณีมีหนวยงานประสงคขอใชประโยชนที่ราชพัสดุ ใหจังหวัด แจง หนว ยงานทจี่ งั หวดั ประสงคจ ะมอบสนิ ทรพั ยน น้ั ๆ เปน ผนู ำสง ขนึ้ ทะเบยี นและ แสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุตอกรมธนารักษ (สำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี) ซ่ึงขั้นตอนการดำเนินการขอใช-สงคืนท่ีราชพัสดุ และการเปลี่ยนแปลงผูใช ประโยชน มีขัน้ ตอน ดงั นี้ หมายเหตุ: 1. กรณีไมมีหนวยงานประสงคขอใชประโยชนที่ราชพัสดุ เมื่อจังหวัดนำสงขึ้นทะเบียนแลว หากมหี นวยงานที่ประสงคจ ะขอใชป ระโยชนท ่ีราชพสั ดุ (สนิ ทรัพยป ระเภทท่ีดิน อาคาร และสง่ิ ปลูกสราง) จะตอ งนำเรอื่ งเสนอตอ คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) พจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบ การเปล่ียนแปลงผูใชประโยชนที่ราชพัสดุ และเม่ือจังหวัดนำสงคืนที่ราชพัสดุแลว ใหหนวยงานที่ประสงค ขอใชป ระโยชนทีร่ าชพสั ดดุ ำเนินการขอใชท รี่ าชพัสดุตามขัน้ ตอนตอ ไป 2. กรณีมีหนวยงานประสงคขอใชประโยชนที่ราชพัสดุ (สินทรัพยประเภทที่ดิน อาคาร และ สิ่งปลูกสราง) ใหนำเรื่องเสนอตอคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) พิจารณา ใหความเห็นชอบการใชประโยชนท่ีราชพัสดุกอน แลวใหจังหวัดแจงหนวยงานท่ีประสงคจะขอใช ท่ีราชพัสดุ เปนผูนำสงขึ้นทะเบียนและแสดงความประสงคขอใชที่ราชพัสดุตอกรมธนารักษ (สำนกั งานธนารักษพ ้ืนที่)

ค่มู ือการโอนสินทรัพย์ของจังหวดั และกลมุ่ จังหวัด 56 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 ข้ันตอนท่ี 1 หนวยงานขอใชและสงคืนที่ราชพัสดุและเปล่ียนแปลงผูใช ประโยชน - การขอใชท รี่ าชพัสด*ุ หนวยงาน (หนวยงานรับโอน) ขอใชที่ราชพัสดุยื่นหนังสือแสดง ความประสงคขอใชที่ราชพัสดุกับสำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี โดยแจงวัตถุประสงค ในการขอใชท่ีราชพัสดุพรอมดวยเอกสารหรือหลักฐานที่เก่ียวของอยางนอย ตองประกอบดว ยขอ มลู ดังนี้ (1) รายละเอยี ดเก่ยี วกบั โครงการทจี่ ะขอใชท ร่ี าชพสั ดุ (2) คำขอต้ังงบประมาณหรือเอกสารการไดรับอนุมัติงบประมาณ โครงการท่จี ะขอใชท่ีราชพสั ดุ (3) แผนท่ีแสดงรายละเอียด ท่ีต้ัง และพิกัดของท่ีราชพัสดุ โดยแสดงสถานทส่ี ำคญั ทตี่ ง้ั ใกลเ คยี งกบั ทรี่ าชพสั ดใุ นระยะ 10 กโิ ลเมตร จากทตี่ ง้ั ของทีร่ าชพัสดแุ ละการใชป ระโยชนใ นที่ดนิ ที่เปนท่ีราชพัสดใุ นปจจบุ นั ทัง้ แปลง

ค่มู อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จังหวัด 57 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 (4) แผนผังแสดงการใชประโยชนในที่ดินเฉพาะบริเวณที่ขอใช ที่ราชพัสดุ โดยแสดงรายละเอียดเก่ียวกับอาคารและสิ่งปลูกสรางมีมาตราสวน ท่ีถูกตองตามหลักวิชาการและรับรองโดยสถาปนิก วิศวกร นายชางโยธา หรอื นายชางสำรวจ (5) เอกสารหรอื หลักฐานอืน่ ตามทอ่ี ธบิ ดีกำหนด ในกรณีที่ราชพัสดุอยูในพื้นท่ีเดียวกันกับพ้ืนท่ีท่ีสวนราชการ หรอื หนว ยงานของรฐั แหง อน่ื ดแู ลรบั ผดิ ชอบใหผ ขู อใชท ร่ี าชพสั ดยุ น่ื หนงั สอื แสดง ความเห็นของสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐดังกลาวเพ่ือประกอบการ พจิ ารณาดวย - การสง คืนและเปลีย่ นแปลงผูข อใชป ระโยชนใ นทรี่ าชพสั ดุ หนวยงานสงคนื ทร่ี าชพัสดใุ หก บั สำนักงานธนารักษพน้ื ท่ี โดยชีแ้ จง เหตุผลและความจำเปนในการโอนสิทธิการใชประโยชนในที่ราชพัสดุใหกับ หนวยงานใดและแสดงความประสงคใหหนวยงานใดเปนผูเขาใชประโยชน ท้ังนี้เอกสารการขอสงคืนทร่ี าชพัสดุ ประกอบดว ย (1) การแจงขอสง คนื ใหใ ชแ บบสง คืนทีร่ าชพสั ดุ (แบบ ทบ.6) (2) แผนท่ีแสดงบริเวณท่ีราชพัสดุที่ขอสงคืนใหครบถวน และแจง สง คนื ใหกบั สำนักงานธนารกั ษพ ้นื ท่ี หมายเหตุ: หากที่ราชพัสดุท่ีจะสงคืนมีการบุกรุกหรือมีผูละเมิดที่ราชพัสดุ หนวยงานจะตองดำเนินการ กบั ผบู ุกรกุ หรือผลู ะเมิดกอ นสงคืนทร่ี าชพัสดุ * สิามารถึอ�านรายลัะเอียด้การขอใชี้พ่�นทร�ี าชีพัสิดุ้ เพิ�มเติมท�คี ม�่ ่อการอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชีพ้ �่นท�ีจาก สิว� นราชีการฉบับั ัปรับัปรงุ ปี พ.ศ. 2565 สิำานักงาน ปลัดั ้กระทรวงมหาด้ไทย

คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวดั และกล่มุ จงั หวัด 58 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ขนั้ ตอนที่ 2 สาํ นกั งานธนารักษรับคืนทร่ี าชพสั ดุ สำนักงานธนารักษพ้ืนที่จะรับคืนท่ีราชพัสดุโดยจะพิจารณาจาก เหตผุ ลความจำเปน ความเหมาะสม และแจง ใหห นว ยงานทเี่ ปน ผใู ชท รี่ าชพสั ดนุ น้ั แตงตั้งผูแทนเพื่อดำเนินการสงมอบที่ราชพัสดุรวมท้ังประสาน นัดหมาย วันเวลาในการสงมอบ-รับมอบท่ีราชพัสดุ โดยการสงคืนท่ีราชพัสดุจะถือวา เสร็จส้ินสมบูรณตอเมื่อกรมธนารักษหรือผูแทนของกรมธนารักษไดรับมอบ ที่ราชพสั ดุ ตามแบบสงมอบ-รับมอบทรี่ าชพัสดุ (แบบ ทบ.10) แลว ขั้นตอนท่ี 3 หนว ยงานอ่นื ขอใชทีร่ าชพัสดุกับสาํ นักงานธนารักษพนื้ ท่ี หนวยงานท่ีจะขอใชท่ีราชพัสดุย่ืนความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุ ตอสำนักงานธนารักษพ้ืนที่ ซ่ึงท่ีราชพัสดุน้ันต้ังอยูพรอมท้ังแจงเหตุผลและ ความจำเปนในการขอใชท่ีราชพัสดุน้ันและเอกสารหรือหลักฐานที่เก่ียวของ ซงึ่ อยา งนอยตองประกอบดว ยขอมลู ดังนี้ (1) รายละเอยี ดเก่ียวกบั โครงการทีจ่ ะขอใชท ร่ี าชพสั ดุ (2) คำขอต้ังงบประมาณหรือเอกสารไดรับการอนุมัติงบประมาณ โครงการทจ่ี ะขอใชทีร่ าชพัสดุ (3) แผนท่ีแสดงรายละเอียดท่ีต้ังพิกัดของที่ราชพัสดุโดยแสดง สถานทส่ี ำคัญและการใชประโยชนใ นทด่ี นิ ที่เปน ทรี่ าชพัสดใุ นปจ จบุ ันทงั้ แปลง (4) แผนผังแสดงการใชประโยชนในที่ดินเฉพาะบริเวณที่ขอใช ท่รี าชพสั ดุ (5) เอกสารหรือหลกั ฐานอืน่ ตามท่อี ธิบดกี ำหนด ในกรณีท่ีราชพัสดุอยูในพื้นที่เดียวกันกับพ้ืนที่ท่ีสวนราชการ หรือหนวยงานของรัฐแหงอ่ืนดูแลรับผิดชอบ ใหหนวยงานท่ีจะขอใชท่ีราชพัสดุ ยื่นหนังสือแสดงความเห็นของสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐดังกลาว เพอื่ ประกอบการพิจารณาดว ย

คูม่ อื การโอนสินทรพั ย์ของจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั 59 ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ขนั้ ตอนที่ 4 สาํ นกั งานธนารกั ษพืน้ ทีอ่ นุญาตใหใชทีร่ าชพสั ดุแกห นวยงาน ส ำ นั ก ง า น ธ น า รั ก ษ พื้ น ท่ี ด ำ เ นิ น ก า ร อ นุ ญ า ต ใ ห ห น ว ย ง า น ใชท รี่ าชพสั ดเุ พอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกท างราชการ หากตอ งการเปลยี่ นแปลง การใชประโยชนเปนอยางอ่ืนจากท่ีไดรับอนุญาตจะตองทำหนังสือแจง ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนตอสำนักงานธนารักษพื้นท่ี ซึ่งจะตองลงนาม โดยหัวหนาสวนราชการระดับกระทรวง กรม องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรอื ผูท่ไี ดรับมอบอำนาจจากสวนราชการดงั กลา วดวย ในกรณีของอาคารและสิ่งปลูกสรางท่ีเปนท่ีราชพัสดุทรงคุณคา ทางประวัติศาสตร ศิลปกรรม หรือสถาปตยกรรมที่ควรคาแกการอนุรักษไว ใหถ อื ปฏบิ ตั ิ9 ดงั น้ี 1) เปน ทโี่ บราณสถาน หากประสงคจะรอื้ ถอนหรอื ดดั แปลงอาคาร และส่ิงปลูกสรางใหดำเนินการตามกฎหมายวาดวยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวตั ถุ และพพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ 2) ไมเปนโบราณสถาน หากจะร้ือถอนหรือดัดแปลงอาคารหรือ สงิ่ ปลกู สรา งตอ งไดร บั ความยนิ ยอมจากกรมธนารกั ษห รอื สำนกั งานธนารกั ษพ น้ื ท่ี แลวแตกรณี โดยในการขอความยินยอมใหผูใชท่ีราชพัสดุแตงตั้งคณะกรรมการ ไมน อ ยกวา 3 คน อยา งนอ ยตอ งประกอบดว ยผแู ทนจากกรมศลิ ปากรหรอื ผแู ทน จากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด จำนวน 1 คน เพอ่ื พจิ ารณาเหตุผลความจำเปน และเสนอตอ กรมธนารักษเ พือ่ ประกอบการพจิ ารณา 9 หนังสือกรมธนารักษ ดว นทส่ี ุด ท่ี กค 0312/ว 90 ลงวันที่ 23 กันยายน 2565 เร่ืองแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการ บำรุง ดูแล และรักษาอาคารหรือสิ่งปลูกสรางที่เปนท่ีราชพัสดุที่ทรงคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปกรรม หรอื สถาปต ยกรรมท่คี วรคา แกการอนรุ ักษไ ว

คู่มอื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด 60 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 ทงั้ น้ี กรณกี ารใหเ อกชนหรอื รฐั วสิ าหกจิ เขา ใชพ น้ื ทจี่ ะตอ งขออนญุ าต ตอ กรมธนารกั ษห รอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี และตอ งทำสญั ญาการจดั เชา กบั กรมธนารกั ษเ พอ่ื นำสง คา เชา สถานทดี่ งั กลา วเปน รายไดข องกรมธนารกั ษด ว ย

5 ข้นั ตอนการโอนสินทรัพยข์ องกลุ่มจังหวดั กรณคี รุภณั ฑแ์ ละขน้ั ตอนการนําส่งข้นึ ทะเบยี น การขอใช้-ส่งคนื ท่รี าชพัสดุ กรณีอาคารและส่ิงปลูกสร้างของกลมุ่ จังหวดั บทท่ี 5 เปนการแสดงข้ันตอนการโอนสินทรัพยของกลุมจังหวัด กรณคี รภุ ณั ฑท ม่ี คี ณุ ภาพดแี ละการนำสง ขนึ้ ทะเบยี น การขอใช- สง คนื ทร่ี าชพสั ดุ กรณีอาคารและสิ่งปลูกสรางของกลุมจังหวัด ซึ่งการโอนสินทรัพยจำแนก เปน 2 กรณี คอื 1) หนว ยงานรบั โอนทใ่ี ชร ะบบการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกสใหม (New GFMIS Thai) และ 2) หนวยงานรับโอน ที่ไมใชระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกสใหม (New GFMIS Thai) เพ่ือแสดงความแตกตางในข้ันตอนและกระบวนการ โอนสินทรัพยใหหนวยงานรับโอนทั้ง 2 กรณี ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วา ดว ยการจดั ซอื้ จดั จา งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 รวมทงั้ การแสดง ข้ันตอน การนำสงขึ้นทะเบียน การขอใช-สงคืนท่ีราชพัสดุกรณีอาคาร และส่งิ ปลกู สรางของกลมุ จังหวดั ตามกฎกระทรวงการใชท ี่ราชพสั ดุ พ.ศ. 2563 โดยมขี น้ั ตอนดำเนนิ การ ดังนี้ 5.1 ขั้นำตอนำก�รโอนำสินำทรพั ยข์ องกล่มุ จงั หวัด กรณีคำรุภัณฑ์ การบันทึกบัญชีการโอนสินทรัพยของกลุมจังหวัดในฐานะผูโอนใหกับ หนวยงานของรัฐน้ัน กรมบญั ชกี ลางไดก ำหนดแนวทางการบนั ทกึ บญั ชกี ารโอน สนิ ทรพั ยข องกลมุ จงั หวดั จำแนกเปน 3 ประเภท ไดแ ก 1) การโอนใหส ว นราชการ 2) การโอนใหอ งคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ 3) การโอนใหรฐั วสิ าหกิจ โดยคูมือฉบับน้ีจะสรุปขั้นตอนการโอนสินทรัพยของกลุมจังหวัด กรณคี รภุ ณั ฑท ม่ี คี ณุ ภาพดี เพอื่ ใชเ ปน แนวทางปฏบิ ตั ขิ องกลมุ จงั หวดั จำแนกเปน 2 กรณี ประกอบดวย

คู่มอื การโอนสินทรพั ย์ของจงั หวัดและกล่มุ จงั หวัด 62 ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 5.1.1 การโอนสิินทรัพย์ของกลัุ�มจังหวัด้ กรณ์ีครุภัณ์ฑ์ ให้หนว� ยงานรบั ัโอนทีใ� ชีร้ ะบับั New GFMIS Thai กรมบัญชีกลางไดกำหนดแนวปฏิบัติทางบัญชีเก่ียวกับเงินงบประมาณ รายจายของกลุมจังหวัดในระบบ New GFMIS Thai โดยกลุมจังหวัดเจาของ เงนิ งบประมาณมอบหมายใหจ งั หวดั ทด่ี ำเนนิ โครงการในฐานะทเี่ ปน สว นราชการ ตามกฎหมายวาดวยวิธีงบประมาณเปนผูเบิกเงินแทนในนามกลุมจังหวัด โดยจงั หวดั ผเู บกิ เงนิ แทนกลมุ จงั หวดั เสมอื นเปน เจา ของงบประมาณและสนิ ทรพั ย ทไ่ี ดจ ดั หาโดยใชเ งนิ งบประมาณรายจา ยประจำปข องกลมุ จงั หวดั และใหจ งั หวดั ซง่ึ เปน ผเู บกิ เงนิ แทนดำเนนิ การบนั ทกึ สนิ ทรพั ยข องกลมุ จงั หวดั และโอนสนิ ทรพั ย กลบั ไปยงั กลุมจังหวัดซ่งึ เปน เจา ของเงินงบประมาณ ตามหนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0423.3/ว 198 ลงวันท่ี 11 มิถุนายน 2553 เร่ือง คูมอื ปฏิบตั ิทางบัญชี เก่ยี วกับเงนิ งบประมาณรายจา ยของกลุม จังหวดั ในระบบ GFMIS โดยมขี น้ั ตอน และกระบวนการ ดงั นี้

คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลุม่ จังหวดั 63 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 STEP 1 : จงั หวดั ผเู บกิ แทนบนั ทกึ บญั ชสี นิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai กอ นการโอนสนิ ทรพั ยใ หก ลุม จังหวัด 1.1 จงั หวดั ผเู บกิ แทนไดร บั งบประมาณในระบบ New GFMIS Thai และเบกิ จา ยงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของกลมุ จงั หวดั ซง่ึ ในการเบกิ จา ย งบประมาณแตละรอบของแผนงาน/โครงการ เจาหนาท่ีการเงินและบัญชี ตอ งบันทึกขอมลู การเบกิ จายในระบบ New GFMIS Thai และรับรรู ายการเปน บญั ชพี กั สนิ ทรพั ย (ระบปุ ระเภท) หรอื บญั ชพี กั งานระหวา งกอ สรา ง หรอื บญั ชที ด่ี นิ ราชพัสดุรอโอน ทุกครั้งท่ีมีการเบิกจายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการ เพื่อปองกนั การคลาดเคลอื่ นของจำนวนวงเงินและครุภัณฑท ไี่ ดมา 1.2 จังหวัดผูเบิกแทนรวบรวมเอกสารจากหนวยดำเนินโครงการ และใหหนวยดำเนินโครงการแจงรายช่ือหนวยงานรับโอนใหจังหวัดผูเบิกแทน ทง้ั น้ี ใหเ จา หนา ทพี่ สั ดรุ ว มกบั เจา หนา ทก่ี ารเงนิ และบญั ชตี รวจสอบความถกู ตอ ง ของรายการสนิ ทรพั ยทีไ่ ดรับจากหนวยดำเนนิ โครงการอีกครงั้ 1.3 เจาหนาท่ีการเงินและบัญชีของสำนักงานจังหวัดผูเบิกแทน รวบรวมเอกสารจากหนวยดำเนินโครงการและดำเนินการบันทึกรับรูสินทรัพย ของกลุมจังหวัดโดยสรางขอมูลหลักสินทรัพยพรอมทั้งลางบัญชีพักสินทรัพย เพื่อรับรูเปนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai จากน้ันใหประมวลผล คา เสอื่ มราคาหลงั จากรบั รสู นิ ทรพั ยแ ลว หากจงั หวดั ผเู บกิ แทนยงั ไมม กี ารบนั ทกึ รบั รู เปน สนิ ทรพั ยร ายตวั จะสง ผลใหม บี ญั ชพี กั สนิ ทรพั ยค งคา งอยใู นระบบ New GFMIS Thai จังหวัดผูเบิกแทนตองลางบัญชีพักสินทรัพยเพื่อดำเนินการบันทึกรับรู เปน สินทรัพยรายตัวใหแลวเสรจ็ (หนงั สือกรมบญั ชีกลาง ที่ กค 0423.3/ว 198 ลงวนั ท่ี 11 มถิ นุ ายน 2553) หลักการและนโยบายในการบันทึกสนิ ทรพั ย (1) การบนั ทกึ สนิ ทรพั ยยอย หมายถึง การบนั ทึกสินทรพั ยท ต่ี อ งใช รว มกบั สนิ ทรพั ยห ลกั หากแยกออกจากกนั จะไมส ามารถใชง านไดห รอื วธิ กี ารไดม า ของสนิ ทรพั ยต ามทรี่ ะเบยี บกฎหมายวา ดว ยการพสั ดกุ ำหนด อกี ทง้ั ยงั เปน วธิ กี าร

ค่มู อื การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุม่ จงั หวดั 64 ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 ลางบัญชีพักสินทรัพยท่ีไดมาในปกอน ๆ ซึ่งจะตองสรางสินทรัพยยอยสำหรับ การคำนวณคา เสื่อมของปทผ่ี า นมา ตัวอยาง: อุปกรณตอพวงคอมพิวเตอรมูลคาไมถึง 10,000 บาท หากบันทึกอุปกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอรเปนการบันทึกรับรูสินทรัพย เปน รายการเดยี วและใชห ลกั เกณฑก ารรบั รสู นิ ทรพั ยเ ปน มลู คา รวม สามารถบนั ทกึ สินทรัพยหลักเปนคอมพิวเตอร 1 ชุด และสินทรัพยยอยเปนอุปกรณตอพวง ของคอมพิวเตอร (2) การรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำต้ังแต 10,000 บาท ขึ้นไป ใหถ อื ปฏบิ ตั ิสำหรับสนิ ทรพั ยทไ่ี ดมาตัง้ แตปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปน ตน ไป กรณีที่สินทรพั ยมีมูลคาต่ำกวา 10,000 บาท และมีอายุการใชง านของสินทรัพย นน้ั เกนิ กวา 1 ป ใหร บั รเู ปน คา ใชจ า ยในชอ่ื บญั ชี “คา ครภุ ณั ฑม ลู คา ตำ่ กวา เกณฑ” และจัดทำทะเบยี นคุมสนิ ทรัพยไ วเพอ่ื ใชใ นการตรวจสอบ10 (3) ส่ิงมชี ีวิต เชน โค กระบือ ไก ที่ไดม าจากการทำโครงการตา ง ๆ ใหบ นั ทกึ รบั รสู นิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai เปน “คา ใชจ า ยอนื่ ” เนอ่ื งจาก กรมบัญชีกลางยังไมมีการกำหนดสินทรัพยท่ีมีชีวิตไวในมาตรฐานบัญชีภาครัฐ แตท งั้ นี้ การโอนสนิ ทรพั ยท มี่ ชี วี ติ ใหท ำหลกั ฐานการโอนสนิ ทรพั ยต ามแบบฟอรม ของกรมบญั ชกี ลางและจดั ทำทะเบยี นคมุ สนิ ทรพั ย โดยบนั ทกึ สนิ ทรพั ยเ ปน สงิ่ มชี วี ติ จำนวนสตั ว มลู คา ของสตั ว และมูลคา รวมเพ่ือเกบ็ เปนหลักฐานการโอนสินทรพั ย ระหวา งหนวยงาน (4) กรณีจัดซื้อครุภัณฑประเภทเดียวกันและจำนวนมากในคราว เดยี วกนั ใหส รา งรหสั สนิ ทรพั ยเ ทา กบั จำนวนของสนิ ทรพั ยท จี่ ดั ซอื้ (1 รหสั สนิ ทรพั ย เทากบั สินทรัพย 1 หนวย) เชน จดั ซ้อื เรือ 10 ลำ สรางรหัสสนิ ทรพั ย 10 รหสั ตามจำนวนของสินทรัพยท ่ีไดม า เปน ตน 10 ตัวอยา งทะเบียนคุมสินทรัพยส ามารถอา นเพิม่ เติมไดใ นบทที่ 2

ค่มู ือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 65 ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 (5) การคิดคาเสื่อมราคาสำหรับสวนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณแตละสวน แยกออกตา งหากจากกนั (6) การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับที่ราชพัสดุประเภทท่ีดิน ใหบันทึก ที่ดินที่ราชพัสดุเปนคาใชจายจากการโอนรายการระหวางกันใหกรมธนารักษ และบนั ทึกบญั ชีทร่ี าชพัสดุ กรณีอาคารและสงิ่ ปลกู สรา งเปน สินทรพั ยค รภุ ัณฑ ผรู บั ผดิ ชอบ: งานพสั ดุ งานการเงนิ และบญั ชี กลมุ งานอํานวยการ สํานกั งานจงั หวดั ผเู บิกแทน และ กลมุ งานบริหารยุทธศาสตรก ลุมจังหวัด STEP 2 : จงั หวดั ผเู บกิ แทนแจงรายละเอยี ดสินทรพั ยใ หกลมุ จังหวดั 2.1 จังหวัดผูเบิกแทนรวบรวมบัญชีรายการสินทรัพยและเลขที่ สนิ ทรัพยท บ่ี นั ทึกรบั รูใ นระบบ New GFMIS Thai 2.2 จงั หวดั ผเู บกิ แทนดำเนนิ การจดั ทำขอ มลู สนิ ทรพั ยใ นแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสนิ ทรัพยฯ ในสว นของผโู อน จำนวน 3 ฉบบั 2.3 จังหวัดผูเบิกแทนดำเนินการแจงกลุมจังหวัดพรอมแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสินทรพั ยฯ จำนวน 3 ฉบับ ใหกลุม จังหวดั ดำเนนิ การสรา ง รหสั สนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai และสง เอกสารขอ มลู เพอ่ื ใหก ลมุ จงั หวดั เสนอตอ ท่ีประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานกลุมจงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) เพ่ือใหความเหน็ ชอบการโอนสนิ ทรพั ย ผูรับผิดชอบ: งานการเงินและบัญชี กลุมงานอาํ นวยการ สาํ นักงานจังหวัด ผเู บกิ แทน STEP 3 : กลมุ จังหวดั นาํ เรือ่ งการโอนสนิ ทรพั ยใ หห นวยงานรบั โอน เสนอทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานกลมุ จังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) ก ลุ ม จั ง ห วั ด จั ด ท ำ ร า ย ก า ร สิ น ท รั พ ย ท่ี จ ะ ท ำ ก า ร โ อ น ใ ห กั บ หนว ยงานรบั โอนพรอ มขอ มลู รายละเอยี ดทเ่ี กยี่ วขอ งเสนอตอ ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการ บริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) เพ่ือใหความเห็นชอบการโอน สนิ ทรัพยใหก บั หนวยงานรบั โอน ผรู ับผิดชอบ: กลมุ งานบริหารยทุ ธศาสตรกลมุ จงั หวดั

คู่มือการโอนสินทรพั ย์ของจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวดั 66 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 4 : กลมุ จงั หวดั สรา งรหสั สนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai 4.1 กลมุ จังหวดั บันทกึ รับรูสนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai 4.2 กลุมจังหวัดจัดทำขอมูลสินทรัพยในแบบฟอรมรายละเอียด การโอนสินทรัพยฯ จำนวน 2 ประเภท ไดแก (1) แบบฟอรมในสวนของผูรับโอนสินทรัพย (ที่ไดรับจาก จงั หวดั ผูเบิกแทน) จำนวน 3 ฉบบั (2) แบบฟอรมในสวนของผูโอนสินทรัพยใหหนวยงานรับโอน จำนวน 3 ฉบับ 4.3 กลุมจังหวัดเสนอหัวหนากลุมจังหวัด (ผูวาราชการจังหวัด ที่เปนหัวหนากลุมจังหวัด) ลงนามในแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ท้งั 2 ประเภท จำนวน 6 ฉบบั ผรู บั ผิดชอบ: กลมุ งานบรหิ ารยทุ ธศาสตรกลมุ จงั หวัด STEP 5 : กลุมจังหวัดแจงรายละเอียดการโอนสินทรัพยไปยัง กรมบัญชีกลาง กลุมจังหวัดจัดทำหนังสือพรอมสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอน สินทรัพยฯ ระหวางจังหวัดกบั กลมุ จังหวัด จำนวน 3 ฉบบั ไปยังกรมบัญชีกลาง (กองบัญชภี าครัฐ) เพ่อื กรมบญั ชกี ลางจะไดด ำเนินการโอนสินทรพั ยจ ากจงั หวดั ใหกลุมจังหวัดในระบบ New GFMIS Thai ผรู ับผดิ ชอบ: กลมุ งานบริหารยุทธศาสตรกลมุ จงั หวัด STEP 6 : กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai เมื่อกรมบัญชีกลางไดดำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพยระหวาง จงั หวดั กบั กลมุ จงั หวดั ในระบบ New GFMIS Thai แลว กรมบญั ชกี ลางจะมหี นงั สอื แจง การโอนและรบั โอนสนิ ทรพั ยใ หจ งั หวดั และกลมุ จงั หวดั เพอ่ื ดำเนนิ การ ดังนี้

คมู่ ือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลมุ่ จังหวดั 67 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 (1) จังหวัดผูเบิกแทนตรวจสอบความถูกตองของการบันทึก การโอนสินทรัพยจากรายงานสินทรัพยรายตัว (สท12) และรายงานแสดง บรรทัดรายการบัญชีแยกประเภททั่วไป บัญชีโอนสินทรัพยใหหนวยงาน ของรัฐ (5211010101) (2) กลุมจังหวัดตรวจสอบความถูกตองของการบันทึกการรับโอน สนิ ทรพั ยจ ากรายงานสนิ ทรพั ยร ายตวั (สท12) และรายงานแสดงบรรทดั รายการ บัญชแี ยกประเภททวั่ ไป บัญชีรายไดจ ากการรับโอนสินทรัพยระหวา งหนวยงาน (4309010101) ทั้งน้ี กรณีจังหวัดและกลุมจังหวัด (หนวยงานรับโอน) ตรวจสอบ แลว พบวามีขอ มลู คลาดเคลื่อนหรอื ไมถ ูกตองใหกลุม จังหวดั (กรณจี ังหวดั ใหแจง กลุมจังหวัดเปนผูจัดทำหนังสือ) จัดทำหนังสือแจงไปยังกรมบญั ชกี ลางเพอ่ื แกไ ข ขอมูลใหถูกตอ ง และในกรณีที่ดำเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ งของการบนั ทึก การโอนสินทรัพยหรือการรับโอนสินทรัพยแลว ใหจังหวัดและกลุมจังหวัด บนั ทกึ การปรบั ปรงุ บญั ชพี กั หกั ลา งการโอนสนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai เพอ่ื รบั รกู ารโอนสนิ ทรพั ยต อไป (จังหวดั และกลมุ จังหวัดอาจดำเนินการปรับปรงุ บัญชพี กั หกั ลา งการโอนสนิ ทรัพยปละคร้งั หรือรายไตรมาสตามความเหมาะสม) ผูรับผิดชอบ: กรมบัญชีกลาง งานการเงินและบัญชี กลุมงานอาํ นวยการ สํานักงานจงั หวดั ผูเบกิ แทน และกลมุ งานบรหิ ารยุทธศาสตรกลุมจงั หวดั STEP 7 : กลุมจงั หวัดสงแบบฟอรมรายละเอยี ดการโอนสนิ ทรพั ยฯ ไปยงั หนว ยงานรบั โอน กลุมจังหวัดจัดสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ จำนวน 3 ฉบับ ไปยังหนวยงานรับโอน เพ่ือใหหนวยงานรับโอนดำเนินการสรางรหัส สินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai โดยระบุรายละเอยี ดสินทรัพยใ หตรงกบั สนิ ทรพั ยท บี่ นั ทกึ ในระบบ New GFMIS Thai ของกลมุ จงั หวดั พรอ มทงั้ ใหห วั หนา

คูม่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั 68 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 สวนราชการของหนวยงานรับโอนลงนามในแบบฟอรมรายละเอียดการโอน สินทรพั ยฯ จำนวน 3 ฉบบั ดังกลาว ผูรับผิดชอบ: งานการเงินและบัญชี กลุมงานอํานวยการ สาํ นักงานจังหวัด ผเู บิกแทน และกลุมงานบรหิ ารยุทธศาสตรกลุมจังหวัด STEP 8 : หนว ยงานรบั โอนแจง ใหก ลมุ จงั หวดั รบั ทราบรหสั สนิ ทรพั ย ทจี่ ะรับโอนในระบบ New GFMIS Thai 8.1 หนว ยงานรบั โอนสรา งรหสั สนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai 8.2 หนวยงานรับโอนจัดสงรายละเอียดสินทรัพยตามแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ท่ีหัวหนาสวนราชการของหนวยงานรับโอน ไดลงนามแลวในสวนของผรู ับโอนสง กลบั กลุมจงั หวัด จำนวน 3 ฉบบั ผรู บั ผิดชอบ: หนวยงานรบั โอน STEP 9 : กลุมจังหวัดแจงรายละเอียดการโอนสินทรัพยไปยัง กรมบญั ชีกลาง กลุมจังหวัดจัดสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ จำนวน 3 ฉบับ ท่ีมีการลงนามระหวางกลุมจังหวัดกับหนวยงานรับโอนไปยัง กรมบญั ชกี ลาง เพอื่ ดำเนนิ การบนั ทกึ การโอนสนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai ผูร ับผิดชอบ: กลมุ งานบริหารยุทธศาสตรกลมุ จังหวดั STEP 10 : กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai เม่ือกรมบัญชีกลางดำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพยระหวาง กลุมจังหวัดกับหนวยงานรับโอนในระบบ New GFMIS Thai แลว กรมบัญชีกลางจะมีหนังสือแจงการโอนและรับโอนสินทรัพยใหกลุมจังหวัด และหนวยงานรับโอนเพ่อื ดำเนินการ ดังนี้

คู่มือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด 69 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 (1) กลมุ จงั หวดั ตรวจสอบความถกู ตอ งของการบนั ทกึ โอนสนิ ทรพั ย จากรายงานสินทรัพยรายตัว (สท12) และรายงานแสดงบรรทัดรายการบัญชี แยกประเภทท่ัวไป บญั ชโี อนสนิ ทรพั ยใหหนว ยงานของรัฐ (5211010101) (2) หนว ยงานรบั โอนตรวจสอบความถกู ตอ งของการบนั ทกึ รบั โอน สนิ ทรพั ยจ ากรายงานสนิ ทรพั ยร ายตวั (สท12) และรายงานแสดงบรรทดั รายการ บัญชีแยกประเภททว่ั ไป บญั ชรี ายไดจากการรับโอนสนิ ทรพั ยร ะหวา งหนว ยงาน (4309010101) ท้ังน้ี กรณีกลุมจังหวัดและหนวยงานรับโอนตรวจสอบแลวพบวา มขี อ มลู คลาดเคลือ่ นหรือไมถกู ตอ งใหก ลุมจงั หวัด (กรณหี นวยงานรบั โอนใหแจง กลุมจงั หวัดเปนผูจ ดั ทำหนงั สือ) จดั ทำหนงั สือแจงไปยงั กรมบญั ชีกลางเพื่อแกไ ข ขอ มลู ใหถ ูกตอ ง และในกรณีทด่ี ำเนนิ การตรวจสอบความถกู ตองของการบนั ทึก การโอนสินทรัพยหรือการรับโอนสินทรัพยแลว ใหกลุมจังหวัดและหนวยงาน รับโอนบันทึกการปรับปรุงบัญชีพักหักลางการโอนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai เพ่อื รับรกู ารโอนสนิ ทรัพยต อไป (กลุมจงั หวดั และหนว ยงาน รับโอนอาจดำเนินการปรับปรุงบัญชีพักหักลางการโอนสินทรัพยปละคร้ังหรือ รายไตรมาสตามความเหมาะสม) ผูรับผิดชอบ: กรมบัญชีกลาง กลุมงานบริหารยุทธศาสตรกลุมจังหวัด และ หนว ยงานรบั โอน หมายเหตุ: แบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ คือ แบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยของ จงั หวดั และกลมุ จังหวัดใหสว นราชการ ของกรมบัญชกี ลาง

คู่มือการโอนสินทรัพยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั 70 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 5.1.2 การโอนสิินทรัพย์ของกลัุ�มจังหวัด้ กรณ์ีครุภัณ์ฑ์ ให้หน�วยงานรับัโอนทีไ� ม�ใชีร้ ะบับั New GFMIS Thai STEP 1 : จังหวัดผูเบิกแทนบันทึกบัญชีสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai กอ นการโอนสนิ ทรัพยใ หก ลมุ จังหวดั 1.1 จงั หวดั ผเู บกิ แทนไดร บั งบประมาณในระบบ New GFMIS Thai และเบิกจายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของกลุมจังหวัด ซึ่งในการ เบิกจายงบประมาณแตละรอบของแผนงาน/โครงการ เจาหนาท่ีการเงินและ บญั ชตี อ งบนั ทกึ ขอ มลู การเบกิ จา ยในระบบ New GFMIS Thai และรับรูรายการ เปนบัญชีพักสินทรัพย (ระบุประเภท) หรือบัญชีพักงานระหวางกอสรางหรือ บัญชีที่ดินราชพัสดุรอโอนทุกคร้ังที่มีการเบิกจายงบประมาณตามแผนงาน/ โครงการ เพ่ือปองกันการคลาดเคลื่อนของจำนวนวงเงินและครุภัณฑท ี่ไดม า 1.2 จังหวัดผูเบิกแทนรวบรวมเอกสารจากหนวยดำเนินโครงการ และใหหนวยดำเนินโครงการแจงรายชื่อหนวยงานรับโอนใหจังหวัดผูเบิกแทน ทง้ั นี้ ใหเ จา หนา ทพ่ี สั ดรุ ว มกบั เจา หนา ทกี่ ารเงนิ และบญั ชตี รวจสอบความถกู ตอ ง ของรายการสินทรัพยทไี่ ดร ับจากหนว ยดำเนนิ โครงการอีกคร้ัง 1.3 เจาหนาที่การเงินและบัญชีของสำนักงานจังหวัดผูเบิกแทน รวบรวมเอกสารจากหนวยดำเนินโครงการและดำเนินการบันทึกรับรูสินทรัพย ของกลุมจังหวัด โดยสรางขอมูลหลักสินทรัพยพรอมท้ังลางบัญชีพักสินทรัพย เพ่ือรับรูเปนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai จากนั้นใหประมวลผล คา เสอ่ื มราคาหลงั จากรบั รสู นิ ทรพั ยแ ลว หากจงั หวดั ผเู บกิ แทนยงั ไมม กี ารบนั ทกึ รบั รู เปน สนิ ทรพั ยร ายตวั จะสง ผลใหม บี ญั ชพี กั สนิ ทรพั ยค งคา งอยใู นระบบ New GFMIS Thai จังหวัดผูเบิกแทนตองลางบัญชีพักสินทรัพยเพื่อดำเนินการบันทึกรับรู เปนสนิ ทรพั ยรายตัวใหแ ลวเสรจ็ (หนังสอื กรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0423.3/ว 198 ลงวันที่ 11 มิถนุ ายน 2553)

คมู่ ือการโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกล่มุ จังหวดั 71 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 หลกั การและนโยบายในการบนั ทึกสินทรพั ย (1) การบนั ทกึ สนิ ทรพั ยย อ ย หมายถงึ การบนั ทกึ สนิ ทรพั ยท ตี่ อ งใช รว มกบั สนิ ทรพั ยห ลกั หากแยกออกจากกนั จะไมส ามารถใชง านไดห รอื วธิ กี ารไดม า ของสนิ ทรพั ยต ามทร่ี ะเบยี บกฎหมายวา ดว ยการพสั ดกุ ำหนด อีกทง้ั ยงั เปน วิธกี าร ลางบัญชีพักสินทรัพยที่ไดมาในปกอน ๆ ซ่ึงจะตองสรางสินทรัพยยอยสำหรับ การคำนวณคาเสอ่ื มของปท ่ีผานมา ตัวอยาง: อุปกรณตอพวงคอมพิวเตอรมูลคาไมถึง 10,000 บาท หากบันทึกอุปกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอรเปนการบันทึกรับรูสินทรัพย เปน รายการเดยี ว และใชห ลกั เกณฑก ารรบั รสู นิ ทรพั ยเ ปน มลู คา รวม สามารถบนั ทกึ สนิ ทรพั ยหลกั เปน คอมพวิ เตอร 1 ชุด และสนิ ทรัพยย อยเปนอุปกรณต อ พวงของ คอมพิวเตอร เปนตน (2) การรับรูสินทรัพย ท่ีมีมูลคาขั้นต่ำต้ังแต 10,000 บาทขึ้นไป ใหถือปฏบิ ัตสิ ำหรบั สนิ ทรัพยทไี่ ดมาตงั้ แตป งบประมาณ พ.ศ. 2563 เปน ตนไป กรณที ่ีสินทรพั ยม มี ลู คาตำ่ กวา 10,000 บาท และมอี ายกุ ารใชงานของสนิ ทรพั ย นน้ั เกนิ กวา 1 ป ใหร บั รเู ปน คา ใชจ า ยในชอ่ื บญั ชี “คา ครภุ ณั ฑม ลู คา ตำ่ กวา เกณฑ” และจัดทำทะเบียนคุมสนิ ทรพั ยไ วเ พื่อใชในการตรวจสอบ11 (3) สิ่งมชี ีวิต เชน โค กระบือ ไก ที่ไดม าจากการทำโครงการตา ง ๆ ใหบ นั ทกึ รบั รสู นิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai เปน “คา ใชจ า ยอน่ื ” เนอื่ งจาก กรมบัญชีกลางยังไมมีการกำหนดสินทรัพยท่ีมีชีวิตไวในมาตรฐานบัญชีภาครัฐ แตท งั้ นี้ การโอนสนิ ทรพั ยท มี่ ชี วี ติ ใหท ำหลกั ฐานการโอนสนิ ทรพั ยต ามแบบฟอรม ของกรมบัญชีกลางและจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย โดยบันทึกสินทรัพย เปนสิ่งมีชีวิต จำนวนสัตว มูลคาของสัตว และมูลคารวมเพ่ือเก็บเปนหลักฐาน การโอนสินทรัพยร ะหวางหนวยงาน 11 ตัวอยา งทะเบียนคมุ สนิ ทรพั ยส ามารถอานเพมิ่ เตมิ ไดใ นบทที่ 2

คูม่ อื การโอนสินทรพั ย์ของจังหวัดและกล่มุ จังหวัด 72 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 (4) กรณีจัดซื้อครุภัณฑประเภทเดียวกันและจำนวนมากในคราว เดยี วกนั ใหส รา งรหสั สนิ ทรพั ยเ ทา กบั จำนวนของสนิ ทรพั ยท จี่ ดั ซอ้ื (1 รหสั สนิ ทรพั ย เทา กบั สนิ ทรพั ย 1 หนว ย) เชน จดั ซอื้ เรอื 10 ลำสรางรหัสสินทรัพย 10 รหัส ตามจำนวนของสินทรัพยท ีไ่ ดม า เปน ตน (5) การคิดคาเส่ือมราคาสำหรับสวนประกอบของรายการท่ีดิน อาคาร และอปุ กรณแ ตละสว น แยกออกตา งหากจากกนั (6) การบนั ทกึ บญั ชเี กยี่ วกบั ทร่ี าชพสั ดปุ ระเภททดี่ นิ ใหบ นั ทกึ ทดี่ นิ ท่ีราชพัสดุเปนคาใชจายจากการโอนรายการระหวางกันใหกรมธนารักษ และบันทึกบัญชที ีร่ าชพสั ดุ กรณีอาคารและสิ่งปลกู สรา งเปน สนิ ทรพั ยค รภุ ัณฑ ผรู บั ผดิ ชอบ: งานพสั ดุ งานการเงนิ และบญั ชี กลมุ งานอํานวยการ สาํ นกั งานจงั หวดั ผูเ บิกแทน และกลุม งานบริหารยทุ ธศาสตรกลุมจงั หวดั STEP 2 : จงั หวัดผเู บิกแทนแจงรายละเอียดสนิ ทรัพยใหกลุมจงั หวดั 2.1 จังหวัดผูเบิกแทนรวบรวมบัญชีรายการสินทรัพยและเลขท่ี สินทรัพยท ่ีบนั ทกึ รบั รใู นระบบ New GFMIS Thai 2.2 จงั หวดั ผเู บกิ แทนดำเนนิ การจดั ทำขอ มลู สนิ ทรพั ยใ นแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ในสว นของผโู อน จำนวน 3 ฉบบั 2.3 จังหวัดผูเบิกแทนดำเนินการแจงกลุมจังหวัดพรอมแบบฟอรม รายละเอยี ดการโอนสินทรัพยฯ จำนวน 3 ฉบบั ใหกลุม จังหวดั ดำเนนิ การสราง รหัสสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai และสงเอกสารขอมูลเพื่อให ก ลุ ม จั ง ห วั ด เ ส น อ ต อ ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ก ลุ ม จั ง ห วั ด แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) เพอ่ื ใหค วามเห็นชอบการโอนสนิ ทรัพย ผูรับผิดชอบ: งานการเงินและบัญชี กลุมงานอาํ นวยการ สาํ นักงานจังหวัด ผูเบกิ แทน

คูม่ ือการโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั 73 ฉบับปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 3 : กลุมจังหวัดนําเรอ่ื งการโอนสินทรัพยใหห นว ยงานรับโอน เสนอทป่ี ระชุมคณะกรรมการบรหิ ารงานกลมุ จงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) กลุมจังหวัดจัดทำรายการสินทรัพยที่จะทำการโอนใหกับหนวยงาน รบั โอนพรอ มขอ มลู รายละเอยี ดทเี่ กยี่ วขอ งเสนอตอ ทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรหิ าร งานกลมุ จงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) เพอ่ื ใหค วามเหน็ ชอบการโอนสินทรัพย ใหก บั หนวยงานรบั โอน ผูร บั ผิดชอบ: กลุมงานบริหารยุทธศาสตรก ลมุ จังหวัด STEP 4 : กลมุ จงั หวดั สรา งรหสั สนิ ทรพั ยใ นระบบ New GFMIS Thai 4.1 กลมุ จงั หวัดบนั ทึกรบั รสู นิ ทรพั ยในระบบ New GFMIS Thai 4.2 กลุมจังหวัดจัดทำขอมูลสินทรัพยในแบบฟอรมรายละเอียด การโอนสินทรพั ยฯ จำนวน 2 ประเภท ไดแ ก (1) แบบฟอรมในสวนของผูรับโอนสินทรัพย (ท่ีไดรับจาก จงั หวดั ผเู บกิ แทน) จำนวน 3 ฉบับ (2) แบบฟอรม ในสว นของผโู อนสนิ ทรพั ยใ หห นว ยงานรบั โอน จำนวน 3 ฉบับ 4.3 กลุมจังหวัดเสนอหัวหนากลุมจังหวัด (ผูวาราชการจังหวัด ที่เปนหัวหนา กลุมจงั หวดั ) ลงนาม ในแบบฟอรม รายละเอียดการโอนสนิ ทรพั ยฯ ทัง้ 2 ประเภท จำนวน 6 ฉบบั ผูรบั ผดิ ชอบ: กลมุ งานบริหารยทุ ธศาสตรก ลมุ จังหวัด STEP 5 : กลุมจังหวัดแจงรายละเอียดการโอนสินทรัพยไปยัง กรมบญั ชกี ลาง กลุมจังหวัดจัดทำหนังสือพรอมสงแบบฟอรมรายละเอียดการโอน สินทรัพยฯ ระหวางจังหวัดผูเบิกแทนกับกลุมจังหวัด จำนวน 3 ฉบับ ไปยัง กรมบญั ชกี ลาง (กองบญั ชภี าครฐั ) เพอ่ื ดำเนนิ การโอนสนิ ทรพั ยจ ากจงั หวดั ผเู บกิ แทน ใหก ลมุ จังหวดั ในระบบ New GFMIS Thai ผูรับผดิ ชอบ: กลุมงานบรหิ ารยทุ ธศาสตรกลุมจังหวดั

คมู่ ือการโอนสินทรัพย์ของจงั หวัดและกล่มุ จงั หวดั 74 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 6 : กรมบัญชีกลางบันทึกการโอนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai เม่ือกรมบัญชีกลางไดดำเนินการบันทึกการโอนสินทรัพยระหวาง จังหวัดกับกลุมจังหวัดในระบบ New GFMIS Thai แลว กรมบัญชีกลาง จะมีหนังสือแจงการโอนและรับโอนสินทรัพยใหจังหวัดและกลุมจังหวัด เพือ่ ดำเนินการ ดังน้ี (1) จังหวัดผูเบิกแทนตรวจสอบความถูกตองของการบันทึก การโอนสินทรัพยจากรายงานสินทรัพยรายตัว (สท12) และรายงานแสดง บรรทัดรายการบัญชีแยกประเภทท่ัวไป บัญชีโอนสินทรัพยใหหนวยงานของรัฐ (5211010101) (2) กลมุ จงั หวดั ตรวจสอบความถกู ตอ งของการบนั ทกึ การรบั โอน สินทรัพยจากรายงานสินทรัพยรายตัว (สท12) และรายงานแสดงบรรทัด รายการบัญชีแยกประเภททั่วไป บัญชีรายไดจากการรับโอนสินทรัพยระหวาง หนว ยงาน (4309010101) ทงั้ นี้ กรณจี งั หวดั และกลมุ จงั หวดั (หนว ยงานรบั โอน) ตรวจสอบ แลว พบวา มขี อ มลู คลาดเคลอื่ นหรอื ไมถ กู ตอ ง ใหก ลมุ จงั หวดั (กรณจี งั หวดั ใหแ จง กลมุ จงั หวัดเปนผจู ดั ทำหนงั สอื ) จัดทำหนังสือแจงไปยงั กรมบญั ชกี ลางเพอ่ื แกไ ข ขอมูลใหถูกตองและในกรณีท่ีดำเนินการตรวจสอบความถูกตองของการบันทึก การโอนสินทรัพยหรือการรับโอนสินทรัพยแลว ใหจังหวัดผูเบิกแทนและ กลุมจังหวัดบันทึกการปรับปรุงบัญชีพักหักลางการโอนสินทรัพยในระบบ New GFMIS Thai เพื่อรับรกู ารโอนสินทรัพยตอไป (จังหวัดและกลุมจังหวัด อาจดำเนินการปรับปรุงบัญชีพักหักลางการโอนสินทรัพยปละครั้งหรือ รายไตรมาสตามความเหมาะสม) ผรู บั ผดิ ชอบ: กรมบญั ชกี ลาง งานการเงนิ และบญั ชี กลมุ งานอาํ นวยการ สาํ นกั งาน จงั หวดั ผเู บกิ แทน และกลุมงานบริหารยุทธศาสตรก ลมุ จังหวดั

ค่มู อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัด 75 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 7 : กลมุ จงั หวัดสง แบบฟอรม รายละเอยี ดการโอนสินทรพั ยฯ ไปยังหนว ยงานรบั โอน กลมุ จงั หวดั จดั สง แบบฟอรม รายละเอยี ดการโอนสนิ ทรพั ยฯ จำนวน 3 ฉบับ ไปยังหนวยงานรับโอน เพ่ือใหหนวยงานรับโอนดำเนินการสรางรหัส ตามแนวทางการปฏิบัติทางระบบบัญชีของหนวยงานผูรับโอน โดยระบุ รายละเอียดสินทรัพยใหตรงกับสินทรัพยที่บันทึกในระบบ New GFMIS Thai ของกลุมจังหวัด พรอมท้ังใหหัวหนาสวนราชการของหนวยงานรับโอนลงนาม ในแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสนิ ทรพั ยฯ จำนวน 3 ฉบบั ดังกลาว ผูรับผิดชอบ: งานการเงินและบัญชี กลุมงานอํานวยการ สํานักงานจังหวัด ผูเบกิ แทน และกลมุ งานบริหารยทุ ธศาสตรก ลมุ จังหวดั STEP 8 : หนว ยงานรบั โอนแจง ใหก ลมุ จงั หวดั รบั ทราบรหสั สนิ ทรพั ย ท่ีจะรับโอน 8.1 หนว ยงานรบั โอนสรา งรหสั สนิ ทรพั ยต ามแนวทางการปฏบิ ตั ทิ าง ระบบบัญชขี องหนวยงาน 8.2 หนว ยงานรบั โอนจดั สง บญั ชรี ายการสนิ ทรพั ยแ ละรหสั สนิ ทรพั ย ตามที่หนวยงานบันทึกในแบบฟอรมรายละเอียดการโอนสินทรัพยฯ ที่หัวหนา สวนราชการของหนวยงานรับโอนไดลงนามแลวในสวนของผูรับโอนสงกลับ กลมุ จงั หวดั จำนวน 3 ฉบบั ทง้ั น้ี ใหห นว ยงานรบั โอนจดั ทำทะเบยี นคมุ สนิ ทรพั ย เพือ่ เก็บไวเ ปนหลักฐานในการรับโอนสนิ ทรพั ยจากกลมุ จังหวัด ผรู บั ผดิ ชอบ: หนวยงานรับโอน STEP 9 : กลุมจังหวัดตัดจําหนายสินทรัพยออกจากระบบ New GFMIS Thai กลุมจังหวัดบันทึกการตัดจำหนายสินทรัพยรายตัวในระบบ New GFMIS Thai ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจาง

คูม่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั 76 ฉบบั ปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 และการบริหารภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 215 และจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย เพ่ือเก็บเปนหลักฐานการโอนสนิ ทรัพยทไี่ ดโ อนใหก บั หนว ยงานรบั โอน ผรู ับผิดชอบ: กลมุ งานบรหิ ารยทุ ธศาสตรกลุมจงั หวัด หมายเหตุ: 1. กรณีการมอบหมายผูรับผิดชอบในสํานักงานจังหวัด เปนการกําหนดตามภารกิจและหนาที่ความรับผิดชอบ ท้ังนี้ หัวหนา หนวยงานอาจมอบหมายผูร บั ผดิ ชอบไดตามดุลยพนิ ิจ 2. หัวหนา หนว ยงานรฐั ราชการสว นกลาง หมายถึง อธบิ ดี หรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนและมีฐานะเปนนิติบุคคล ราชการสวนทองถิ่น หมายถึง นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกองคก ารบริหารสวนตําบล 5.2 ก�รนำ�ำ ส่งข้ึนำทะเบียนำ และก�รขอใช้–ส่งคำืนำท่ีร�ชพั สดุ กรณีอ�คำ�รและสิง่ ปลูกสร�้ งของกลุ่มจังหวดั พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2562 ไดมีการปรับปรุงระเบียบ หลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความคลองตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงกำหนดบทบัญญัติตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับ สภาวการณในปจจุบัน ดังน้ัน กรมธนารักษจึงไดมีการปรับปรุงกฎกระทรวง เพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติดังกลาว โดยไดยกเลิกกฎกระทรวงวาดวย หลักเกณฑและวิธีการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช และจัดหาประโยชน เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และใชกฎกระทรวงการใชที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2563 แทน ประกอบกบั พระราชบัญญตั ิทีร่ าชพสั ดุ พ.ศ. 2562 ไดกำหนด นยิ าม “สว นราชการ” หมายความวา สว นราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานธุรการขององคกรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ หรือศาล หรือองคกรอัยการ หรือรัฐสภาที่สามารถเปนผูใช ที่ราชพัสดุ โดยไมไดครอบคลุมถึงจังหวัดและกลุมจังหวัดใหเปนสวนราชการ ตามคำนิยาม แตพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ไดนิยามให

คมู่ ือการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวดั 77 ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 สวนราชการหมายความรวมถึงจังหวัดและกลุมจังหวัดตามกฎหมายวาดวย ระเบียบบริหารราชการแผน ดนิ ดงั นัน้ กรมธนารกั ษจ ึงไดก ำหนดแนวทางปฏิบัติ เก่ียวกับการนำสงข้ึนทะเบียนและการขอใช-สงคืนที่ราชพัสดุ กรณีอาคาร และสิ่งปลูกสรางของกลุมจังหวัด ตามหนังสือกรมธนารักษ ดวนที่สุด ที่ กค 0302/11241 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 โดยใหก ลมุ จังหวัดสามารถ เปนผูนําสงข้ึนทะเบียน กรณีอาคารและสิ่งปลูกสราง เพื่อใหสอดคลองกับ ขอเท็จจริงในการไดสินทรัพยมาจากการเปนเจาของงบประมาณที่ใชในการ สรา งอาคาร และสง่ิ ปลกู สรา งนน้ั ทงั้ นี้ อาคาร สงิ่ ปลกู สรา ง และอุปกรณตาง ๆ ในอาคารหรอื สง่ิ ปลกู สรา งอนั เปน สนิ ทรพั ยท เ่ี กดิ จากงบประมาณของกลมุ จงั หวดั จะตองทำการบันทึกรับรูสินทรัพยและการโอนสินทรัพยใหกับหนวยงานรับโอน ในระบบ New GFMIS Thai ควบคกู นั ไปดว ย โดยมขี ้ันตอนการดำเนนิ การ ดงั น้ี 5.2.1 ขน�ั ตอนการนำาสิง� ขนึ� ทะเบัยี น กรณ์อี าคารแลัะสิงิ� ปลัก่ สิรา้ ง ของกลั�ุมจงั หวัด้ การนำสงขึ้นทะเบียน กรณีอาคารและสิ่งปลูกสรางของกลุมจังหวัด มขี นั้ ตอนการดำเนินการ ดงั น้ี

คมู่ ือการโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกล่มุ จังหวัด 78 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 STEP 1 : กลุมจังหวัดมอบอํานาจการขึ้นทะเบียนท่ีราชพัสดุใหแก ผูวา ราชการจงั หวัด กรณมี กี ารสรา งอาคารหรอื สง่ิ ปลกู สรา งตา ง ๆ ทเ่ี กดิ จากงบประมาณ รายจา ยของกลมุ จงั หวดั จะตอ งมกี ารนำสง ขน้ึ ทะเบยี นเปน ทรี่ าชพสั ดุ โดยจะตอ ง สำรวจและสง รายงานอาคารหรอื สง่ิ ปลกู สรา งนน้ั ตามแบบทก่ี รมธนารกั ษก ำหนด (แบบ ทบ.03 ทร.04 และ ทร.05) ใหก รมธนารกั ษโ ดยเรว็ เพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี นทร่ี าชพสั ดุ หัวหนากลุมจังหวัดมอบอำนาจการขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุใหแก ผูวาราชการจังหวัดในจังหวัดที่มีการดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปของกลุมจังหวัดเพื่อนำสงอาคารหรือสิ่งปลูกสรางข้ึนทะเบียน กับสำนักงานธนารกั ษพ้ืนท่เี ปนท่ีราชพสั ดุ ผรู ับผดิ ชอบ: กลุมงานบรหิ ารยุทธศาสตรกลุมจงั หวดั STEP 2 : จังหวัดที่ตั้งของหนวยดําเนินโครงการมอบอาํ นาจการ ข้นึ ทะเบยี นที่ราชพัสดุ ใหห นว ยดําเนนิ โครงการ ผวู า ราชการจงั หวดั ในจงั หวดั ทมี่ กี ารดำเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิ ราชการประจำปของกลุมจังหวัดมอบอำนาจตอใหหนวยงาน (หนวยดำเนิน โครงการ) นำสงอาคารและสิ่งปลูกสรางขึ้นทะเบียนกับสำนักงานธนารักษพ้ืนที่ เพ่อื เปนท่ีราชพัสดุ ผูรับผิดชอบ: กลุมงานยุทธศาสตรและขอมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สํานักงาน จังหวัดผเู บิกแทน STEP 3 : หนวยงาน (หนวยดาํ เนินโครงการ) นาํ สงขึ้นทะเบียน ทรี่ าชพสั ดกุ บั สาํ นกั งานธนารกั ษพ น้ื ที่ หนวยงาน (หนวยดำเนินโครงการ) นำสงรายการอาคารและ ส่ิงปลูกสรางตาง ๆ เพื่อขึ้นทะเบียนเปนท่ีราชพัสดุกับสำนักงานธนารักษพื้นท่ี พรอมเอกสารหลักฐาน ดังน้ี

ค่มู ือการโอนสินทรพั ยข์ องจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั 79 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 3.1 แบบฟอรมการข้นึ ทะเบียนทร่ี าชพัสดุ (1) การขึ้นทะเบียนท่ีดิน ใชแบบฟอรม ทร.03 (แบบสำรวจ รายการท่ดี ิน) (2) การข้ึนทะเบียนอาคารหรือส่ิงปลูกสราง ใชแบบฟอรม ทร.04 (แบบสำรวจรายการอาคาร/ส่ิงปลูกสรางขึน้ ทะเบียนท่รี าชพสั ดุ) (3) การขึ้นทะเบียนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางท่ีปลูกอยูบนท่ีดิน ทไ่ี มใ ชท ร่ี าชพสั ดุ ใหใ ชแ บบฟอรม ทร.05 (แบบสำรวจรายการอาคาร/สง่ิ ปลกู สรา ง ของรัฐท่ีปลกู อยบู นที่ดินท่ีมิใชท รี่ าชพัสดุ) 3.2 หากมีอาคารหรือส่ิงปลูกสรางท่ีเปนที่ราชพัสดุท่ียังไมไดข้ึน ทะเบียน หนวยดำเนินโครงการตองสำรวจรายการอาคารหรือส่ิงปลูกสราง ท่ีเกิดขึ้นจากแผนงาน/โครงการของกลุมจังหวัด (อาคาร/สิ่งปลูกสรางใหม และอาคาร/สง่ิ ปลกู สรา งทม่ี อี ยเู ดมิ ) นำสง ขนึ้ ทะเบยี นเปน ที่ราชพัสดุ เอกสารประกอบการนำสง ขึน้ ทะเบียน (1) แบบฟอรมการนำสง ขนึ้ ทะเบยี นในแตล ะกรณตี ามขอ 3.1 (2) เอกสารหลักฐานการไดมาหรือหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ หรือเอกสารหลกั ฐานแสดงการไดรบั งบประมาณหรือบริจาค (3) แผนทส่ี ังเขปที่ตง้ั ทดี่ นิ และหรอื อาคาร/สิง่ ปลูกสราง (4) หลักฐานการอนุญาตใหใช/ใหเชาท่ีดิน (กรณีเปนอาคาร/ สงิ่ ปลูกสรางของรฐั ที่ปลูกอยบู นท่ีดินที่มิใชท ร่ี าชพัสด)ุ (ถาม)ี ผรู ับผดิ ชอบ: หนว ยดาํ เนนิ โครงการ กรณีที่กลุมจังหวัดเปนผูนำสงข้ึนทะเบียนเองใหกลุมจังหวัด มีหนงั สอื แจง หนวยงานที่กลมุ จงั หวัดประสงคจะมอบสนิ ทรพั ยน ้ัน ๆ ใหเปน ผูย่ืนหนังสือแสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุตอสำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี หากไมมีหนวยงานใดประสงคจะขอใชประโยชนท่ีราชพัสดุใหกลุมจังหวัด ดูแลบำรุงรักษาไวจนกวาจะมีหนวยงานย่ืนหนังสือแสดงความประสงค ขอใชท ี่ราชพัสดนุ ั้น

คู่มือการโอนสินทรพั ย์ของจังหวัดและกล่มุ จงั หวดั 80 ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 กรณที มี่ กี ารใช รอื้ ถอน หรอื ดดั แปลงทรี่ าชพสั ดุ หรอื กระทำการใด ๆ อันมีผลกระทบตอสาระสำคัญหรือสถานะของที่ราชพัสดุ โดยยังเปน การดำเนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคเ ดมิ ใหผ ใู ชท ร่ี าชพสั ดุ แจง กรมธนารกั ษท ราบ เพื่อแกไขรายการทะเบยี นทร่ี าชพัสดใุ หถกู ตอง กรณกี ารกอ สรา งอาคารหรอื สงิ่ ปลกู สรา งจากเงนิ งบประมาณรายจา ย ของกลมุ จงั หวดั บนทดี่ นิ อน่ื เชน ทด่ี นิ ของสหกรณ รฐั วสิ าหกจิ องคก รปกครอง สวนทอ งถิ่น หรือท่ธี รณีสงฆ กอ นดำเนินการใด ๆ ในทด่ี ินนน้ั ใหก ลมุ จงั หวดั (หนว ยดำเนนิ โครงการ) ขออนญุ าตใชพ น้ื ทต่ี ามระเบยี บกฎหมายของหนว ยงาน เจา ของทดี่ นิ นน้ั พรอมท้ังจดทะเบียนสิทธิเหนือพื้นดินใหแลวเสร็จกอนนำ สินทรพั ยสง ข้ึนทะเบยี นทร่ี าชพสั ดุ STEP 4 : สํานกั งานธนารกั ษพื้นท่ดี าํ เนนิ การขนึ้ ทะเบียน สำนักงานธนารักษพื้นท่ีจัดทำทะเบียนที่ราชพัสดุตามที่หนวยงาน (หนวยดำเนนิ โครงการ) นำสงขึ้นทะเบยี น ผรู บั ผิดชอบ: สาํ นักงานธนารักษพน้ื ที่ 5.2.2 การขอใชี-้ สิง� คน่ แลัะเปลัยี� นแปลังผใ้่ ชีป้ ระโยชีนท์ รี� าชีพัสิดุ้ กรณ์อี าคารแลัะสิง�ิ ปลั่กสิร้างของกลั�ุมจงั หวดั ้ กฎกระทรวงการใชที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2563 ขอ 2 ไดกำหนดนิยามผขู อใช ท่ีราชพัสดุ หมายถึง สวนราชการหรือองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่ขอใช ท่ีราชพัสดุ และผูใชที่ราชพัสดุ หมายถึง สวนราชการหรือองคกรปกครอง สวนทองถ่ินท่ีเปนผูใช ปกครอง ดูแล และบำรุงรักษาที่ราชพัสดุ ประกอบกับ พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2562 มาตรา 4 วรรคหน่ึง ไดกำหนดนิยาม สวนราชการ หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรมและหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานธุรการขององคกรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญหรือองคกรอัยการ หรือรัฐสภา โดยไมรวมถึงกลุมจังหวัด

ค่มู อื การโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกลุม่ จงั หวดั 81 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ใหเปนสวนราชการในการขอใชตามมาตรา 19 วรรคสองแหงพระราชบัญญัติ ทร่ี าชพสั ดุ พ.ศ. 2562 ดังน้ัน กรมธนารกั ษ จงึ ไดกำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. กรณไี มม หี นว ยงานประสงคข อใชป ระโยชนท ร่ี าชพสั ดุ ใหก ลมุ จงั หวดั (หัวหนากลุมจังหวัดมอบอำนาจใหผูวาราชการจังหวัด) นำสงข้ึนทะเบียน และสามารถใชท่ีราชพัสดุดังกลาว รวมท้ังตองดูแลและบำรุงรักษาท่ีราชพัสดุไว จนกวาจะมีหนวยงานแสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุ เพ่ือใหมีผูดูแลและ บำรุงรักษาที่ราชพัสดุท่ีไดมาจากงบประมาณของกลุมจังหวัดไมใหเสียหายและ อยใู นสภาพทเี่ หมาะสมตอ การใชป ระโยชนในราชการ และเมอื่ มีหนวยงานแสดง ความประสงคขอใชท ่ีราชพัสดดุ งั กลาวแลว จังหวดั (ทไี่ ดรบั มอบอำนาจ) จะตอง นำสง คนื ทรี่ าชพสั ดกุ อ นและใหห นว ยงานทปี่ ระสงคจ ะขอใชท ร่ี าชพสั ดดุ ำเนนิ การ เปลีย่ นแปลงผใู ชประโยชนที่ราชพัสดุตอ ไป 2. กรณมี หี นว ยงานประสงคข อใชป ระโยชนท รี่ าชพสั ดุ ใหก ลมุ จงั หวดั (หัวหนากลุมจังหวัดมอบอำนาจใหผูวาราชการจังหวัด) แจงหนวยงานที่จังหวัด (ท่ีไดรับมอบอำนาจ) ประสงคจะมอบสินทรัพยนั้น ๆ เปนผูนำสงข้ึนทะเบียน และแสดงความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุตอกรมธนารักษ (สำนักงานธนารักษ พ้นื ท่)ี ซ่ึงข้นั ตอนการดำเนินการขอใช – สง คนื ท่ีราชพัสดุ และการเปลี่ยนแปลง ผูใชประโยชน มขี ั้นตอน ดังน้ี หมายเหตุ: 1. กรณไี มม หี นว ยงานประสงคข อใชป ระโยชนท รี่ าชพสั ดุ เมอ่ื กลมุ จงั หวดั (โดยจงั หวดั ) นำสง ข้นึ ทะเบยี นแลว หากมีหนวยงานทป่ี ระสงคจ ะขอใชป ระโยชนท รี่ าชพัสดุ (สินทรพั ยประเภท ที่ดิน อาคาร และสิ่งปลูกสราง) จะตองนำเรื่องเสนอตอคณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบการเปลี่ยนแปลงผูใ ชป ระโยชนท ร่ี าชพัสดุ และ เม่ือจังหวัด (ท่ีไดรับมอบอำนาจ) นำสงคืนท่ีราชพัสดุแลว ใหหนวยงานท่ีประสงคขอใชประโยชน ที่ราชพสั ดุดำเนินการขอใชท่รี าชพสั ดุตามขนั้ ตอนตอไป 2. กรณมี หี นว ยงานประสงคข อใชป ระโยชนท ร่ี าชพสั ดุ (สนิ ทรพั ยป ระเภททดี่ นิ อาคาร และสงิ่ ปลกู สรา ง) ใหน ำเรอ่ื งเสนอตอ คณะกรรมการบรหิ ารงานกลมุ จงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) พิจารณาใหความเห็นชอบการใชประโยชนที่ราชพัสดุกอน แลวใหจังหวัด (ที่ไดรับมอบอำนาจ) แจงหนวยงานท่ีประสงคจะขอใชที่ราชพัสดุเปนผูนำสงข้ึนทะเบียนและแสดงความประสงคขอใช ท่รี าชพสั ดตุ อกรมธนารักษ (สำนกั งานธนารักษพ ืน้ ท่)ี

คู่มอื การโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกล่มุ จงั หวัด 82 ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ข้ันตอนท่ี 1 หนวยงานขอใชและสงคืนที่ราชพัสดุและเปลี่ยนแปลงผูใช ประโยชน - การขอใชทร่ี าชพสั ด*ุ หนวยงาน (หนวยงานรับโอน) ขอใชท่ีราชพัสดุยื่นหนังสือแสดง ความประสงคขอใชที่ราชพัสดุกับสำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี โดยแจงวัตถุประสงค ในการขอใชท่ีราชพัสดุพรอมดวยเอกสารหรือหลักฐานท่ีเกี่ยวของอยางนอย ตองประกอบดว ยขอ มูล ดังนี้ (1) รายละเอยี ดเก่ียวกบั โครงการทจี่ ะขอใชท ่รี าชพัสดุ (2) คำขอตั้งงบประมาณหรือเอกสารการไดรับอนุมัติงบประมาณ โครงการทจ่ี ะขอใชท่รี าชพัสดุ (3) แผนทแี่ สดงรายละเอยี ด ทตี่ ง้ั และพกิ ดั ของทร่ี าชพสั ดุ โดยแสดง สถานที่สำคัญที่ตั้งใกลเคียงกับที่ราชพัสดุในระยะ 10 กิโลเมตรจากท่ีต้ัง ของทร่ี าชพสั ดุและการใชประโยชนในทดี่ ินท่เี ปนทรี่ าชพัสดใุ นปจ จบุ นั ทั้งแปลง

คู่มอื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลุ่มจงั หวดั 83 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 (4) แผนผังแสดงการใชประโยชนในที่ดินเฉพาะบริเวณที่ขอใช ท่ีราชพัสดุ โดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอาคารและส่ิงปลูกสรางมีมาตราสวน ที่ถูกตองตามหลักวิชาการและรับรองโดยสถาปนิก วิศวกร นายชางโยธา หรือนายชา งสำรวจ (5) เอกสารหรอื หลักฐานอน่ื ตามที่อธบิ ดีกำหนด ในกรณีที่ราชพัสดุอยูในพื้นท่ีเดียวกันกับพื้นท่ีท่ีสวนราชการหรือ หนวยงานของรัฐแหงอื่นดูแลรับผิดชอบ ใหผูขอใชที่ราชพัสดุย่ืนหนังสือ แสดงความเหน็ ของสว นราชการหรอื หนว ยงานของรฐั ดงั กลา ว เพอื่ ประกอบการ พจิ ารณาดว ย - การสง คนื และเปลี่ยนแปลงผขู อใชประโยชนใ นทีร่ าชพัสดุ หนวยงานสง คนื ที่ราชพัสดใุ หก บั สำนักงานธนารักษพน้ื ท่ี โดยชี้แจง เหตุผลและความจำเปนในการโอนสิทธิการใชประโยชนในที่ราชพัสดุใหกับ หนวยงานใดและแสดงความประสงคใหหนวยงานใดเปนผูเขาใชประโยชน ทง้ั นี้ เอกสารการขอสงคนื ท่ีราชพัสดุ ประกอบดว ย (1) การแจงขอสงคืน ใหใ ชแ บบสงคืนที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.6) (2) แผนที่แสดงบริเวณที่ราชพัสดุท่ีขอสงคืนใหครบถวน และแจงสง คืนใหก บั สำนักงานธนารกั ษพืน้ ที่ หมายเหตุ: หากท่ีราชพัสดุที่จะสงคืนมีการบุกรุกหรือมีผูละเมิดท่ีราชพัสดุ หนวยงานจะตอง ดำเนนิ การกบั ผูบุกรุกหรือผลู ะเมดิ กอนสงคนื ที่ราชพสั ดุ ทัง้ นี้ * สิามารถึศึกษารายลัะเอียด้เพิ� มเติมเกี�ยวกับั การขอใชี้ที�ราชีพั สิดุ้ได้้ที�ค่�ม่อการอนุมัติ อนุญาต ข อ ใ ชี้ พ่� น ท�ี จ า ก สิ� ว น ร า ชี ก า ร ( ฉ บัั บั ป รั บั ป รุ ง ปี พ.ศ. 2565) ของสิาำ นกั งานปลัดั ้กระทรวงมหาด้ไทย

คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 84 ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 ข้นั ตอนที่ 2 สํานกั งานธนารักษรับคืนทร่ี าชพัสดุ สำนักงานธนารักษพื้นที่จะรับคืนท่ีราชพัสดุโดยจะพิจารณาจาก เหตุผลความจำเปน ความเหมาะสม และแจงใหหนวยงานที่เปนผูใชท่ีราชพัสดุ น้ันแตงต้ังผูแทนเพ่ือดำเนินการสงมอบที่ราชพัสดุรวมทั้งประสาน นัดหมายวัน เวลาในการสงมอบ-รับมอบทรี่ าชพัสดุ โดยการสงคนื ที่ราชพัสดจุ ะถอื วาเสร็จสน้ิ สมบูรณ ตอเมื่อกรมธนารักษหรือผูแทนของกรมธนารักษไดรับมอบที่ราชพัสดุ ตามแบบสงมอบ-รบั มอบท่ีราชพัสดุ (แบบ ทบ.10) แลว ขั้นตอนที่ 3 หนวยงานอืน่ ขอใชทร่ี าชพสั ดุกับสํานักงานธนารกั ษพ ้ืนที่ หนวยงานท่ีจะขอใชที่ราชพัสดุย่ืนความประสงคขอใชท่ีราชพัสดุ ตอสำนักงานธนารักษพ้ืนท่ี ซึ่งที่ราชพัสดุน้ันต้ังอยูพรอมท้ังแจงเหตุผลและ ความจำเปนในการขอใชท่ีราชพัสดุน้ันและเอกสารหรือหลักฐานท่ีเก่ียวของ ซ่ึงอยา งนอ ยตอ งประกอบดวยขอ มลู ดังน้ี (1) รายละเอยี ดเกย่ี วกับโครงการทจี่ ะขอใชท่ีราชพสั ดุ (2) คำขอตั้งงบประมาณหรือเอกสารไดรับการอนุมัติงบประมาณ โครงการที่จะขอใชท ี่ราชพสั ดุ (3) แผนที่แสดงรายละเอียด ที่ต้ัง พิกัดของที่ราชพัสดุ โดยแสดง สถานทส่ี ำคญั และการใชประโยชนในที่ดินท่ีเปนท่ีราชพสั ดใุ นปจจบุ ันท้งั แปลง (4) แผนผังแสดงการใชประโยชนในท่ีดินเฉพาะบริเวณท่ีขอใช ท่รี าชพัสดุ (5) เอกสารหรอื หลกั ฐานอน่ื ตามท่อี ธบิ ดกี ำหนด ในกรณีท่ีราชพัสดุอยูในพื้นท่ีเดียวกันกับพ้ืนที่ท่ีสวนราชการ หรือหนวยงานของรัฐแหงอื่นดูแลรับผิดชอบ ใหหนวยงานที่จะขอใชท่ีราชพัสดุ ย่ืนหนังสือแสดงความเห็นของสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐดังกลาว เพ่ือประกอบการพจิ ารณาดว ย

คมู่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั 85 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ขนั้ ตอนท่ี 4 สํานกั งานธนารกั ษพ น้ื ทอ่ี นญุ าตใหใ ชท รี่ าชพสั ดแุ กห นว ยงาน ส ำ นั ก ง า น ธ น า รั ก ษ พื้ น ท่ี ด ำ เ นิ น ก า ร อ นุ ญ า ต ใ ห ห น ว ย ง า น ใชท รี่ าชพสั ดเุ พอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกท างราชการ หากตอ งการเปลยี่ นแปลง การใชประโยชนเปนอยางอื่นจากท่ีไดรับอนุญาตจะตองทำหนังสือแจง ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนตอสำนักงานธนารักษพ้ืนที่ซ่ึงจะตองลงนาม โดยหัวหนาสวนราชการระดับกระทรวง กรม องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรอื ผูท่ีไดร ับมอบอำนาจจากสว นราชการดงั กลา วดว ย ในกรณีของอาคารและสิ่งปลูกสรางท่ีเปนท่ีราชพัสดุทรงคุณคา ทางประวัติศาสตร ศิลปกรรม หรือสถาปตยกรรมที่ควรคาแกการอนุรักษไว ใหถ ือปฏบิ ัติ12 ดงั นี้ 1) เปนทโ่ี บราณสถาน หากประสงคจ ะรื้อถอนหรือดัดแปลงอาคาร และส่ิงปลูกสรางใหดำเนินการตามกฎหมายวาดวยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศลิ ปวัตถุ และพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง ชาติ 2) ไมเปนโบราณสถาน หากจะร้ือถอนหรือดัดแปลงอาคารหรือ สงิ่ ปลกู สรา งตอ งไดร บั ความยนิ ยอมจากกรมธนารกั ษห รอื สำนกั งานธนารกั ษพ น้ื ท่ี แลวแตกรณี โดยในการขอความยินยอมใหผูใชที่ราชพัสดุแตงตั้งคณะกรรมการ ไมนอยกวา 3 คน อยางนอยตองประกอบดวยผูแทนจากกรมศิลปากรหรือ ผูแทนจากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด จำนวน 1 คน เพ่ือพิจารณาเหตุผล ความจำเปน และเสนอตอ กรมธนารักษเพ่ือประกอบการพิจารณา 12 หนังสอื กรมธนารักษ ดวนท่ีสุด ท่ี กค 0312/ว 90 ลงวนั ที่ 23 กนั ยายน 2565 เรอื่ งแนวทางปฏิบัติในการ บำรุง ดูแล และรักษาอาคารหรือสิ่งปลูกสรางที่เปนที่ราชพัสดุท่ีทรงคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปกรรม หรือสถาปตยกรรมทค่ี วรคาแกก ารอนรุ กั ษไว

คู่มือการโอนสินทรัพยข์ องจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด 86 ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ทงั้ น้ี กรณกี ารใหเ อกชนหรอื รฐั วสิ าหกจิ เขา ใชพ น้ื ทจี่ ะตอ งขออนญุ าต ตอ กรมธนารกั ษห รอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี และตอ งทำสญั ญาการจดั เชา กบั กรมธนารกั ษเ พอื่ นำสง คา เชา สถานทด่ี งั กลา ว เปน รายไดข องกรมธนารกั ษด ว ย

6 ตัวอยา่ งแนวทางปฏบิ ัตกิ ารโอนสินทรัพย์ ของจังหวัดและกลมุ่ จังหวัด จังหวัดและกลุมจังหวัดถือเปนสวนราชการที่สามารถจัดต้ังคำขอ งบประมาณรายจา ยประจำป ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2534 และทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2550 และพระราชบญั ญตั วิ ธิ กี าร งบประมาณ พ.ศ. 2561 ตอมาเมื่อจังหวัดและกลุมจังหวัดไดรับงบประมาณ เพ่ือดำเนินการตามแผนงาน/โครงการแลว จึงเกิดสินทรัพยทั้งรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณตาง ๆ เปน จำนวนมาก แตทั้งนี้ การจดั ตง้ั คำของบประมาณ ของจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั มขี อ จำกดั ทางดา นกฎหมาย ซง่ึ ไมส ามารถจดั ตง้ั คำขอ งบประมาณเพอื่ นำไปบรหิ ารจดั การและซอ มแซมบำรงุ รกั ษาสนิ ทรพั ยท เี่ กดิ ขน้ึ ได จึงตองมีการจำหนายสินทรัพยที่มีคุณภาพดีใหกับหนวยงานรับโอนเพ่ือนำไปใช ใหเกิดประโยชนและซอมแซมบำรุงรักษาสินทรัพยน้ันตอไป โดยการขอยกเวน การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดว ยการจดั ซอื้ จดั จา งและการบรหิ าร พัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 215 ซง่ึ กระทรวงมหาดไทยไดด ำเนนิ การขออนุมัติ ยกเวนการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังดังกลาว (คร้ังที่ 1)13 เพ่ือเปน การอำนวยความสะดวกใหแกจังหวัดและกลุมจังหวัดในการโอนสินทรัพย กรณีท่ีมีคุณภาพดีใหกับหนวยงานรับโอนโดยใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติการจำหนายสินทรัพยดวยวิธีการโอน ตามขอ 215 ของระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดว ยการจดั ซอ้ื จดั จา งและการบรหิ าร พสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ใหห นว ยงานรบั โอนกลบั พบปญ หาอปุ สรรคหลายประการ สงผลใหจังหวัดและกลมุ จังหวัดยังไมสามารถดำเนินการโอนสินทรัพยแลวเสร็จ 13 หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ดว นท่สี ดุ ท่ี มท 0212.1/13887 ลงวนั ที่ 22 สิงหาคม 2561 และหนงั สอื กวจ. ดว นทส่ี ุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/049986 ลงวนั ท่ี 13 พฤศจิกายน 2561

คมู่ ือการโอนสินทรพั ย์ของจงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัด 88 ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 จนเกิดสินทรัพยคงคางสะสมท่ีไมสามารถนำ ไปใชประโยชนได ดังนั้นกระทรวงมหาดไทยจึงไดดำเนินการขออนุมัติยกเวน การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงการคลงั อกี 2 ครงั้ (ครง้ั ท่ี 2 และ 3)14 โดยขอขยาย ระยะเวลาออกไปจนถึงปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อเปนการสนับสนุน การปฏิบัติงานของจังหวัดและกลุมจังหวัดในการโอนสินทรัพยที่คงคางสะสม ประกอบกับ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของ องคความรู เครื่องมือ หรือแนวทางการปฏิบัติที่จะชวยในการทำงานของ เจา หนา ทท่ี เี่ กย่ี วขอ งของจงั หวดั และกลมุ จงั หวดั จงึ ไดม กี ารปรบั ปรงุ และพฒั นาคมู อื การโอนสินทรัพยของจังหวัดและกลุมจังหวัด (ฉบับปรับปรุงป พ.ศ. 2566) โดยไดมีการปรับปรุงระเบียบกฎหมายท่ีมีการแกไข/เพิ่มเติมใหเปนปจจุบัน รวมทงั้ ไดด ำเนนิ การถอดบทเรยี นการปฏบิ ตั งิ านของจงั หวดั สระบรุ ี ซงึ่ มแี นวทาง การบรู ณาการขับเคล่ือนรวมกับหนวยงานที่เก่ียวของในจังหวัด (มีสำนักงาน จงั หวดั สระบรุ แี ละสำนกั งานคลงั จงั หวดั สระบรุ ี เปน หนว ยงานหลกั ) เพอ่ื สนบั สนนุ การดำเนินการโอนสินทรัพยท่ีคงคางสะสมไปยังหนวยงานรับโอนไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพและกลมุ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน2(เชยี งราย)ซง่ึ มแี นวทางและวธิ กี าร ดำเนนิ งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถดำเนนิ การโอนสนิ ทรพั ยใ หมแ ละลดจำนวน สนิ ทรพั ยท ค่ี งคา งสะสมได โดยไดส รปุ และนำมาจดั ทำเปน ตวั อยา งแนวทางปฏบิ ตั ิ การโอนสนิ ทรพั ยข องจังหวัดและกลุมจังหวดั สำหรับเปนเครื่องมอื หรอื แนวทาง ในการสนับสนนุ การดำเนินการโอนสินทรัพย และการแกไขขอ จำกดั หรือปญหา อุปสรรคของการโอนสินทรัพย เพ่ือใหสามารถดำเนินการสะสางสินทรัพยที่ยัง คงคางสะสมไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลตอไป 14 หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดว นทีส่ ดุ ท่ี มท 0212.1/2746 ลงวนั ท่ี 19 กุมภาพนั ธ 2563 หนงั สือ กวจ. ดวนทสี่ ดุ ท่ี กค (กวจ) 0405.3/25542 ลงวันท่ี 5 มิถุนายน 2563 หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดว นท่ีสดุ ที่ มท 0212.1/7632 ลงวนั ท่ี 10 พฤษภาคม 2565 และหนงั สอื กวจ. ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค (กวจ) 0405.3/22790 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2565

คมู่ อื การโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกล่มุ จงั หวดั 89 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 6.1 ปัญห�และอุปสรรคำในำก�รโอนำสินำทรัพย์ การจำหนายสินทรัพยของจังหวัดและกลุมจังหวัดจะตองปฏิบัติตาม ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560ขอ 215ทก่ี ำหนดใหห ลงั จากการตรวจสอบแลว พสั ดใุ ดหมดความจำเปน หรือหากใชในหนวยงานของรัฐตอไปจะสิ้นเปลืองคาใชจายมาก ใหเจาหนาท่ี เสนอรายงานตอหัวหนาหนวยงานของรัฐ เพื่อพิจารณาสั่งใหดำเนินการตาม วธิ กี ารอยา งหนงึ่ อยา งใด โดยการโอนสนิ ทรพั ยต ามขอ 215 (3) ของจงั หวดั สระบรุ ี และกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 พบขอจำกัดและปญหาอุปสรรค หลายประการท่ีทำใหไมสามารถโอนสินทรัพยไปยังหนวยงานรับโอน และเกิดปญหาสินทรัพยคงคางสะสมจำนวนมาก สรุปปญหาและอุปสรรค ในการโอนสนิ ทรัพย จำแนกเปน 3 ดา น ดังนี้ 6.1.1 ด้า้ นนโยบัาย (1) หลักเกณฑการจัดตั้งงบประมาณตามเจตนารมณของ พระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 (ปจจุบันถูกยกเลิกโดยพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงาน

คมู่ อื การโอนสินทรพั ยข์ องจงั หวัดและกลมุ่ จังหวดั 90 ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 เชิงพ้ืนท่ีแบบบูรณาการ พ.ศ. 2565) กำหนดใหการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และกลุมจงั หวดั เปน รายการเกยี่ วกับโครงการและแผนงานตาง ๆ ท่ีจำเปนตอง จัดทำเพ่ือเปนไปตามวัตถุประสงคและทิศทางการพัฒนาพ้ืนท่ีในอนาคต ดังน้ัน จังหวัดและกลุมจังหวัดจึงไมสามารถจัดตั้งงบประมาณเพื่อการบริหาร จัดการและซอมแซมบำรุงรักษาสินทรัพยได ทำใหเม่ือเกิดสินทรัพยจากการ ใชเงินงบประมาณรายจายของจังหวัดและกลุมจังหวัดจะตองมีหนวยงาน รับโอนสนิ ทรัพยเพือ่ นำไปใชใ หเกิดประโยชนแ ละบำรุงรกั ษาสินทรัพยน้นั ตอ ไป (2) หลักการตัดจำหนายสินทรัพยตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ 215 กำหนดใหการตัดจำหนายสินทรัพยจะตองเปนสินทรัพยที่หากใชตอไปแลว จะสนิ้ เปลอื งคา ใชจ า ยมากหรอื วา หมดความจำเปน แตก รณที รพั ยส นิ ของจงั หวดั และกลุมจังหวัดยังเปนสินทรัพยท่ีมีคุณภาพดี ดังน้ัน เม่ือตองการตัดจำหนาย จึงตองขออนุมัติยกเวนการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังดังกลาว ตอคณะกรรมการวินจิ ฉยั ปญหาการจัดซ้อื จัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ (3) ระยะเวลาการโอนสินทรัพยของจังหวัดและกลุมจังหวัด โดยกรมบัญชีกลางไดกำหนดใหจังหวัดและกลุมจังหวัดจะตองสะสางครุภัณฑ ทค่ี งคา งในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) ตง้ั แตป ง บประมาณ พ.ศ. 2553 จนถึงปจจุบัน ซึ่งระยะเวลาที่ดำเนินโครงการไดผานมาเปนระยะเวลานาน ทำใหก ารสบื เสาะและคน หาครุภณั ฑต งั้ แตป  พ.ศ. 2553 เปน ไปไดยาก 6.1.2 ด้้านระบับังาน (1) การบันทึกรับรูสินทรัพยในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) ขาดการกำหนดแนวทางในการบันทึกขอมูลท่ีชัดเจน ทำใหเกิดความคลาดเคล่ือนในการบันทึกรับรูสินทรัพยในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) สงผลใหการบันทึกขอมูลไมสมบูรณครบถวน เชน ไมม กี ารลา งบญั ชพี กั สนิ ทรพั ย เมอื่ เบกิ จา ยงบประมาณแลว เสรจ็ จงึ ไมส ามารถ ระบุสินทรัพยที่ไดจากการเบิกจายงบประมาณน้ัน การบันทึกรับรูสินทรัพย

คู่มือการโอนสินทรัพย์ของจังหวดั และกลุ่มจังหวัด 91 ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2566 ผิดประเภทหมวดสินทรัพย การบันทึกรับรูตนทุนที่เกิดข้ึนหลังจากการรับรู สนิ ทรพั ยผ ดิ พลาด ทำใหม กี ารบนั ทกึ รบั รสู นิ ทรพั ยท บั ซอ นกบั สนิ ทรพั ยท มี่ อี ยเู ดมิ การลา งบญั ชพี กั สนิ ทรพั ยท ง้ั จำนวนตามวงเงนิ โดยไมม กี ารแยกประเภทครภุ ณั ฑ ซ่ึงกรมบญั ชีกลางไดจ ดั ประเภทปญหาของการบันทกึ สนิ ทรพั ย ในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0410.3/ว 43 ลงวันที่ 29 มกราคม 2562 จำแนกเปน 3 ประเภท ไดแก กรณีมีสินทรัพย แตไมมีการบันทึกบัญชี กรณีมีสินทรัพยแตบันทึกบัญชีคลาดเคลื่อน และ กรณีไมมีสินทรัพยแตบันทกึ บัญชี (2) การจัดเก็บขอมูลและเอกสารท่ีเก่ียวของกับครุภัณฑ พบวาเอกสารที่เก่ียวของกับการจัดซ้ือจัดจางครุภัณฑบางสวนสูญหายและ บางรายการขาดความสมบูรณ (ต้ังแตปงบประมาณ พ.ศ. 2553) เปนผลให ไมส ามารถบนั ทกึ รายการลา งบญั ชพี กั สนิ ทรพั ยใ นระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) รวมทง้ั การสืบเสาะและคน หาครภุ ัณฑในโครงการได

คูม่ อื การโอนสินทรัพยข์ องจงั หวดั และกลุ่มจังหวัด 92 ฉบบั ปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 (3) การบันทึกรับรูสินทรัพยไมเปนปจจุบัน โดยไมมีการลางบัญชี พักสินทรัพยใหเปนปจจุบัน และบางรายการไมไดดำเนินการบันทึกไวในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) 6.1.3 ด้้านบัุคลัากร (1) ขาดการกำหนดหนาที่ความรับผิดชอบของเจาหนาท่ี ห รื อ ก ลุ ม ง า น ใ น แ ต ล ะ ข้ั น ต อ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร โ อ น สิ น ท รั พ ย ข อ ง จั ง ห วั ด ภายในสำนักงานจังหวัด ซึ่งอาจทำใหภาระงานดังกลาวไปอยูกับกลุมงานใด กลุม งานหน่งึ (2) ขาดแคลนบุคลากรท่ีจะรับผิดชอบงานดานการโอนสินทรัพย ของจังหวัดและกลุมจังหวัดโดยเฉพาะ เนื่องจากเจาหนาท่ีการเงินและบัญชี หรอื เจา หนา ทพี่ สั ดขุ องสำนกั งานจงั หวดั หรอื สำนกั บรหิ ารยทุ ธศาสตรก ลมุ จงั หวดั ไมเพียงพอที่จะรับผิดชอบในการบันทึกรับรูสินทรัพยในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) และการดำเนนิ การโอนสนิ ทรพั ยใ หแ กห นว ยงานรบั โอน (3) ขาดองคความรู ความเขาใจ และความเช่ียวชาญ เน่ืองจาก บุคลากรมีการแตงตั้ง (ยาย) ตำแหนง ทำใหการปฏิบัติงานขาดความตอเน่ือง ท้ังในเรื่องความเชี่ยวชาญและความกาวหนาในการโอนสินทรัพย เม่ือมี บุคลากรใหมมาทดแทนอาจไมมีความชำนาญในเรื่องการโอนสินทรัพยและ จะตอ งเรมิ่ ตนศกึ ษาเรยี นรูก ระบวนการและข้นั ตอนใหมอ กี คร้ัง

คมู่ อื การโอนสินทรพั ย์ของจังหวัดและกลมุ่ จังหวดั 93 ฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2566 6.2 แนำวท�งปฏิบัติก�รโอนำสนิ ำทรพั ย์ จังหวัดสระบุรีและกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ไดมีแนวทางปฏิบัติ ในการแกไขปญหาอุปสรรค ในการดำเนินการโอนสินทรัพยของจังหวัดและ กลมุ จงั หวดั จำแนกเปน 3 ดา น ดงั นี้ 6.2.1 ด้้านนโยบัาย ปัญหา/อปุ สรรค แนวทางปฏบิ ตั ิ จงั หวดั และกลุมจงั หวดั ไมสามารถ - ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 ไมใหดำเนินโครงการ จดั ตง้ั งบประมาณเพือ่ การบริหาร ที่มีความเสี่ยง เชน การกอสรางอาคารหรือส่ิงปลูกสรางท่ี จดั การสินทรพั ยและการซอ มแซม อาจจะไมไดใชงานอยางตอเนื่อง (ศูนยจำหนายสินคา ฯลฯ) บำรุงรกั ษาสนิ ทรัพยไ ด แตหากหนวยงานตองการเสนอโครงการในลักษณะดังกลาว จะตองจัดทำแนวทางการบริหารจัดการสินทรัพยมาดวย รวมท้ังไมใหดำเนินโครงการจัดซ้ือสินทรัพยประเภทครุภัณฑ เพ่ือลดภาระงานในการโอนสินทรัพยในปจจุบัน และให สามารถดำเนินการสะสางสินทรัพยท่ีคงคางในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) ตัง้ แตปง บประมาณ พ.ศ. 2553 ได - อาคารและส่ิงปลูกสรางที่มีการกอสรางแลว จะใหเอกชนเชา เพ่ือทำประโยชน แตจังหวัดและกลุมจังหวัดยังคงเปนผูปกครอง ดูแลทร่ี าชพสั ดุดังกลาว ระยะเวลาของการโอนสนิ ทรัพย แตงต้ังคณะทำงานสะสางสินทรัพยคงคางสะสม และกำหนด ทจี่ ะตอ งดำเนนิ การสะสาง แผนการสะสางสินทรพั ยคงคางสะสมเปน 4 ระยะ ดงั นี้ สนิ ทรัพยค งคา งสะสมต้งั แต ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 • ระยะที่ 1 ดำเนินการสะสางสินทรัพยคงคางสะสม ต้ังแตปง บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 • ระยะที่ 2 ดำเนินการสะสางสินทรัพยคงคางสะสม ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2560, พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม) และ ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 (งบกลาง) – 2561 • ระยะที่ 3 ดำเนินการสะสางสินทรัพยคงคางสะสม ตง้ั แตป ง บประมาณ พ.ศ. 2558 – 2559 • ระยะท่ี 4 ดำเนินการสะสางสินทรัพยคงคางสะสม ต้งั แตป งบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2557

ค่มู อื การโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกลุม่ จังหวัด 94 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 6.2.2 ด้้านระบับังาน (1) จงั หวดั สระบรุ แี ละกลมุ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน 2 ไดน ำแนวทาง การแกไขปญหาความคลาดเคลื่อนในการบันทึกรับรูสินทรัพยในระบบ GFMIS (และ New GFMIS Thai) ซ่ึงไดแสดงวิธีการแกปญหาการบันทึก ที่ผิดพลาด ตามหนังสอื กรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0410.3/ว 43 ลงวนั ที่ 29 มกราคม 2562 ดังน้ี 1 กรณีมสี ินำทรัพย์แต่ไม่มีก�รบันำทกึ บญั ชี 1.1 สินำทรพั ยม์ ีอ�ยใุ ช้ง�นำคำงเหลือ

ค่มู ือการโอนสินทรัพย์ของจงั หวดั และกลุ่มจงั หวดั 95 ฉบบั ปรบั ปรุงปี พ.ศ. 2566 1.2 สินำทรพั ยห์ มดอ�ยกุ �รใช้ง�นำแล้ว 2 กรณมี ีสนิ ำทรพั ย์แต่ไม่มกี �รบันำทึกบญั ชี 2.1 สนิ ำทรพั ยบ์ นั ำทกึ ไว้ในำบญั ชีพั กสนิ ำทรพั ย์