เร่อื งสัตวอ สรู ในเทพกรีก-โรมนั
สมาชกิ กลมุ 1.นางสาว เขมมิกา รตั นัง เลขที่ 17 2.นางสาว ถนิมพร วงคษาสุข เลขท่ี 18 3.นางสาว นิมติ ตา วรรณวงศ เลขที่ 20 4.นาย ภาวศทุ ธิ์ ปกกํ่า เลขท่ี 22 5.นาย พีรพล จิโนเขยี ว เลขที่ 28 6.นางสาว ธนาภรณ วงศช ัยวะ เลขท่ี 29 7.นางสาว สุนทรารัตน อคั คะ เลขท่ี 33
กระนัน้ สดุ ทา ยแลว เรอ่ื งราวเหลา นี้ก็เปนบทพสิ ูจนถึงคุณคาและความหมายในเชงิ นามธรรม ของเร่ืองเลาดวยกนั แทบท้ังสนิ้ ไมว าในเทพปกรณมั ของชาติใดในโลก แนนอนทีส่ ดุ วา มกั จะ ปรากฏเรือ่ งราวของบรรดาสตั วป ระหลาดทม่ี าในรูปของคน หรือสัตวแทบท้งั สิ้น สวนหน่ึงมองกนั วา สาเหตุที่ทําใหคนเราจติ นาการเรื่องราวข้นึ มาน้ัน กเ็ พราะพืน้ ฐานของการ ไมรโู ดยเฉพาะในอดีตทร่ี บั รแู ละเขา ในทางชวี วิทยายังมนี อยและทง้ั การเรยี นรูด านภูมิศาสตรยงั ไม กวางขวาง ทําใหจ นิ ตนาการความแปลกและแตกตางน้นั ออกไปไกลเสียจนบางครั้งยากทจ่ี ะเขาใจ ได กระน้นั ส่งิ ท่ีพสิ จู นแ ละยอมรับกันแลว ก็คอื แทจ รงิ เร่อื งราวท่ีเกดิ ข้ึนซึ่งมักจะเก่ียวของกับบรรดา เทพและตอ งมีสัตวป ระหลาดนั้น มกั จะสามารถตคี วามไดตามโครงเรอ่ื งท่จี ะตอ งมกี ารแบง แยกคูตรง ขา มเอาไวอยางชัดเจน เปน คตู รงขามทเี่ ปน ความดีกับความชว่ั เทพกบั มาร ขาวกับดําหรือคนกบั สัตว
อคี ิดนา (Echidna) อคี ิดนา (Echidna) ในตาํ นานของกรกี นั้นเปน สตรีทีง่ ดงาม แตทอนลา งเปนงูขนาดยักษ เปน ภรรยาของไทฟอน อคี ดิ นาถกู ยกั ษร อ ยตาอารก ัส ซ่งึ เปนผูรับใชของฮรี าสังหาร นางเปน อสรู กายทไี่ มค อ ยมีบทบาทมากนกั ในจาํ นวนอสรู กายที่ออกอาละวาดในยคุ ตาํ นาน เทพกรกี แตสาเหตุที่ทําใหชือ่ เสียงของอสูรกายตนนเ้ี ปนท่ีปรากฏไดห รอื ไดร ับการกลาวถึง ก็ เพราะนางเปนมารดาผูใหก ําเนดิ อสูรกายทีโ่ ดงดงั ถึง 6 ตวั ไดแ ก มังกรสองรอยตาลาดอน (Ladon) สฟงซ(Sphinx)อสรู คนคร่งึ นก ไฮดรา(Hidra)อสรู กาย 9 หวั อสรู กายราชสหี นีเมียน (Nemean) คิเมรา (Chimera)อสูรซงี่ มีหัวเปน สิงโต แพะ และงู เซอรเ บอรัส(Cerberus)สุนขั 3 หัว
ไทฟอน (Typhon) ไทฟอน (Typhon) เปนอสรู กายยักษซ่ึงไดเ กดิ มาจากพระแมธรณีไกอา (บา งคมั ภรี บ อกวาเปนเจอา ไกอา หรือไมอา) กับปศาจทารท ารสั ซึ่งถอื กําเนิดเปนไทฟอน (ในหนังสอื Mythology ของเฮดธิ แฮมิลตน อธิบายไว วาไทฟอนเปนอสุรกายรอยหวั ตาลุกไฟ และสามารถพน ไฟได) บา งกว็ า รางกายเปนคน น้ําตาเปน พิษ มีหวั รอยหัว ซง่ึ เจอาไดส่งั ใหไทฟอนไปโคนเขาโอลิมปส พลังของไทฟอนรา ยกาจถงึ ข้ันสามารถกางปก ปด โลกได เมอ่ื เคลอ่ื นไหวรา งกายจะกลายเปน พายุขนาดใหญ นอกจากนไี้ ทฟอนยงั เปน บดิ าของปศาจทง้ั ปวง สว นมารดา ของปศ าจทงั้ ปวงน้นั คอื อคี ดิ นา และตอมาผูคนทเ่ี คยเรยี กพายุนวี้ า ไทฟอน กเ็ พ้ียนมาเปน ไตฝ ุน จนถึงทุกวันน้ี
ลาดอน[Ladon] ลาดอน มังกรรอยหวั [Ladon] เปนบตุ รของไทฟอน(Typhon) และอคี ดิ นา(Echidna) ลกั ษณะท่ีเหมอื นๆกนั ในหลายตํานานคือ เปน มังกร ท่ีมีหวั ถึงหนงึ่ รอ ยฟหัว) มหี นา ท่ี เฝาสวนแหง เทพธดิ าเฮสปริดสี (Hespirides) ธิดาแหง รัตติกาล ท่ีซงึ่ วากนั วาเปน ท่ีเก็บ แอปเปล ทองคาํ ซ่ึงสวนแหง น้ี มีท่ตี ง้ั อยู ณ สดุ ขอบโลก มันมักจะเลนซอ นแอบกบั เฮส ปริดิสอยใู นสวนของนาง…
สฟงซ(sphinx) สฟงซของกรกี เปนหน่งึ ในลูก ๆ ของอคี ิดนาและไทฟอน สฟงซม ใี บหนาและทรวงอกของหญิงสาว ทอ นลางเปน สิงโตและมปี กแบบนกอนิ ทรี มลี กั ษณะนสิ ยั ชอบทรยศหักหลัง กาวราวรุนแรง และกระหายเลือด และพวกนี้ยังชอบ กินคนเปน อาหารดวย ลักษณะทีเ่ ดนชัดของสฟงซ กรกี อกี อยางหนง่ึ ก็คือ ความคลายแมว หรือจะวา อีกทกี ค็ ลา ยผหู ญงิ ดวย น่นั คอื มนั จะพดู คยุ หยอกเหยอื่ ของมนั กอ นทจ่ี ะกินเขาไป แตอยางไรกต็ าม ถา หากเกิดเหยอ่ื หนรี อดไปได สฟงซจ ะบนิ ด่ิงท้งิ ตวั กระแทกพ้นื หรืออะไรสกั อยา ง ดว ยความโกรธเกร้ยี วจนตายไปเอง
ไฮดรา (Hydra) ไฮดรา (Hydra) เปน สตั วประหลาดในเทพปกรณมั กรกี มลี ักษณะเดน คือ มหี ลายหวั แตละหัวคลา ยงู ไฮดรามี หัวทั้งหมด 9 หวั เม่ือแตละหวั ที่ถูกตัดจะมหี วั งอกข้ึนใหมไ ดไ มม ที ี่สน้ิ สุด บางปกรณัมกลา ววา มี 100 หวั บางกว็ า ไฮดรามลี าํ ตัวคลา ยสุนขั รางกายปกคลุมดวยเกลด็ และมีหางเหมือนมังกร ลมหายใจของไฮดรา มีอันตรายถงึ ขนาด ที่ทาํ ใหผ ทู ีเ่ ขาใกลถงึ แกความตาย ไฮดราเปน ทายาทของไทฟอนและอีคิดนา ไฮดรา อาศัยอยทู ี่ทะเลสาบเลอนา และถูกปราบโดยเฮราคลีส จดั เปน หนึง่ ในภารกจิ 12 ประการของเฮราคลสี
ราชสีหนเี มยี นNemean ราชสหี นีเมยี น Nemean เปนลูกของอสูรกายไทฟอน และอสรู กายอคิ ิดนา มันคือหลานของ กีอา (Gaea) พระ แมธ รณีน่นั เอง นีเมยี นอาศยั อยทู ี่บา น Nemea ลักษณะและอิทธิฤทธข์ิ องอสกู ายนีเมยี น นเี มียนเปนสิงโตยกั ษ์หนงั เหนยี ว อาวุธธรรมดาไมสามารถทําอนั ตรายมนั ได เม่ือ เฮอรค ิวลิส (Hercules) ซ่ึง เปนบตุ รของเทพเจาซีอุส และเจาหญิงแอลคมนี ี (Alcmene) ไดร ับคําสง่ั จาก ยูริทสู (Eurytheus) กษัตริย แหง ไมซินี ซง่ึ เปนญาติแตไ มค อ ยชอบหนาเฮอรค ิวลสิ เทาใดนัก สง่ั ใหเ ขาทํางาน เสยี่ งอนั ตราย 12 อยา ง เพ่ือ เปน การไถบาปตามคําทาํ นายของคนทรงจากเทวาลยั พยากรณแหงเดลฟ งานชน้ิ แรกยูรทิ ูสไดส่ังใหเ ฮอรค ิวลิ ส ไปจดั การ กับเจาอสูรากายราชสีหนีเมยี น
คเิ มียรา (Chimera) คิเมียรา (Chimera) เปนสัตวใ นเทพปกรณมั กรกี เปนลูกของอคี ิดนาและไทฟอน เปนพี่ชายของเซอรเบอรสั คิเมยี รามีรา งกายกํายาํ และเปน ทร่ี วมของสัตวร า ย 3 ชนดิ คอื สวนหวั ถงึ หนาอกเปน สงิ โต ลาํ ตวั เปน แพะบนั้ ทา ยเปน มงั กรหรืองู นอกจากน้ี ยงั สามารถพนไฟไดเหมอื นมังกรอีกดว ย คิเมียราถกู วีรบุรษุ เบลเลอโรฟอนผขู มี่ าบินเพกา ซสั แทงตายดว ยหอก เพราะคเิ มยี ราประกอบดว ยสว นของสตั วราย 3 ชนิดทีไ่ มนารวมกนั ได ปจจุบนั คําวา คิเมยี รา จึงเปน ช่ือเรยี กส่งิ มชี วี ิตรปู รา งแปลกประหลาดหลายชนิด เชน ปลาทะเลน้าํ ลึกกระดกู ออนจาํ พวกหน่ึง
เซอรเบอรัส (Cerberus) เซอรเ บอรัส หรือ เครเบรอส (Cerberus) ในเทพปกรณัมกรีกและโรมนั เปนหมาหลายหัว (ปกติมสี าม) มี หางอสรพิษ พงั พานงู และกรงเล็บสิงโต มนั เฝาทางเขาโลกบาดาลเพ่อื ปองกันคนตายมใิ หห ลบหนีและคน เปนมใิ หเ ขา เซอรเบอรสั ปรากฏในวรรณกรรมกรีกและโรมนั โบราณหลายงาน และในงานศิลปะและ สถาปตยกรรมทั้งโบราณและสมัยใหม แมการพรรณนาเซอรเบอรสั แตกตางกันแลวแตต คี วาม ความแตก ตางที่สําคญั ท่สี ดุ คือ จํานวนหัว แหลง ขอ มูลสว นมากอธบิ ายหรือบรรยายไวส ามหัว แตแ หลง อ่นื แสดง เซอรเบอรสั มีสองหวั หรือหวั เดียว มแี หลงนอยกวา น้นั ท่แี สดงจํานวนตาง ๆ บางวาหา สิบหรือกระท่ังหนงึ่ รอย
เพกาซัส (Pegasus) เพกาซสั หรือ เปกาซอส หมายถึง แข็งแรง เปนสตั วใ นเทพนยิ ายกรีก มีลักษณะเปนมารา งกาํ ยํา พวงพีสีขาวบรสิ ทุ ธิ์ และมีปก อนั กวางสงา งามเหมอื นนกพิราบ ประวัติของเพกาซัสตวั น้ีคอนขางจะนาขนลุกอยสู กั หนอ ย เรอ่ื งเริม่ มาจากนางการก อนเมดูซา ถูก วรี บรุ ุษเพอรซอี ุสฟนคอขาดตาย ในขณะท่ีนางสนิ้ ใจตายนัน้ มรี า งของมา กํายําพวงพี พรอมดวยปกอนั กวาง สงา งามกระโจนออกมาจากลําคอของนาง มา ตัวนนั้ คอื เพกาซัสนน่ั เอง เมื่อออกมาแลวมนั กแ็ ผลงฤทธิ์ จนไมม ใี ครสามารถปราบได ทั้งทีเ่ พกาซสั เปน ความหวังของใครหลายๆ คน นอกจากความเกงกลา ในการว่งิ และบนิ แลว เพกาซัสยงั มีความสามารถอีกอยางคือตอนทมี่ ันเกดิ มาใหม ๆและออกว่งิ อยางคกึ คะนองน้นั น้าํ ทก่ี ระเซ็นจากรอยเทา ทม่ี ันว่ิงกอ ใหเ กดิ น้าํ พสุ วยงามทกี่ วแี ละศิลปน ช่นื ชมกนั นกั หนา คอื นา้ํ พุฮปิ โปครนี ี (Hippocrene) ที่รูจกั ในวรรณคดกี รีกโบราณ
กรฟิ ฟน (griffin) กริฟฟอน หรอื กริฟฟน (griffin, gryphin, griffon หรอื gryphon) คอื สัตวใ นเทพนยิ ายรางกายเปนครึ่งนกอินทรี ครึ่งสิงโต โดยสวนหวั ขาคูหนาและปก เปนนกอนิ ทรี สวนลาํ ตวั และขาคูหลงั เปนสงิ โต และมหี างเปนงู บางจาํ พวกกม็ ี หางของสิงโต ขนบนหลังเปน สีดาํ ขนทอี่ ยูขา งหนา เปนสีแดง สว นขนปก เปนสีขาว อาศยั อยใู นถ้ําตามภเู ขา ตามตาํ นานกรกี กริฟฟนเปนสัตวเทพผูพทิ ักษเ หมืองทองคาํ ของดนิ แดนไฮเปอรโบเรีย (ดนิ แดนในตํานานซง่ึ อยู ทางข้ัวโลกเหนือ มแี สงอาทติ ย และความอุดมสมบูรณต ลอดกาล) เปนรูปจําแลงของเทพีเนเมซสิ เทพแหง ความ พยาบาท ซึ่งทําหนา ที่หมนุ วงลอ แหงโชคชะตา, นอกจากนยี้ ังเปนผูลากรถมาของพระอาทติ ย (เทพอพอลโล) อีกดวย กริฟฟนน้ันเปนสัญลักษณข องพลังอาํ นาจ และบางคร้ังยังถือวากริฟฟน เปนสัญลักษณข องความหย่ิงยโสอกี ดวย
เมดูซา (Medusa) เมดูซาเปนสตั วประหลาด กอรกอน ท่วั ไปอธบิ ายวา มใี บหนามนุษย มีงูพิษเปนผม หากจองเธอโดยตรงจะถกู เปล่ยี นเปน หนิ แหลง ขอมลู สว นมากอธบิ ายวาเธอเปน ธิดาของฟอรซีสและซโี ต เมดซู าถูกวรี บรุ ษุ เพอรซิอุสตดั หวั จากนั้นเขาใชศรี ษะเธอเปนอาวุธ[1] กระทัง่ เขาถวายแดเ ทพีอะธนี าซึ่งนาํ ไป ติดบนโลข องพระนาง ในสมยั โบราณคลาสสิก ภาพศรี ษะเมดูซาปรากฏในอปุ กรณขับไลความช่ัวรา ย เรยี ก กอรกะ เนยี น
นมิ ฟ (nymph) นิมฟ (nymph) คือสตรีท่ีเปน รางตัวแทนของส่ิงตา งๆ ในธรรมชาติ ไมวาจะเปนรางที่ยดึ ติดกับสถานท่ีแหงใด แหงหนงึ่ หรือเปนผตู ดิ ตามของเหลาทวยเทพ ซึ่งโดยปกตแิ ลวมักจะตกเปน เปาหมายของเหลา ซาไทร (satyr) ตณั หาจัด วอลเตอร เบอรเ คิรต (Walter Burkert) กลา ววา \"ความคดิ ที่วา แมน ํา้ คอื เทพเจา และน้าํ พุคอื นมิ ฟนนั้ ไมได เปนแคค วามนกึ คดิ ของนักกวี หากแตยังเปนถงึ ความเช่ือและพธิ กี รรมอกี ดวย การบชู าเทพเจา เหลานี้ถูกจาํ กดั อยู เพียงสถานท่ีหนึ่งที่ใดทีพ่ วกเขาไมสามารถแยกออกจากสถานทแ่ี หง นน้ั ได\" นิมฟน บั เปน บุคคลาธิษฐานของการ สรรสรางของธรรมชาติ ซ่งึ บอยครัง้ มกั ใชเปนสญั ลกั ษณข องน้ําพุ
เซนทอร (centaur) เซนทอร (centaur) เปนสตั วช นิดหน่ึงในเทพปกรณัมกรกี มรี างสว นบนเปนมนุษยผ ชู าย แตสว นลาํ ตัวลงไป เปนมา หนมุ ท่ีมกี ลามเน้อื เปน มดั ๆ สงางาม อาศยั อยแู ถบภเู ขาของอาคาเดีย และเทสสาลใี นประเทศกรีซ เซนทอรม สี องตระกลู โดยตระกลู หน่งึ เกดิ จาก อิคซอน อันธพาลแหงสวรรคทข่ี ้นึ ชื่อ กับอกี ตระกูลที่เกดิ จากโค รนสั ฝายหลังมอี ุปนสิ ัยดแี ตกตางจากฝา ยแรกมาก เซนทอรต ระกลู อคิ ซอน เกดิ จากอิคซอนกบั เนฟล ี มีพละกําลงั มาก ชอบดืม่ ไวนก ับชอบไลควาผหู ญิง ซํ้าชอบ ทะเลาะเวลาเมา เซนทอรจึงถูกมองวา เปน พวกข้เี มาไมกลัวใครท้ังสน้ิ
ฟอน (faun ฟอน (faun) เปน สตั วใ นเทพปกรณัมโรมัน ทอนบนจากศรี ษะลงไปถึงเอวเปน มนษุ ยแตม เี ขาและหูของแพะ ทอ นลา งจากเอวถงึ เทา เปน แพะ อาศยั อยใู นปา มคี วามเก่ียวของกบั เซเทอรในเทพปกรณัมกรีก ฟอนสรา งความกลัวใหแ กมนษุ ยที่กําลงั เดินทางในสถานที่ทเ่ี ปลี่ยว และหางไกลจากเมือง แตส ามารถชว ย บอกทางใหแกม นษุ ยท กี่ าํ ลงั หลง สงิ่ น้พี บไดในนิทานเร่อื ง เซเทอรแ ละนกั เดนิ ทาง (The Satyr and the Traveller) ซื่งชื่อเรอ่ื งในภาษาละตินคอื เฟานุส (Faunus; แปลวา ฟอน ในภาษาละติน) เดิมที ฟอนกับเซ เทอรเปนสตั วท ตี่ างกันมาก คอื ฟอนเปน สตั วค รง่ึ มนษุ ยค รึง่ แพะ สว นเซเทอรเปนคนแคระทอ่ี ัปลักษณ อว น ลา่ํ สนั และมขี นมาก หรอื บางทีเช่ือวาเปน คนปา มหี ูและหางของมาหรือลา นอกจากน้ี เคยเช่อื กนั วา เซ เทอรมเี สนหกบั มนุษยเพศหญงิ มากกวาฟอน และฟอนไมฉลาดเหมือนเซเทอร
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: