หน่วยการเรียนรทู้ 2ี่ สารละลาย (Solution) Objecitve 1.เพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความสำคญั ของสารละลาย การละลายของสารในตัวทำาละลาย ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การละลายของสาร 2.เพอื่ อธบิ ายการเปล่ียนแปลงสมบตั มิ วลและพลังงานของสารเมอ่ื สาร เกิดการละลายได้ 3.เพือ่ ใหม้ ที ักษะในการวิเคราะหป์ จั จัยที่มผี ลตอ่ การละลาย
Content 1. ความหมายของสารละลาย 2. องคป์ ระกอบของสารละลาย 3. พลงั งานกบั การละลายของสาร 4. ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การละลาย 5. ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย Quiz นักศึกษาคดิ ว่า นำ้ เช่อื ม จดั เป็นสารละลายหรือไม่เพราะอะไร
ทบทวนความรู้พ้ืนฐาน เรือ่ งสาร - สมบตั ิกายภาพ ( Physical Property ) หมายถงึ สมบตั ทิ ีส่ ังเกตไดจ้ ากลักษะณะภายนอก และ เกีย่ วกับวิธีการทาง ฟิสกิ ส์ เช่น ความหนาแนน่ , จดุ เดือด , จดุ หลอมเหลว - สมบตั ิทางเคมี (Chemistry Property) หมายถงึ สมบตั ิทเ่ี กดิ ข้ึนจากการทำปฏิกริ ยิ าเคมี เชน่ การตดิ ไฟ, การเปน็ สนมิ , ความเปน็ กรด - เบส ของสาร ความหมายของสารละลาย สารละลาย (Solution) หมายถงึ สารทีป่ ระกอบดว้ ยอนภุ าคของสารบรสิ ุทธ์ิ (ธาตุหรอื สารประกอบ) ตง้ั แต่2ชนดิ ขน้ึ ไป ละลายเปน็ เน้ือเดยี วกัน แบ่งเปน็ 2 สว่ น คอื ตวั ทำลาย และตวั ทำลาย โดยตัว ถูกละลายจะมสี ัดสว่ นจำกดั ใน ระดับหนึ่ง หากมสี ัดสว่ นมากเกิดพอจะเกดิ การตกผลึกกลายเปน็ ของแขง็ ท้งั นี้ สารละลายจะมอี ัตราส่วนการ รวมตวั ของทำลาย และตัวถกู ทำลายทไ่ี ม่คงท่ี ทำใหส้ ารละลายมีจุดเดือด และจดุ หลอมเหลวไมค่ งทต่ี ามมา
องค์ประกอบของสารละลาย 1. ตวั ทำาละลาย(Solvent) ตวั ทำละลายคือสารท่ท่ีใหอ้นุภาคของสารอื่นสามารถแทรกกระจายตัวอยไู่ ดแ้ ละ เปน็ สารที่มีปีรมิ าตรมากกวา่ ตวั ถูกละลาย ซ่ึงเปน็ ไดท้ ั้งของแขง็ ของเหลวและก๊าซ 2. ตวั ถูกละลาย(Solute) ตัวถกู ละลาย เปน็ ไดท้ ่ังของแขง็ ของเหลวและก๊าซ การละลายของสารในตัวทำลาย การเตรยี มสารละลาย การนำตวั ทำละลายและตวั ละลายมาผสมกนั อาจทำให้เกดิ สารละลายประเภทตา่ งๆ ไดด้ งั นี้ 1. สารละลายเข้มขน้ (Concentrated Solution) เปน็ สารละลายทม่ี ีปริมาณของตัวละลายอยู่มากใน สารละลาย 2. สารละลายเจอื จาง (Dilute Solution) เป็นสารละลายทม่ี ปี ริมาณของตวั ละลายอย่นู อ้ ยในสารละลาย 3. สารละลายอิ่มตวั (Saturated Solution) เป็นสารละลายท่ีมปี ริมาณตัวละลายมากท่ีสดุ ทจ่ี ะสามารถ ละลายไดใ้ นตวั ท าละลาย และไมส่ ามารถละลายไดอ้ กี ณ อณุ หภมู ิขณะนั้น
สารละลายกระ – เบส * สารละลายกรก (Acid Solution) การแบ่งประเภทของสารละลายกรด 2.1 กรดอนิ ทรยี ์ (Organic Acid) เป็นกรดท่ีไดจ้ าก ธรรมชาตหิ รอื จากสงิ่ มชี วี ติ มีธาตคุ าร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) หรือหมคู่ าร์บอกซิล (COOH) เปน็ องค์ประกอบ เช่น ➤ กรดแอซีติก (Acetic Acid) หรือกรดน้ำส้ม ➤ กรดซติ ริก (Citric Acid) หรือกรดมะนาว ➤ กรดแอสคอรบ์ ิก (Ascorbic Acid) หรอื วติ ามิน 2.2 กรดอนนิ ทรีย์ (Inorganic Acid) เปน็ กรดทไี่ ด้ จากแร่ธาตุ มคี วามสามารถในการกดั กร่อนสูง ถ้าถกู ผิวหนัง หรือเน้อื เยอื่ ของรา่ งกายจะท าใหไ้ หมแ้ สบ หรอื มีผ่ืนคนั เชน่ ➤ กรดไฮโดรคลอริก (Hydrochloric Acid) หรือ กรดเกลอื ➤ กรดไนตรกิ (Nitric Acid) หรอื กรดดินประสวิ ➤ กรดคาร์บอนกิ (Carbonic Acid) หรือกรดหินปูน
พลงั งานกบั การละลายของสาร
ปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการละลาย
ความเข็มข้นของสารละลาย 1.รอ้ ยละโดยนำ้ หนกั (มวล) หมายถึง มีตัวถูกละลาย หน่วยกรัม ละลายในสารละลาย 100 กรมั ตัวอย่าง Naci เข็มขน้ 10%โดยมวลในสารละลาย 100 กรัม คือ ในสารละลาย 100 กรมั มี NaCI ละลาย 10 กรมั หรือ NaCI จำนวน 10 กรมั ละลายใน 90 กรมั 2.ร้อยละโดยปริมาตร ปรมิ าตรของตวั ถูกละลายท่ีละลายในสารละลาย 100 หนว่ ยปริมาตรเดียวกนั ตวั อย่าง สารละลาเอทานอลเขม้ ขน้ 25% โดยปริมาตร คือ ในสารละลาย 100 ลบ.ซม. มีเอทานนอลละลาย 25 ลบ.ซม. หรือเอทานอล จำนวน 25 ลบ.ซม. ละลายในน้ำ 75 ลบ.ซม. 3.ร้อยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร มวลของตังละลายในสารละลาย 100 หนว่ ยปริมาตร ตวั อยา่ ง สารละลายนำ้ เช่อื มเข้มข้น 15% โดยมวลต่อปริมาตร คือ น้ำตาล จำนวน 15 กรมั ละลายในนำ้ 85 ลบ.ซม.
สตู รหาความเข้มข้นของสารละลาย 1.1 ร้อยละโดยน้ำหนัก (weight/weight) %(w/w)= นำ้ หนกั ของตวั ถูกละลายเป็นกรมั x 100% น้ำหนกั สารละลายเปน็ กรัม 1.2 รอ้ ยละปริมาตรต่อปรมิ าตร (volume/volume) %(v/v)= นำ้ หนักของตัวถูกละลายเปน็ Cm3 x 100% นำ้ หนกั สารละลายเปน็ Cm3 1.3 รอ้ ยละมวนตอ่ ปรมิ าตร (Weight/volume) %(w/v)= นำ้ หนกั ของตวั ถูกละลายเป็นกรัม x 100% ปริมาตรสารละลายเปน็ Cm3
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: