ขอ้ มูลสว่ นที่ ๑ นวัตกรรมข้อมลู สารสนเทศสถานีอุตุนิยมวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ เรม่ิ ตั้งสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยา (อดีต – ปจั จบุ ัน) ๑. ประวตั ิสถานอี ตุ นุ ยิ มวิทยา (อดตี – ปจั จบุ นั ) / ภาพถ่ายสถานอี ุตนุ ยิ มวิทยา อาคารทีท่ าการสถานีอุตุนยิ มวิทยาจันทบรุ ี กลุ่มงานอากาศเกษตรพลวิ้ (ต้งั อยูภ่ ายในอาคารศนู ยว์ จิ ยั พืชสวนจนั ทบรุ ี) ๑.๑ วนั ทเี่ รม่ิ ก่อสร้างสถานีอุตนุ ิยมวทิ ยา : ๒๕๐๘ ๑.๒ วนั ท่ี / เดือน / ปี / ทเี่ ริ่มตรวจอากาศ : ๑๙ กนั ยายน ๒๕๐๙ ๑.๓ รายละเอียดของการเปลย่ี นแปลงทั้งหมด (ถา้ มี) พรอ้ มอธิบาย , ภาพถ่ายประกอบ ๒. ครภุ ัณฑส์ ิ่งปลูกสรา้ งภายใน สถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา (อดีต – ปจั จุบนั ) / แผนฝงั ภายในสถานี / พรอ้ มภาพถา่ ยประกอบ ๒.๑ อาคารทท่ี าการสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยา : อาคารทที่ าการสถานีอตุ ุนิยมวทิ ยาจันทบรุ ี กล่มุ งานอากาศเกษตรพลิ้ว (ตั้งอยู่ภายในอาคารศนู ยว์ ิจัยพชื สวนจนั ทบรุ ี)
๒.๒ บา้ นพักขา้ ราชการ จานวน ๓ หลัง ๒.๓ สิง่ ปลูกสร้างอน่ื ๆ ๓. อตั รากาลงั ขา้ ราชการ (อดตี – ปัจจบุ นั ) ๓.๑ เจ้าพนักงานอตุ ุนิยมวทิ ยา ระดับอาวโุ ส - ๓.๒ เจ้าหนักงานอุตุนยิ มวทิ ยา ระดบั ชานาญงาน ๑ อตั รา / ปฏิบตั งิ าน ๒ อัตรา อตั รากาลงั ขา้ ราชการ (ปัจจบุ ัน) ช่ือ - สกลุ เรม่ิ ปฏบิ ตั ิงาน – ปัจจุบัน ๒ ตค. ๒๕๓๒- ปัจจุบนั นายเป้ย เสถยี ร /ระดับชานาญงาน ๑ ธค. ๒๕๕๔- ปจั จบุ นั ๓ พย. ๒๕๕๘- ปัจจบุ นั นางสาวชลธลิ า จนี ประชา /ระดับปฏิบตั ิงาน นางสาววรรณทชิ า คลอ้ ยสวาท /ระดบั ปฏิบตั งิ าน ๓.๓ ลูกจ้างประจา/นกั การภารโรง เร่ิมปฏบิ ตั ิงาน – ปัจจบุ ัน ชอ่ื - สกลุ ๓.๔ ประวตั ิผู้หัวหน้าสถานอี ุตุนิยมวิทยา (อดตี – ปัจจุบัน) ชอื่ - สกุล เริ่มปฏบิ ตั งิ าน – ปัจจุบัน นายไพชยนต์ ยอดอดุ ม นายเป้ย เสถียร
๔. ผังองค์กรอัตรากาลัง (ในปจั จบุ นั ) กลุ่มงานตรวจอากาศจนั ทบุรี นายสมพล คุ้มพว่ งดี กลุ่มงานอากาศเกษตรพลว้ิ เจา้ พนกั งานอตุ ุนิยมวทิ ยาอาวโุ ส ผ้อู านวยการสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาจนั ทบรุ ี กล่มุ งานตนราวยจออาาคกมาศสชขุ ั้นสบมนนจึกนั ทบรุ ี ผ้อู านวยการสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยา กาญจนบุรี สมพรพงษ์ ปากน้า นางลัดดาวลั ย์ อินทรส์ ืบ นายเป้ย เสถียร เจ้าพนักงานอุตุนิยมวทิ ยาชานาญงาน เจา้ พนักงานอตุ ุนิยมวทิ ยาชานาญงาน เจ้าพนกั งานอุตุนิยมวทิ ยาชานาญงาน หน.กลุม่ งานอากาศเกษตรพล้วิ นางสาวเฉลิมพร ทพิ โสภา นางสาววรรทชิ า คล้ายสวาท นางสาวชลธิชา จนิ ประชา เจา้ พนักงานอตุ นุ ิยมวิทยาชานาญงาน เจา้ พนกั งานอุตุนิยมวทิ ยาปฏิบตั งิ าน เจ้าพนกั งานอุตนุ ิยมวิทยาปฏบิ ตั ิงาน นางสาวภทรณัฐ พรหมาาศ นกั อุตุนยิ มวิทยาปฏิบตั ิการ
๕. หนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบของสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา ๑. ตรวจและบนั ทึกสารประกอบอตุ นุ ิยมวิทยา ลกั ษณะลมฟา้ อากาศ และปรากฏการณ์ตา่ งๆ ๒. บรกิ ารดา้ นสถิตขิ ้อมลู ด้านอตุ นุ ยิ มวิทยาแก่บุคคลท่วั ไป และหนว่ ยงานราชการตา่ งๆ ๓. จดั ทารายงานผลการตรวจอากาศและรวบรวมสง่ กรมอุตุนยิ มวิทยา ๔. จัดทาและควบคมุ บัญชวี ัสดแุ ละครุภณั ฑ์ของสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาจนั ทบุรี (กลุ่มงานตรวจอากาศ เกษตรพล้วิ ) ๕. รับและกระจายข่าวพยากรณอ์ ากาศ คาเตือน ขา่ วอุตนุ ิยมวิทยา แก่สว่ นราชการต่างๆ และ ประชาชนที่สนใจ ๖. ร่วมมอื และประสานงานกับหนว่ ยราชการและเอกชนที่ขอความร่วมมือ ๗. เปน็ วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับเรือ่ งอตุ นุ ิยมวิทยาแก่หนว่ ยงานตา่ งๆในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบหรอื เขต พ้นื ทีอ่ ื่นๆ ตามคารอ้ งขอ ๖. พื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยา รับผิดชอบ 10 อาเภอ ได้แก่ ๑. อาเภอเมอื งจนั ทบรุ ี ๒. อาเภอทา่ ใหม่ ๓. อาเภอขลงุ ๔. อาเภอแหลมสงิ ห์ ๕. อาเภอโป่งน้ารอ้ น ๖. อาเภอมะขาม ๗. อาเภอสอยดาว ๘. อาเภอนายายอาม ๙. อาเภอแก่งหางแมว ๑๐.อาเภอเขาคชิ ฌกฏู
ข้อมลู ส่วนที่ ๒ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ๑. ชื่อสถานีอตุ นุ ยิ มวิทยา และรายละเอียด อดตี – ปจั จุบนั ๑.๑ ชอ่ื ภาษาไทย : สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาจนั ทบรุ ี กลมุ่ งานอากาศเกษตรพลว้ิ ๑.๒ ช่อื ภาษาอังกฤษ : Phlew Agrometeorological Observations Group ๑.๓ ชอื่ เดิม - ช่อื ปจั จุบนั : สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาจันทบรุ ี กล่มุ งานอากาศเกษตรพล้ิว ๑.๔ เลขประจาสถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยา (WMO) : 48481 ๑.๕ เลขประจาสถานีสถานีฝน (Local Rain Station) : 480301 ๑.๖ ประเภทสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา : ตรวจอากาศผวิ พ้ืน (Surface) ๑.๗ ระยะอ้างองิ (ระหว่างสถานใี กล้เคยี ง) : ห่างจาก สถานีอุตนุ ิยมวทิ ยาจนั ทบุรี ๑๖.๐ กม. ๒. ทต่ี ้งั สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (Location) อดีต – ปัจจุบัน ๒.๑ สถานทตี่ งั้ ของสถานอี ุตุนิยมวทิ ยา : ๖๓/๑ หมู่ ๖ ตาบลตะปอน อาเภอขลุง จงั หวัดจนั ทบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ ๒๒๑๑๐ ๒.๒ หมายเลขโทรศพั ท์ : ๐๓๙-๓๙๗๒๔๑ ๒.๓ E-Mail สถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา : [email protected] ๒.๔ เวบ็ ไซต์ สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยา (-) ๒.๕ เนื้อท่ีกอ่ สรา้ งสถานี ฯ ๒๖๘ ไร่ (ต้ังอยภู่ ายในศนู ย์วจิ ัยพชื สวนจันทบุรี กรมวชิ าการเกษตร) ๒.๖ แสดงพิกดั สถานีอตุ ุนิยมวทิ ยาพลิ้ว : ละติจูด ๑๒ํ ๓๑่ ๐๐ํ่ ่ องศาเหนอื ลองตจิ ูด ๑๐๒ ๑๐่ ๐๐่ ่ องศาตะวนั ออก ๒.๗ ความสงู ของสถานจี ากระดับนา้ ทะเล ๒๔.๒๐ เมตร ๒.๘ ระยะอา้ งองิ บรเิ วณรอบสถานอี ตุ ุนยิ มวิทยา -ทศิ ตะวนั ออกของจังหวัดจนั ทบุรี มเี นือ้ ที่ ๑๓.๗๐ ตร.กม. - เสน้ ทางจากกรงุ เทพฯ สามารถเดนิ ทางตามถนนสุขุมวทิ สายบางนา - ตราด ระยะทางประมาณ ๒๕๙ กม. ๒.๙ แสดงแผนผังสถานี และขอบเขตสถานี
๓. สภาพภมู ิประเทศ (Environment) พรอ้ มคาอธิบาย / ภาพถ่าย ตัง้ อยูภ่ ายในศนู ยว์ ิจัยพืชสวนจนั ทบรุ ี กรมวิชาการเกษตร ใชอ้ าคารอานวยการของศนู ยว์ ิจัยพชื สวนจนั ทบุรี เป็น อาคารทที่ าการ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของแนวเขาสระบาป ด้านหน้าของศนู ย์วิจัยพืชสวนจนั ทบุรีตดิ ถนนสุขุมวทิ ดา้ นขา้ งท้ังสองดา้ นติดสวนผลไมข้ องเกษตรกร ดา้ นหลังติดแนวเขาสระบาป ห่างจากตัวเมอื งจนั ทบุรี ๑๖ กม. หา่ ง จากกรงุ เทพมหานครไปตามถนนสขุ ุมวิท ๒๕๐ กม. ๓.๑ สภาพภูมิประเทศ รอบสถานีอุตุนยิ มวทิ ยา / แผนท่ฯี อัตราสว่ น ๑ : ๕๐๐๐ สภาพพื้นทโี่ ดยท่ัวไปทางด้านทศิ เหนือและทศิ ตะวนั ออก เปน็ ปา่ ไม้ ภเู ขา และทรี่ าบสูงเปน็ สว่ นใหญ่ อยสู่ ูง จาก ระดับนา้ ทะเล ๓๐-๑๙๐ เมตร ทศิ ใตเ้ ป็นชายฝง่ั ทะเลมลี กั ษณะเป็นทีร่ าบลุ่ม บางแหง่ เปน็ อ่าวแหลมและหาด ทราย สูงจากระดบั นา้ ทะเล ๓๐-๑๙๐ เมตร พ้ืนทจี่ ังหวัดจนั ทบรุ ี แยกลักษณะภูมิประเทศออกไดเ้ ป็น 3 ลักษณะ คอื -ภเู ขาสงู และเนนิ เขา -ที่ราบสงู และท่รี าบเชิงเขา -ที่ราบลมุ่ นา้ และทร่ี าบชายฝง่ั ทะเล ทิศเหนอื ติดจงั หวัดฉะเชิงเทรา และจงั หวัดสระแก้ว ทศิ ตะวนั ออก ติดจงั หวดั ตราด และราชอาณาจักรกมั พูชา ทศิ ใต้ ตดิ อ่าวไทย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ จังหวัดระยอง และจงั หวัดชลบรุ ี ๓.๒ เงาของวตั ถุ หรืออาคาร หรอื ตน้ ไม้ ตกกระทบบนสนามอุตุนยิ มวทิ ยา หรือไม่ / กรณีมเี งาตก กระทบให้เขียนแผนผงั หรือภาพถา่ ยประกอบ และอธิบายทศิ ทาง และช่วงเวลาทีต่ กกระทบ ตามฤดกู าล : ไม่มี
๔. สภาพแวดลอ้ มโดยรอบสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา ระยะ ๕ กม. (ปัจจบุ นั ) / แผนฝงั บรเิ วณรอบสถานี อตุ นุ ยิ มวทิ ยา / สง่ิ ปลกู สรา้ งต่างๆ / พร้อมภาพถ่ายประกอบ ๔.๑ ระยะ ๐.๑ - ๐.๕ กม. อธิบาย ตยู้ ามจราจรแยกกสิกรรม ทศิ ๒๒๐ ๔.๒ ระยะ ๐.๕ - ๑.๐ กม. อธิบาย วัดชากใหญ่ ทิศ ๒๖๐ ๔.๓ ระยะ ๑.๐ - ๒.๐ กม. อธบิ าย วดั มังกรบุปผาราม ทศิ ๓๑๐ ๔.๔ ระยะ ๒.๐ – ๓.๐ กม. อธบิ าย ไปรษณยี พ์ ลว้ิ ทศิ ๓๑๐ ๔.๕ ระยะ ๓.๐ – ๔.๐ กม. อธิบาย อทุ ยานแหง่ ชาตินา้ ตกพล้ิว ทศิ ๔๐ ๔.๖ ระยะ ๔.๐ – ๕.๐ กม. อธิบาย การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคอาเภอแหลมสงิ ห์ ทิศ ๒๖๐ แผนผังบรเิ วณรอบสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยา (รปู ภาพประกอบ) ๔.๐ – ๕.๐ ๓.๐ – ๔.๐ ๒.๐ – ๓.๐ ๑.๐ – ๒.๐ ๐.๕ – ๑.๐ ๐.๑ - ๐.๕
ข้อมลู ส่วนท่ี ๓ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ การตรวจอากาศ (อดีต – ปจั จบุ นั ) ๑. การตรวจอากาศ ๑.๑ เริ่มทาการตรวจอากาศครง้ั แรก เม่อื ๑๙ กันยายน ๒๕๐๙ ๑.๒ การตรวจสารประกอบอุตุนยิ มวทิ ยา อะไรบ้าง / ชนดิ ๑.๓ การตรวจสารประกอบอุตนุ ิยมวิทยา เวลาการตรวจ / ช่วงระยะการตรวจฯ สถานอี ุตนุ ยิ มวิทยาจนั ทบุรี กล่มุ งานอากาศเกษตรพล้วิ ทาการตรวจอากาศผิวพน้ื ทุกวนั วนั ละ ๘ เวลา ทกุ ๓ ช่ัวโมง โดยจะทาการ ตรวจอากาศเวลา ๐๑.๐๐,๐๔.๐๐,๐๗.๐๐,๑๐.๐๐,๑๓.๐๐,๑๖.๐๐,๑๙.๐๐ และ ๒๒.๐๐ น. และทาการตรวจอากาศตามคาสั่ง ของกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยาในกรณพี เิ ศษ ท่ี สารประกอบอตุ นุ ิยมวิทยา เวลา (น.) ๐๑.๐๐ ๐๔.๐๐ ๐๗.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๓.๐๐ ๑๖.๐๐ ๑๙.๐๐ ๒๒.๐๐ ๑ ตรวจวัดความกดอากาศ //////// ๒ ตรวจวัดอุณหภูมิตมุ้ แหง้ //////// ๓ ตรวจวัดอณุ หภูมติ ุม้ เปียก //////// ๔ ตรวจวัดอุณหภมู ิสงู สุด / ๕ ตรวจวัดอณุ หภมู ติ า่ สดุ / ๖ ตรวจวัดความชนื้ สมั พทั ธ์ //////// ๗ ตรวจวัดทิศทาง/ความเรว็ ลม / / / / / / / / ๘ ตรวจวัดทศั นะวิสัย //////// ๙ ตรวจวัดฝน //////// ๑๐ ตรวจการระเหยของน้า / ๑๑ ตรวจชนดิ เมฆ //////// ๑๒ ตรวจลักษณะคลนื่ ลมทะเล ๑๓ ตรวจปรากฏการณธ์ รรมชาติ / / / / / / / /
๒ การตรวจวดั เปา้ ทัศนะวสิ ยั ของสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา / รปู ภาพประกอบ / พร้อมอธบิ าย
๓. เคร่อื งมอื ตรวจอากาศ ๓.๑ สนามอตุ ุนยิ มวิทยา / แบบชนดิ /ขนาด (กวา้ ง X ยาว) / ภาพถา่ ย/ พรอ้ มอธบิ าย ด้านทศิ เหนอื ด้านทศิ ใต้ ด้านทศิ ตะวนั ออก
ดา้ นทศิ ตะวนั ตก ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้
ทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ๓.๒ เครือ่ งมือตรวจอากาศ /สูงจากพนื้ ดนิ (Elevation) / ภาพถ่าย /พร้อมอธบิ าย ความสงู ของกระปุกปรอทจากระดับน้าทะเล 49.00 เมตร ความสงู ของฐานเรือนเทอรโ์ มมเิ ตอร์ 1.25 เมตร ความสงู ของศรลม และเครอ่ื งวดั ลม 14.00 และ 14.20 เมตร ความสงู ของปากเครื่องวัดฝน จากพน้ื ดิน 1.20 เมตร ความสงู เคร่ืองมอื ตรวจอากาศอนื่ ๆ (ถา้ มี)
๓.๓ เคร่อื งมือตรวจอากาศ ทต่ี ิดต้ังในปัจจุบนั / ทกุ ชนดิ /ภาพถา่ ย /พรอ้ มอธบิ าย เรือนเทอร์โมมิเตอร์ (ต้สู กรนี ) เคร่ืองวัดอณุ หภูมิสงู สุด & ตา่ สุด เคร่ืองวดั อุณหภมู อิ ากาศสูงสดุ (MAXIMUM THERMOMETERS) เครอื่ งวัดอุณหภูมิอากาศต่ าสดุ (MINIMUM THERMOMETERS) เคร่อื งวัดอณุ หภูมิ และความชนื้ สมั พทั ธอ์ ากาศ
เครอ่ื งวัดฝนอัตโนมตั ิแบบไซฟอน (Natural Siphon Gauge) เครื่องวัดการระเหยของน้า (American Class Pan) เคร่อื งวดั ทศิ ทาง และความเรว็ ลม เครื่องบาร์โรกราฟ
เครอื่ งบาร์โรมเิ ตอรแ์ บบปรอท เครื่องมอื ตรวจอากาศ แบบอน่ื ๆ เครื่องหาพกิ ัดฟา้ แลบ เครื่องบนั ทึกอณุ หภูมิอากาศ (THERMOGRAPH) ความบนั ทึกความชื้นสมั พทั ธ์ (HYGROGRAPH)
เครือ่ งวดั ฝนแบบแก้วตวง (CRONARY RAIN GAUGE) เครื่องวดั อณุ หภูมใิ ตด้ นิ (EARTHTHERMOMETERS) เครอื่ งวัดน้าคา้ ง (DUVDEVANI DEW GAUGE) เครอื่ งวดั อณุ หภมู ิต่้าสุดยอดหญ้า (GRASS MINIMUN THERMOMETERS) เทอร์โมมเิ ตอร์สูงสุด – ตา่้ สุดลอยน้า เครือ่ งบันทึกความยาวนานแสงแดด (FLOAT MAXIMUM – MINIMUM THERMOMETER) (SUNSHINE RECORDER) เครือ่ งวัดรงั สดี วงอาทติ ย์
เครอ่ื งวดั ความชนื้ อากาศแบบถา่ ยอากาศ (VENTILATED THERMOMETERS) ๓.๔ เครื่องมอื ตรวจอากาศ (แสดงรายละเอียด) ท่ี เครอ่ื งมือตรวจอากาศ ชนิด/แบบ หมายเลขเครอ่ื ง เร่มิ ใชง้ าน สอบเทียบเม่ือ ค่า หมาเหตุ (Serial No.) ๑ บาโรมิเตอร์ แบบปรอท - Sensitivity 320194 14 ม.ค.09 31 ม.ค.52 ๒ เทอรโ์ ม-ไฮโกรกราฟ รายวนั Casella วศ.09-11-781 6 พ.ย.22 31 ม.ค.52 ๓ บาโรกราฟ ราย ๗ วนั Belfort 575 14 ม.ค.09 31 ม.ค.52 ๔ ไซโครมิเตอรต์ ้มุ แห้ง - - - ๕ ไซโครมเิ ตอรต์ ุ้มเปยี ก - - - ๖ เทอรโ์ มมิเตอรส์ งู สุด Casella วศ.09-11-936 4มี.ค.26 - ๗ เทอร์โมมิเตอรต์ ่าสดุ Casella วศ.09-11-820 6 พ.ย.22 - ๘ เครืองวดั ลม - - 22 มิ.ย.27 - ๙ เครอื งวัดฝนชนิดตวงวดั - - 18 ก.พ.29 - ๑๐ เครืองวัดฝนบันทึกดว้ ยกราฟ - - 14 ม.ค.09 - ๑๑ เครืองวัดลมถาดน่าระเหย - วศ.02-11-179 22 ส.ค.23 - ๑๒ เครืองวัดน่าระเหย - - 14 ม.ค.09 -
๓.๕ ประวตั กิ ารเปลี่ยนแปลงเคร่ืองมอื ตรวจอากาศ ตรวจสารประกอบ เคร่อื งมือตรวจอากาศ หมายเลขเครื่อง เร่มิ ใช้ เลกิ ใช้ หมายเหตุ อุตนุ ยิ มวิทยา (Serial No.) 14 ม.ค.09 ตรวจวัดความกดอากาศ บาโรมเิ ตอรป์ รอท 320194 - - บาโรกราฟ รายวัน 14 ม.ค.09 บาโรกราฟ ราย ๗ วัน 575 - ไซโครมิเตอร์ ตุ้มแห้ง - - ไซโครมเิ ตอร์ ตุม้ เปยี ก - 4 ม.ี ค.26 ตรวจวดั อุณหภมู อิ ากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์สงู สุด วศ.09-11- 936 6 พ.ย.22 เทอร์โมมเิ ตอรต์ า่ สดุ วศ.09-11- 6 พ.ย.22 ตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ เทอร์โม–ไฮโกรกราฟ รายวัน 820 18 ก.พ.29 ตรวจวัดฝน เครอื งวดั ฝนแบบไซฟอน วศ.09-11- 22 ม.ิ ย.27 ตรวจวัดลม ถังวดั ฝนแบบแกว้ ตวง 781 14 ม.ค.29 ตรวจวดั น้าระเหย เครอื งวัดทศิ ทาง และความเรว็ ลม - ถาดวดั นา่ ระเหย - เครืองวดั นา่ ระเหยแบบพเิ ช่ - - -
๓.๖ การสอบเทยี บ / การบารุงรักษา / การสง่ ซ่อม วัน / เดือน / ปี เครือ่ งมอื ตรวจอากาศ ชนดิ /หมายเลข สอบเทยี บ / คา่ รบั เคร่ืองมือ หมายเหตุ บา้ รุงรกั ษา /สง่ ซ่อม Sensitivity บาโรมิเตอร์ปรอทแบบคิว 320194 31 ม.ค.52 สอบเทียบ 31 ม.ค. - 31 ม.ค.52 ไมโคร-บาโรกราฟ ราย๗วัน 575 52 31 ม.ค.52 - 19 พ.ย.46 เทอรโ์ ม – ไฮโกรกราฟ รายวัน Casella/วศ.09-11- สอบเทียบ 31 ม.ค. 24 ก.ย.51 781 52 - 9 ม.ค.50 เครื่องวดั ฝนแบบไซฟ่อนอัตโนมัติ เครอ่ื งวัดทศิ ทางและความเรว็ ลม - สอบเทียบ 31 ม.ค. - เครือ่ งวดั ระยะทางลม 52 - ฝาครอบถาดนา้ ระเหย ซอ่ ม 19 พ.ย.46 เสาวัดลม Sisp / วศ.02-11- สายล่อฟ้า 179 ซอ่ ม 24 ก.ย.51 - - ซอ่ ม 9 ม.ค.50 - - ซอ่ ม 24 ก.ย.51 - 24 ก.ย.51 - ซอ่ ม 24 ก.ย.51 - 24 ก.ย.51 ซอ่ ม 24 ก.ย.51 - 24 ก.ย.51 หมายเหตุ Sensitivity คือ ความไวในการตอบสนองของเครอ่ื งมอื ตรวจวดั ที่มีต่อกระแสไฟฟา้ เต็มสเกล โดยเครอ่ื งมือวัดตา่ ง ชนดิ กันจะมีคา่ การตอบสนองไม่เทา่ กนั
ขอ้ มลู สว่ นที่ ๔ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ลกั ษณะตามภมู ศิ าสตร์ (อดตี – ปจั จบุ ัน) ๑. ลกั ษณะอากาศทว่ั ไป ๑.๑ แบ่งตามฤดกู าล ฤดหู นาว ตังแต่กลางเดอื นพฤศจิกายนถงึ กลางเดอื นกมุ ภาพนั ธ ฤดูรอ้ น ตงั แต่กลางเดอื นกุมภาพนั ธถ์ งึ กลางเดอื นพฤษภาคม ฤดูฝน ตงั แตก่ ลางเดือนพฤษภาคมถงึ กลางเดือนตลุ าคม ๑.๒ ลักษณะอากาศประจา่ ทอ้ งถนิ สภาพภูมิอากาศโดยทวั ไปจังหวัดจนั ทบรุ ตี งั อยู่ในเขตทมี ีอากาศรอ้ นชนื มฝี นตกชุกตดิ ตอ่ กัน ประมาณ ๖ เดือนต่อปี และในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มีฝนตกจ่านวน ๑๘๑ วัน วดั ปริมาณนา่ ฝนโดยรวม ๓,๑๒๒.๗ มิลลเิ มตร และ เดอื นทมี อี ณุ หภูมิต่าสดุ ในรอบปี คอื เดือนกมุ ภาพันธ์ วดั ได้ ๑๖.๐ องศา เซลเซียส อุณหภมู ิเฉลยี ตลอดปี ๒๗.๙๑ องศาเซลเซยี ส ๒. พื้นท่ีเสี่ยงภยั ธรรมชาติ ประกอบดว้ ย แม่น่าจันทบุรี ฝายยาง อา่ เภอเมือง ฝายทา้ ระม้า อ่าเภอมะขาม สะพานกระทิง อา่ เภอ เขาคชิ ฌกูฏ พบวา่ หลายปมี ปี รมิ าณนา่ เพมิ ขึน โดยเฉพาะแมน่ า่ จันทบุรมี ักมีนา่ ไหลเชียว และมีสีขุ่นแดง แต่ถงึ อยา่ งไรทงั 4 จดุ หลกั ยังไมถ่ งึ จุดวกิ ฤต แตไ่ ดม้ ีการเฝ้าระวังปรมิ าณฝนอย่างใกลช้ ิด โดยเฉพาะพนื ทเี สียงดนิ โคลน ถลม่ ใน 2 อ่าเภอ คือ อา่ เภอขลงุ และอา่ เภอเขาคชิ ฌกฏู นอกจากนีทางปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด จนั ทบุรี
ข้อมูลส่วนที่ ๕ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนิยมวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ สถานตี รวจวดั ข้อมลู อตุ นุ ิยมวิทยา พเิ ศษ ๑. สถานตี รวจวดั ขอ้ มลู อตุ นุ ยิ มวิทยาอตั โนมตั ิ / ทต่ี ง้ั / จา้ นวน /คา้ อธบิ าย/ภาพถา่ ย/ แผนทโ่ี ดยสังเขป สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาพลิว มสี ถานตี รวจอากาศอัตโนมัติ จ่านวน ๑ สถานี สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ (AWS) ๑.๑ สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ (ระบบโทรมาตร) : ไมม่ ี สถานท่ตี งั้ ของสถานีฯ (Location) เนือ้ ท่ีก่อสรา้ งสถานีฯ - ตารางเมตร แสดงพิกดั สถานีตรวจอากาศอัตโนมตั ิ ความสงู ของสถานจี ากระดบั นา้ ทะเล (MSL) สภาพภูมปิ ระเทศ (Environment) / แผนผงั สถานี /ขอบเขตสถานี (ระบทุ ศิ โดยรอบ) คาอธบิ ายพรอ้ มภาพถา่ ยแผนที่ อาณาเขตติดต่อ ทศิ เหนอื อาณาเขตติดตอ่ ทิศใต้ อาณาเขตตดิ ตอ่ ทศิ ตะวันออก อาณาเขตติดต่อ ทิศตะวนั ตก
๑.๒ สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ (AWS) / คาอธบิ าย/ภาพถา่ ย/ แผนท่ีโดยสังเขป สถานทีต่ งั้ ของสถานฯี (Location) : ๖๓/๑ หมู่ ๖ ตาบลตะปอน อาเภอขลงุ จงั หวดั จนั ทบุรี รหัสไปรษณีย์ ๒๒๑๑๐ เนอื้ ท่ีก่อสรา้ งสถานฯี ๑๖ ตารางเมตร แสดงพิกัด สถานตี รวจอากาศอัตโนมัติ ละติจูด ๑๒ํ ๓๑่ ๐๐ํ่ ่ องศาเหนือ ลองตจิ ูด ๑๐๒ ๑๐่ ๐๐่ ่ องศาตะวันออก ความสงู ของสถานจี ากระดับนา้ ทะเล (MSL) ๒๔.๒๐ เมตร สภาพภมู ิประเทศ (Environment) / แผนผงั สถานี /ขอบเขตสถานี (ระบทุ ศิ โดยรอบ) คาอธบิ าย/พร้อมภาพถา่ ย/ แผนทโ่ี ดยสังเขป ๑.๓ สถานีตรวจวดั ฝนอาเภอ/ ที่ตง้ั / จานวน /คาอธบิ าย/ภาพถ่าย/ แผนทโ่ี ดยสงั เขป : ไม่มี สถานทต่ี ง้ั ของสถานีฯ (Location) เน้อื ที่กอ่ สรา้ งสถานีฯ - ตารางเมตร แสดงพกิ ัด สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ ความสงู ของสถานจี ากระดบั นา้ ทะเล (MSL) สภาพภมู ปิ ระเทศ (Environment) / แผนผงั สถานี /ขอบเขตสถานี (ระบุทศิ โดยรอบ) คาอธบิ ายพร้อมภาพถา่ ยแผนท่ี อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนอื อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ ใต้ อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ ตะวันออก อาณาเขตติดต่อ ทศิ ตะวันตก
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: