Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานีอุตุนิยมวิทยาราชบุรี

สถานีอุตุนิยมวิทยาราชบุรี

Description: ข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวิทยา

Search

Read the Text Version

ข้อมูลสว่ นที่ ๑ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนิยมวิทยา ( Meteorological Station Information Innovation , Metadata) …………………………………. เริ่มก่อต้งั สถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา 1. ประวตั ิสถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยา (อดตี – ปัจจบุ ัน) /ภาพถ่ายสถานอี ตุ นุ ยิ มวิทยา 1.1 วันทเ่ี ริ่มกอ่ สร้างสถานีอุตุนิยมวทิ ยา – 1.2 เริม่ ทาการตรวจอากาศคร้ังแรก วนั ที่ 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 1.3 รายละเอียดของการเปลีย่ นแปลงทัง้ หมด (ถา้ ม)ี พรอ้ มอธบิ าย , ภาพถา่ ยประกอบ อาคารทีท่ าการในอดีต

พน้ื ทกี่ ่อนสรา้ งทที่ าการ (2553) อาคารที่ทาการ (ปลายปี 2553)

2. ครภุ ณั ฑ์ส่ิงปลูกสรา้ งภายในสถานีอตุ ุนิยมวทิ ยา (อดีต – ปจั จุบนั ) แผนฝงั ภายในสถานี / พรอ้ มภาพถ่าย ประกอบ 2.1 อาคารทที่ าการสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยา

2.2 บ้านพกั ขา้ ราชการ มี 3 หลงั บ้านพักขา้ ราชการ (-ว่าง-) สรา้ งเมอื่ วันท่ี 15 พฤษภาคม 2534 (ซ่อมแซมคร้งั สดุ ท้าย 28 เมษายน 2553) บา้ นพักข้าราชการ น.ส. ศริ วิ รรณ ตันสมบุญ พอต.ชง. สรา้ งเมอ่ื วันท่ี 15 พฤษภาคม 2534 (ซอ่ มแซมคร้งั สุดทา้ ย 28 เมษายน 2553) บา้ นพกั ขา้ ราชการ ระดบั 3-4 นายณฏั ฐฤ์ พงศ์ ภูบัวเพชร พอต.อว. สรา้ งเม่ือ วนั ท่ี 24 มนี าคม พ.ศ.2538 (ซอ่ มแซมครัง้ สดุ ทา้ ย 2๗ พฤศจิกายน พ.ศ.255๗)

2.3 ส่ิงปลกู สร้างอน่ื ๆ 2.3.1 โรงจอดรถ 2.3.2 ป้ายชอ่ื สถานี

2.3.3 เสาธง 2.3.4 เครอื่ งตรวจอากาศอตั โนมตั ิ

2.3.5 เคร่อื งวัดแผน่ ดินไหว 3. อตั รากาลงั ข้าราชการ (อดตี – ปัจจุบนั ) 3.1 เจา้ พนักงานอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ระดับอาวุโส 3.2 เจา้ พนกั งานอตุ ุนิยมวทิ ยา ระดับชานาญงาน / ปฏบิ ัติงาน อัตรากาลงั ขา้ ราชการ (ปัจจุบนั ) เริม่ ปฏิบตั งิ าน – ปจั จบุ นั ๔ กุมภาพนั ธ์ 2556 – ปจั จุบัน ช่ือ – สกุล 13 พฤษภาคม 2554 – ปจั จุบัน 1. นายณัฏฐ์ฤพงศ์ ภูบัวเพชร 2 นางสาวศิริวรรณ ตนั สมบญุ 3.3 ลูกจา้ งประจา/นักการภารโรง - ไมม่ ี - 3.4 ประวัตผิ อู้ านวยการสถานีอตุ นุ ิยมวิทยา (อดตี – ปจั จุบนั ) เรม่ิ ปฏิบตั งิ าน – ปจั จบุ นั เริ่มปฏิบตั ิงาน – ปัจจบุ นั นายณรงค์ หอมสุวรรณ พ.ศ.2534 - พ.ศ.2535 นายเหลย่ี ม แสงโชติ พ.ศ.2535 - 30 ก.ย. พ.ศ.2543 นายประยงค์ พงศ์พนิ ทุกาญจน์ 1 ต.ค.พ.ศ.2543 - 26ธ.ค.2548 นายประยงค์ พงศ์พนิ ทุกาญจน์ 1 ต.ค.2548 - 30 ก.ย. 2554 นายเชิดศกั ดิ์ มว่ งคุ้ม 3 ก.ย. 2555 - 30 พ.ย. 2561 นายณฏั ฐ์ฤพงศ์ ภูบวั เพชร 4 มี.ค.2562 - ปัจจุบัน

๔. ผงั องคก์ รอัตรากาลงั นายณฏั ฐฤ์ พงศ์ ภูบวั เพชร เจา้ พนกั งานอตุ ุนิยมวทิ ยาอาวุโส กลมุ่ งานตรวจอากาศเกษตรราชบุรี นางสาวศริ วิ รรณ ตนั สมบูญ นายศริ พิ งษ์ ชมุ จนั ทร์ เจ้าพนกั งานอุตุนิยมวิทยาชานาญงาน เจ้าพนักงานอุตนุ ิยมวิทยาปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานอตุ ุนิยมวิทยาปฏบิ ัตงิ าน

๕. หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบของสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยาราชบุรี • ตรวจลักษณะอากาศ ตามมาตรฐานองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ตามเวลาท่ีกาหนด ตลอด 24 ช่ัวโมง ในจังหวัดราชบุรี โดยทาการตรวจอากาศผิวพื้นทุกวัน วันละ 8 เวลา ทุก 3 ชั่วโมง โดยจะทาการตรวจอากาศ เวลา 01.00, 04.00 ,07.00 ,10.00 ,13.00 ,16.00 ,19.00 และ 22.00 น. และทาการตรวจอากาศตาม คาสั่งของกรมอุตุนยิ มวทิ ยาในกรณีพิเศษ • ตรวจลกั ษณะอากาศ เนน้ ด้านการเกษตรเปน็ หลกั • ส่งผลการตรวจอากาศ ให้กรมอุตุนยิ มวทิ ยา เพอื่ สนบั สนุนการพยากรณ์อากาศ แจ้งเตอื นใหป้ ระชาชน ทราบ • ประสานความร่วมมือระหวา่ งหน่วยงานกรมอุตุนิยมวทิ ยา และหนว่ ยงานภายในจงั หวดั • ดูแลเครือ่ งมอื ตรวจอากาศ และซ่อมบารุงเบือ้ งตน้ • จัดนิทรรศการ เผยแพรค่ วามรูอ้ ตุ นุ ยิ มวิทยา เทคนิค และวธิ ีการตรวจอากาศ ใหป้ ระชาชนทีส่ นใจทราบ • ดแู ล รวบรวม ตรวจสอบ ทาบญั ชพี ัสดุครภุ ณั ฑส์ ถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา • จดั ทางบประมาณประจาปี ควบคุม ตรวจสอบ บัญชีการเบกิ จา่ ย เงินงบประมาณ และบริหารงานคลงั ของสถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาและสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยาสมทุ รสงคราม • ให้บริการข้อมลู การตรวจอากาศ และสถิติข้อมูลฯ เพื่อใช้ในงานวจิ ัยการจัดทาแผนประจาปีดา้ นตา่ ง ๆ • ปฏบิ ตั ิงานสารบรรณ • ปฏบิ ตั งิ านทัว่ ไปตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย เชน่ ปฏบิ ัติงานตามคารบั รองฯ (ตัวช้ีวัด) เป็นตน้ • ต่อยอดพยากรณอ์ ากาศและสง่ ข้อมูลชอ่ งทางสื่อโซเชียล เชน่ กลุม่ ไลนแ์ ละ เฟสบุ๊ค เป็นตน้ • เป็นวทิ ยากรบรรยายเก่ียวกับเรือ่ งอุตุนยิ มวิทยาแก่หน่วยงานต่างๆ การฝึกอบรม อ.ป.พ.ร. นักเรียน นักศกึ ษา และเครอื ข่ายเกษตรกรในพน้ื ท่ีทร่ี ับผิดชอบ หรอื พื้นท่ีอน่ื ๆ ตามคาร้องขอ • สนบั สนุนข้อมลู อตุ ุนิยมวทิ ยา เพื่อการวางแผนปอ้ งกนั อุทกภัย ภยั หนาว และภยั แลง้ ๖. พ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบของสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยาราชบรุ ี สถานอี ุตุนิยมวทิ ยาราชบุรมี พี นื้ ท่รี บั ผิดชอบในเขตจงั หวัดราชบุรี ดูแลสถานีวัดฝนอัตโนมตั ิในจงั หวดั ราชบรุ ีจานวน 11 สถานี และ สถานฝี นอาเภอ จานวน 12 สถานี

ข้อมูลส่วนที่ ๒ นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Innovation ,Metadata) ………………………………………….. ๑. ช่ือสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา และรายละเอยี ด อดตี -ปัจจุบนั ๑.๑ ช่ือภาษาไทย สถานีอตุ ุนยิ มวิทยาราชบรุ ี ๑.๒ ช่ือภาษาองั กฤษ Ratchaburi Meteorological Station ๑.๓ ช่ือเดมิ สถานีอากาศเกษตรราชบรุ ี ชือ่ ปจั จุบัน สถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยาราชบุรี ๑.๔ เลขประจาสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (WMO) 48464 ๑.๕ เลขประจาสถานสี ถานฝี น (Local Rain Station) - ๑.๖ ประเภทสถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยา ตรวจอากาศเพื่อการเกษตร (Agromet) ๑.๗ ระยะอา้ งองิ ทศิ เหนือหา่ งจากสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยานครปฐม ประมาณ ๘๒ กิโลเมตร ทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื หา่ งจากสถานอี ตุ ุนยิ มวิทยากาญจนบรุ ี ประมาณ ๙๖ กโิ ลเมตร ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ หา่ งจากสถานีอตุ ุนิยมวทิ ยาสมทุ รสงคราม ประมาณ ๔๗ กโิ ลเมตร ทิศใต้ หา่ งจากสถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยาเพชรบรุ ี ประมาณ ๗๐ กิโลเมตร ๒. ท่ตี ้งั สถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยา (Location) ๒.๑ สถานทต่ี ั้งของสถานีอุตนุ ิยมวิทยา เลขท่ี ๑๐๖ ถ.เพชรเกษม ต.อา่ งทอง อ.เมือง จ.ราชบุรี ๗๐๐๐๐ ๒.๒ หมายเลขโทรศัพท/์ โทรสาร ๐๓๒ – ๗๓๒๒๕๑ ๒.๓ E-Mail : [email protected] ๒.๔ เวป็ ไซต์ : ไมม่ ี (สื่อข่าวสารผา่ น เฟสบคุ๊ : อุตุนยิ มวิทยาราชบุรี ) ๒.๕ เนือ้ ท่ี อยู่ภายในศนู ยว์ ิจัยข้าวราชบุรี บนพนื้ ที่ ๓ ไร่ ๒.๖ พิกดั สถานีฯ ละติจดู 13o 29' 23 '' องศาเหนือ ลองติจูด 99o 47' 32'' องศาตะวันออก ๒.๗ ความสูงของสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยาราชบุรีจากระดับนา้ ทะเล (MSL) 9.011 เมตร

๒.๘ ระยะอา้ งองิ

๒.๙ แผนผงั สถานี ๓. สภาพภมู ปิ ระเทศ (Environment) ๓.๑ สภาพภมู ิประเทศโดยรอบสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยาราชบุรี อาณาเขตทศิ เหนือ ติดแปลงนาของศนู ยว์ จิ ัยขา้ วราชบุรี อาณาเขตทศิ ใต้ ตดิ บา้ นพกั บคุ ลากรของศูนยว์ จิ ยั ขา้ วราชบุรี อาณาเขตทศิ ตะวันออก ติดอาคารสานักงานของศูนย์วจิ ยั ขา้ วราชบุรี อาณาเขตทศิ ตะวันตก ติดแปลงนาของศูนยว์ จิ ยั ขา้ วราชบรุ ี ๓.๒ เงาของวตั ถหุ รืออาคาร หรอื ตน้ ไม้ ตกกระทบสนามอตุ นุ ิยมวทิ ยาหรอื ไม่ ไม่กระทบ ๔. สภาพแวดลอ้ มโดยรอบสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาระยะ ๕ กม. ๔.๑ ระยะ ๐.๑-๐.๕ กม. สภาพโดยรอบเปน็ พนื้ ทรี่ าบสว่ นใหญเ่ ปน็ แปลงนาข้าวและโรงเก็บเมล็ดขา้ ว อาคารสงิ่ ก่อสรา้ งสานกั งาน โรงจอดรถ บ้านพกั รบั รองและบ้านพกั ของบคุ ลากรของศนู ยว์ จิ ัยข้าวรวมท้งั บา้ นพักของ ข้าราชการของสถานีอุตุนยิ มวิทยาราชบุรีทัง้ ๓ หลงั เน่ืองจากต้งั อยู่ในศนู ยว์ ิจยั ข้าวราชบรุ ี ๔.๒ ระยะ ๐.๕-๑.๐ กม. สภาพโดยรอบในระยะนก้ี ็จะมีถนนเพชรเกษมและหมบู่ า้ น หมู่ ๑ ต.อา่ งทอง และโรงงานจาน่ายผลติ ภัณฑ์พลาสติก,รา้ นอาหารสไตลค์ าวบอย และรา้ นอาหารริมทางทวั่ ไป ๔.๓ ระยะ ๑.๐-๒.๐ กม. สภาพโดยรอบในระยะนดี้ ้านทศิ ตะวันตกกจ็ ะเปน็ ภเู ขาเตย้ี ๆ ชื่อเขาหลวง และหม่บู า้ นชายเขารวมทงั้ วัด

๔.๔ ระยะ ๒.๐-๓.๐ กม. สภาพโดยรอบในระยะน้ีมีสถานพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ศนู ยจ์ าหน่ายรถยนต์ฮอนด้า และเอ็มจี ปม๊ั แก็ส ร้านสะดวกซอื้ และคลองสาธารณะ ด้านตะวันตกเป็นแหล่งทาลาย วัตถรุ ะเบดิ ของทหาร ๔.๕ ระยะ ๓.๐-๔.๐ กม. สภาพโดยรอบในระยะน้ีมี ปั๊มนา้ มนั ,โรงไฟฟา้ ย่อยราชบุรี ๔.๖ ระยะ ๔.๐-๕.๐ กม. สภาพโดยรอบในระยะนี้มีภเู ขาเต้ียๆ ชือ่ เขาแกน่ จันทน์ ด้านหนา้ เขาเปน็ สวน สุขภาพมีพระบรมรปู รัชกาลท่ี ๑ และลานออกกาลังกาย มโี รงแรม ณ เวลา ร้านอาหารชือ่ ดงั หลายแหง่ พื้นท่ที หาร มณฑลทหารบกที่ ๑๖ กองพลพฒั นาท่ี ๑ สถานีวิทยุสรรพาวธุ ทหารบก (สพ.ทบ เอฟเอ็ม 99.25 เม็กกะเฮริ ต์ ) แผนผงั บรเิ วณรอบสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยาราชบรุ ี

ข้อมูลสว่ นที่ ๓ นวตั กรรมขอ้ มลู สารสนเทศสถานีอุตนุ ยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation, Metadata) ……………………………………………….. ๑. การตรวจอากาศ ๑.๑ เริ่มทาการตรวจอากาศครงั้ แรก เมือ่ วันท่ี 11 ธนั วาคม 2534 ๑.๒ ชนิดของการตรวจสารประกอบอุตนุ ยิ มวทิ ยา เวลาการตรวจ (ตามตารางขา้ งลา่ ง) เวลา (น.) ท่ี สารประกอบอตุ ินิยมวทิ ยา ๐๑.๐๐ ๐๔.๐๐ ๐๗.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๓.๐๐ ๑๖.๐๐ ๑๐๑๙..๐๐๐๐ ๒๒.๐๐ ๑ ตรวจวัดความกดอากาศ //////// ๒ ตรวจวัดอุณหภูมติ ุม้ แห้ง //////// ๓ ตรวจวดั อุณหภมู ิตมุ้ เปยี ก //////// ๔ ตรวจวัดอุณหภมู ิต่าสุด / ๕ ตรวจวดั อณุ หภูมสิ งู สดุ / ๖ ตรวจวัดความชน้ื สัมพัทธ์ //////// ๗ ตรวจวัดทศิ ทาง/ความเรว็ ลม) //////// ๘ ตรวจวัดทศั นะวิสยั (กม.) //////// ๙ ตรวจวัดฝน //////// ๑๐ ตรวจการระเหยของน้า / ๑๑ ตรวจจานวนและชนิดเมฆ //////// ๑๒ ตรวจวัดอณุ หภมู ิตา่ สดุ ยอดหญ้า / ๑๓ ตรวจวัดอุณหภมู ดิ ิน //////// ๑๔ ตรวจวัดความชนื่ Assmann ระดับตา่ ง ๆ // ๑๕ ตรวจวดั ความนานของแสงแดด / ๑๗ ตรวจวัดอณุ หภูมติ า่ สดุ ของน้า / ๑๘ ตรวจวัดอุณหภมู สิ งู สดุ ของนา้ / ๑๙ ตรวจวัดระยะทางลมระดับ ๕๐ ซม. / ๒๐ ตรวจปรากฏการณท์ างธรรมชาติ //////// ๒๑ ตรวจสภาพพื้นดนิ /

๒. การตรวจเป้าทศั นะวสิ ยั ของสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาราชบรุ ี

๓. เครอ่ื งมอื ตรวจอากาศ ๓.๑ สนามอตุ ุนิยมวทิ ยาเกษตร ขนาด 35x40 เมตร  ทศิ เหนอื ตดิ แปลงนาของศนู ย์วจิ ยั ขา้ วราชบุรี  ทศิ ใต้ ตดิ โรงจอดรถ,ลานเอนกประสงคแ์ ละอาคารทีท่ าการสถานฯี  ทิศตะวนั ออก ตดิ ทางสาธารณะและบา้ นพกั ผอ.ศนู ยว์ จิ ัยข้าวราชบรุ ี  ทศิ ตะวนั ตก ติดแปลงนาของศนู ย์วจิ ัยขา้ วราชบรุ ี ๓.๒ เครอ่ื งมือตรวจอากาศ ความสงู จากพ้ืน ดงั น้ี  ความสงู ของกระปกุ ปรอทจากระดบั นา้ ทะเล ๑๑.๐๒ เมตร

 ความสงู ฐานเรอื นเทอรโ์ มมิเตอร์ ๑.๕๐ เมตร  ความสงู ของศรลมและเคร่ืองวดั ลม ๑0.00 เมตร และ 10.70 เมตรตามลาดบั

 ความสงู ของปากถังวัดฝน จากพ้ืนดนิ 0.80 เมตร ๓.3 เครอ่ื งมอื ตรวจอากาศท่ตี ดิ ต้งั ในปจั จุบัน  เรอื นเทอรโ์ มมิเตอร์ (Steevenson Screen)

 เครอ่ื งวัดอุณหภูมิสูงสดุ และต่าสุด (Maximum&Minimum Thermometer)  เครื่องวัดอณุ หภูมแิ ละความชน้ื สัมพทั ธอ์ ากาศ (Thermo-Hygro Graph)  เครื่องวดั ฝนอัตโนมตั แิ บบกระดก (Tilting Bucket)

 เครอ่ื งวัดการระเหยของน้า (American Class A pan)  เครื่องวดั ทศิ ทางและความเรว็ ลม (Wind Direction & Wind Speed)

 เครอ่ื งบาร์โรกราฟ (Barograph)  เครื่องบารโ์ รมิเตอร์แบบปรอท (Kew Barometer)

 เคร่อื งวดั อณุ หภูมิดินระดบั ต่าง ๆ  เครื่องวัดนา้ คา้ ง  เครอื่ งวดั อุณหภูมติ ่าสุดยอดหญา้

3.4 เคร่อื งมือตรวจอากาศ ที่ เคร่อื งมอื ตรวจอากาศ ชนดิ /แบบ หมายเลขเครอ่ื ง เร่ิมใช้งาน สอบเทยี บเมือ่ ค่า หมาเหตุ (Serial No.) Sensitivity ๑ บาโรมเิ ตอร์ แบบปรอท KEW/THIES วศ.02-02-266 6 ก.ย. 51 19 ธ.ค. 60 0.24 ๒ เทอรโ์ ม-ไฮโกรกราฟ 7 วัน SATO อต.6665-012- 18 ม.ค. 59 ๓ บาโรกราฟ ราย ๑ วัน 003-382 OTA NO.270323 6 ก.ย. 51 ๔ เทอร์โมมเิ ตอร์ตุ้มแห้ง N&S - - ๕ เทอร์โมมิเตอร์ต้มุ เปียก N&S - - ๖ เทอร์โมมิเตอร์สูงสุด Russell EB56-1-5- 18 ม.ค. 59 ๗ เทอรโ์ มมิเตอรต์ า่ สุด 0900-003-93 ๘ เครอื่ งวดั ลม SATO วศ.09-11- - 1877 SIAP วศ.06-11-292 11 ธ.ค. 34 ๙ เครื่องวดั ฝนชนดิ แกว้ ตวงวัด NO 1-7/35 11 ธ.ค. 34 ๑๐ เครื่องวัดฝนบันทกึ ดว้ ยกราฟ - อต.6660-01- 28 ก.ค. 47 02-18 ๑๑ เคร่ืองวัดลมถาดนา้ ระเหย CASELLA วศ.06-11-222 11 ธ.ค. 34 ๑๒ ถาดวัดน้าระเหย - NO 24/34 11 ธ.ค. 34

๓.๕ ประวตั กิ ารเปลยี่ นแปลงเครอื่ งมอื (ไมม่ ีประวตั เิ ลิกใช้มีแต่ทใ่ี ช้อย่ตู ามตารางด้านบน) ตรวจสารประกอบ เครือ่ งมอื ตรวจอากาศ หมายเลขเครือ่ ง เริ่มใช้ เลิกใช้ หมายเหตุ อตุ ุนยิ มวิทยา (Serial No.) บาโรมิเตอรป์ รอท ตรวจวดั ความกดอากาศ บาโรกราฟ รายวนั บาโรกราฟ ราย ๗ วัน ไซโครมเิ ตอร์ ตุ้มแห้ง ไซโครมเิ ตอร์ ตุ้มเปียก ตรวจวดั อุณหภูมอิ ากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์สงู สดุ เทอร์โมมเิ ตอรต์ า่ สุด ตรวจวดั ความชื้นสัมพัทธ์ เทอร์โม–ไฮโกรกราฟ ราย ๑ วัน เครื่องวดั ฝนแบบไซฟอน ตรวจวดั ฝน ถังวดั ฝนแบบแกว้ ตวง เคร่อื งวัดฝนแบบชัง่ น้าหนกั ตรวจวดั ลม เคร่ืองวัดทศิ ทาง และความเร็วลม ถาดวดั น้าระเหย ตรวจวัดนา้ ระเหย เคร่อื งวัดน้าระเหยแบบพิเช่ เคร่ืองวัดลมถาดน้าระเหย ๓.๖ สอบเทียบ/บารงุ รักษา/การสง่ ซ่อม วัน / เดือน / ปี เคร่อื งมือตรวจอากาศ ชนดิ /หมายเลข สอบเทยี บ/บารุงรักษา / ค่า รบั เครอื่ งมือ หมายเหตุ ส่งซ่อม Sensitivity บาโรมเิ ตอร์ แบบปรอท Kew /1296342 19 ธ.ค. 60 +0.๒๔ เทอรโ์ มมเิ ตอรใ์ ตด้ นิ ระดับ 100 ซม. อต.6665-012-02-119/6 20 มิ.ย. 62 ยฮี่ ้อ Faimount หมายเหตุ Sensitivity คอื ความไวในการตอบสนองของเครอื่ งมือตรวจวดั ที่มตี ่อกระแสไฟฟา้ เต็มสเกล โดยเคร่อื งมือวดั ต่างชนดิ กันจะมคี า่ การตอบสนองไม่เท่ากนั

ขอ้ มูลส่วนที่ 4 นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนิยมวิทยา ( Meteorologcal Station Information Innovation , Metadata ) ................................................ ลกั ษณะตามภูมิศาสตร์ (อดีต – ปจั จุบัน) 1. ลกั ษณะตามภมู ิศาสตร์ 1.1 แบง่ ตามฤดกู าล และลักษณะอากาศประจาถ่ิน ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีอากาศหนาวเย็น เน่ืองจากได้รับอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่ีพัดนาเอาความหนาวเย็นและแห้ง มาปกคลุม ทาให้พื้นที่ตามเชิงเขา หุบเขาแถบอาเภอสวนผึ้ง อาเภอบ้านคา อาเภอจอมบึง และอาเภอปากทอ่ มีอากาศเย็นถึงหนาวทุกปี (สถิตอิ ุณหภมู ิต่าท่ีสุดวัดได้ 9.8 องศาเซลเซยี ส เม่ือวนั ที่ 25 ธันวาคม 2542) ฤดรู อ้ น เร่มิ ต้งั แตก่ ลางเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ถงึ กลางเดอื นพฤษภาคมช่วงน้ีไดร้ ับอิทธพิ ลจากลม ตะวันออกและลมฝา่ ยใต้พดั ผา่ นทาให้มีอากาศร้อนอบอา้ วทวั่ ไป อาจมีพายุฤดรู ้อนเกดิ ขนึ้ ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน (สถติ อิ ุณหภมู ิสงู ท่ีสดุ วดั ได้ 41.5 องศาเซลเซยี ส เม่อื วนั ที่ 12 เมษายน 2559) ฤดูฝน แบง่ ออกเปน็ 2 ชว่ ง ช่วงแรก ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคมช่วงน้ีได้รับอิทธิพลจาก มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดเอาความช้ืนจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน แต่ เน่ืองจากมีเทือกเขาตระนาวศรีกั้นอยู่ จึงทาให้พ้ืนท่ีติดเทือกเขาได้รับปริมาณฝนไม่มากนัก ส่วนใหญจ่ ะถกู พดั เลยไปตกแถบลมุ่ น้าแมก่ ลองและดา้ นตะวันออกของจังหวัด ช่วงท่ีสอง ประมาณเดือนกันยายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ช่วงนี้ได้รับอิทธิพล จากร่องมรสุมที่เลื่อนลงมาจากทางภาคเหนือมาปะทะแนวเทือกเขาตระนาวศรี ทาให้มีฝน ตกชุกและตกหนกั แถบอาเภอสวนผง้ึ อาเภอบ้านคา อาเภอจอมบึง และอาเภอโพธาราม ทา ใหเ้ กดิ อุทกภัยและนา้ ป่าจากเทอื กเขาไหลหลากเป็นประจาทุกปี ปรมิ าณฝนมากท่สี ุดต่อเดือน วดั ได้ 441.5 มิลลิเมตร เมอื่ เดือนตุลาคม 2548 ปรมิ าณฝนมากท่สี ดุ ต่อปี วัดได้ 1,513.1 มิลลเิ มตร เมอ่ื ปี 2539 ปริมาณฝนน้อยที่สุดตอ่ ปี วัดได้ 902.7 มลิ ลิเมตร เม่อื ปี 2536

2. พื้นท่เี สี่ยงภยั ธรรมชาติ

ขอ้ มูลสว่ นที่ ๕ นวัตกรรมขอ้ มูลสารสนเทศสถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ สถานตี รวจวดั ข้อมูลอตุ นุ ยิ มวิทยา พิเศษ ๑. สถานตี รวจวดั ข้อมูลอตุ ุนยิ มวิทยาอตั โนมตั ิ ในพืน้ ทจ่ี งั หวดั ราชบรุ มี ีทงั้ หมด ๑๑ สถานี ๑. สถานีฝนอตั โนมัตอิ า่ งหนิ ๒. สถานีฝนอตั โนมัตหิ นองพนั จันทร์ ๓. สถานฝี นอัตโนมัติสวนผ้งึ ๔. สถานฝี นอตั โนมตั ิจอมบงึ ๕. สถานฝี นอัตโนมตั ิหินกอง ๖. สถานฝี นอัตโนมตั ิดอนใหญ่ ๗. สถานฝี นอัตโนมตั ิดอนกรวย ๘. สถานฝี นอัตโนมัติหนองปลาหมอ ๙. สถานฝี นอตั โนมัติธรรมเสน ๑๐.สถานฝี นอตั โนมัติดอนตะโก ๑๑.สถานฝี นอัตโนมัติคงุ้ กระถนิ

๑. สถานีฝนอตั โนมตั อิ ่างหิน  สถานทต่ี งั้ : องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลอา่ งหนิ อ.ปากทอ่ จ.ราชบุรี  พกิ ัด: Lat. 13 27 46 N. Long. 99 41 00 E.  เนอ้ื ทก่ี ่อสรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.25 ตารางเมตร  ความสงู จากระดับน้าทะเล.................  สภาพภมู ิประเทศ เป็นพน้ื ราบ  ทศิ เหนอื ติดรัว้ อบต.อ่างหนิ ถัดไปเปน็ ทีข่ องชาวบา้ น  ทศิ ใต้ ติดลานจอดรถพื้นทโ่ี ลง่  ทิศตะวนั ออก ตดิ รว้ั อบต.อ่างหนิ และถนนหนา้ อบต.  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ โรงจอดรถของ อบต.และอาคารทท่ี าการ อบต.  ห่างจาก สอต.ราชบรุ ี เปน็ ระยะทาง 15.4 กม. ตามเส้นทางเพชรเกษม และเสน้ ทางหมายเลข 3206

๒. สถานฝี นอตั โนมตั ิหนองพนั จนั ทร์  สถานท่ีตง้ั : องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหนองพนั จนั ทร์ อ.บ้านคา จ.ราชบุรี  เนอื้ ทีก่ อ่ สรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.25 ตารางเมตร  พิกัด: Lat. 13 28 34 N. Long. 99 26 00 E.  ความสงู จากระดบั นา้ ทะเล.................  สภาพภูมปิ ระเทศ เปน็ พื้นราบ  ทศิ เหนือ ติดอาคารทที่ าการ อบต.หนองพนั จนั ทร์  ทศิ ใต้ ติดถนนและบา้ นชาวบา้ น  ทศิ ตะวนั ออก ติดถนนทางเขา้ หน้า อบต.หนองพนั จนั ทร์  ทศิ ตะวนั ตก ติดหลมุ ทิ้งขยะของ อบต. หนองพนั จนั ทร์  ห่างจาก สอต.ราชบรุ ี เป็นระยะทาง 55.4 กม. ตามเส้นทางเพชรเกษม และเสน้ ทางหมายเลข 3313

๓. สถานีฝนอตั โนมตั สิ วนผ้ึง  สถานท่ีต้งั : องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลสวนผ้งึ อ.สวนผึง้ จ.ราชบรุ ี  พิกัด: Lat. 13 32 41 N. Long. 99 19 04 E.  เน้อื ทกี่ ่อสรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  พิกัด: Lat. 13 27 46 N. Long. 99 41 00 E.  ความสงู จากระดบั น้าทะเล.................  สภาพภมู ิประเทศ เปน็ เนนิ เขาเตี้ยๆ  ทศิ เหนือ ตดิ พน้ื ทีว่ า่ งเปลา่ ในเขต อบต.สวนผงึ้  ทศิ ใต้ ตดิ ร้ัว อบต.และถนนใหญ่ หนา้ อบต.  ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ถนนในพื้นท่ีของ อบต.  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ รวั้ อบต. ถนนขา้ งอบต. และพนื้ ทเี่ อกชน  หา่ งจาก สอต.ราชบุรี เป็นระยะทาง 66.1 กม. ตามเส้นทางเพชรเกษม และเสน้ ทางหมายเลข 3208,3087

๔. สถานีฝนอตั โนมตั จิ อมบงึ  สถานท่ีตัง้ : องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลจอมบงึ อ.จอมบงึ จ.ราชบรุ ี  พิกดั : Lat. 13 37 49 N. Long. 99 36 13 E.  เนื้อทก่ี ่อสร้าง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดับนา้ ทะเล.................  สภาพภูมปิ ระเทศ เปน็ พน้ื ราบ  ทิศเหนอื ติดพืน้ ทจี่ อดรถ-ถนนทางเข้า อบต.และโรงเก็บของเอนกประสงค์  ทิศใต้ ติดพ้ืนท่ีวา่ งเปลา่ สนามหญา้ ในเขต อบต.จอมบงึ  ทิศตะวนั ออก ติดถนนในพนื้ ทขี่ อง อบต.  ทิศตะวนั ตก ติดรว้ั อบต. ถนนข้างอบต. และพนื้ ทเี่ อกชน  หา่ งจาก สอต.ราชบรุ ี เปน็ ระยะทาง 32.8 กม ตามเส้นทางเพชรเกษม และเสน้ ทางหมายเลข 3087

๕. สถานฝี นอตั โนมตั หิ ินกอง  สถานทตี่ ้งั : องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนิ กอง อ.เมอื ง จ.ราชบุรี  พิกดั : Lat. 13 32 51 N. Long. 99 43 29 E.  เน้อื ที่กอ่ สร้าง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดบั นา้ ทะเล.................  สภาพภูมปิ ระเทศ เปน็ พื้นราบ  ทิศเหนือ ติดพืน้ ทวี่ ่างเปล่าและรวั้ อบต.หินกอง  ทิศใต้ ติดพ้ืนทวี่ า่ งเปลา่ สนามหญ้าในเขต อบต.และอาคารทที่ าการ อบต.หนิ กอง  ทิศตะวนั ออก ติดอาคารรบั เล้ยี งเดก็ กอ่ นวยั เรียนในพืน้ ทขี่ อง อบต.  ทิศตะวนั ตก ตดิ พืน้ ทวี่ า่ งเปลา่ และป่าชุมชนขา้ ง อบต.  ห่างจาก สอต.ราชบรุ ี เปน็ ระยะทาง 15.5 กม. ตามเสน้ ทางหมายเลข 3208

๖. สถานีฝนอัตโนมัตดิ อนใหญ่  สถานท่ีตั้ง : องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลดอนใหญ่ อ.บางแพ จ.ราชบุรี  พิกัด: Lat. 13 42 38 N. Long. 100 00 45 E.  เนอ้ื ที่กอ่ สรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดบั นา้ ทะเล.................  สภาพภูมปิ ระเทศ เป็นพื้นราบ  ทิศเหนือ ตดิ รวั้ อบต.ดอนใหญ่ และนากุ้งเกษตรกร  ทิศใต้ ติดพน้ื ท่เี อนกประสงค์หนา้ อบต.ดอนใหญ่  ทิศตะวนั ออก ตดิ ศาลพระภูม,ิ รว้ั ดา้ นหนา้ อบต.และถนนหนา้ อบต.  ทิศตะวนั ตก ติดอาคารทที่ าการ อบต.และโรงเก็บของเอนกประสงคข์ า้ งอาคาร อบต.  หา่ งจาก สอต.ราชบุรี เป็นระยะทาง 47.2 กม. ตามเสน้ ทางเพชรเกษมและหมายเลข 3236

๗. สถานฝี นอตั โนมตั ดิ อนกรวย  สถานที่ตั้ง : องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลดอนกรวย อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี  พิกัด: Lat. 13 35 12 N. Long. 99 57 49 E.  เนอื้ ท่ีกอ่ สร้าง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดับนา้ ทะเล.................  สภาพภมู ปิ ระเทศ เป็นพ้ืนราบ  ทศิ เหนอื ตดิ ทางเขา้ อบต.ดอนกรวย  ทิศใต้ ติดโรงจอดรถของ อบต.ดอนกรวย  ทิศตะวนั ออก ร้วั อบต.และทข่ี องเอกชน  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ลานเอนกประสงค์ด้านหนา้ อบต.  ห่างจาก สอต.ราชบุรี เปน็ ระยะทาง 30.0 กม. ตามเสน้ ทางเพชรเกษมและเสน้ ทางหมายเลข 325

๘. สถานีฝนอัตโนมัติหนองปลาหมอ  สถานท่ีตั้ง : องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนองปลาหมอ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบรุ ี  พิกัด: Lat. 13 47 41 N. Long. 99 47 36 E.  เน้ือทกี่ ่อสรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดบั น้าทะเล.................  สภาพภมู ิประเทศ เป็นพนื้ ราบ  ทิศเหนือ ตดิ อาคารทที่ าการ อบต.หนองปลาหมอ  ทศิ ใต้ ตดิ รั้ว อบต.หนองปลาหมอ และการไฟฟา้ สว่ นภูมิภาคบา้ นโปง่  ทศิ ตะวนั ออก ติดพนื้ ท่ีวา่ งหลังอาคารทที่ าการ อบต.  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ สวนหยอ่ มของ อบต.รั้วดา้ นขา้ งและถนนนดา้ นนอก อบต.  ห่างจาก สอต.ราชบุรี เป็นระยะทาง 45.1 กม. ตามเส้นทางเพชรเกษมและเสน้ ทางหมายเลข 3273

๙. สถานฝี นอัตโนมตั ธิ รรมเสน  สถานทตี่ ั้ง : องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี  พิกัด: Lat. 13 39 55 N. Long. 99 45 37 E.  เนอ้ื ที่กอ่ สรา้ ง (๒.5x๒.5 เมตร)= ๖.๒5 ตารางเมตร  ความสงู จากระดบั นา้ ทะเล.................  สภาพภูมิประเทศ เปน็ พ้ืนราบ  ทิศเหนือ ตดิ ศาลพระภมู -ิ ถนนทางเขา้ อบต.และพน้ื ทสี่ นามหญา้ ของ อบต.  ทศิ ใต้ ติดถนนและอาคารเอกนกประสงค์ของ อบต.ธรรมเสน  ทศิ ตะวนั ออก ตดิ พืน้ ท่ีวา่ งเปน็ สนามหญา้ และถนนทางเข้า อบต.  ทศิ ตะวนั ตก ติดลานเอนกประสงค์ด้านหนา้ อบต.ธรรมเสน  หา่ งจาก สอต.ราชบุรี เปน็ ระยะทาง 22.1 กม. ตามเสน้ ทางเพชรเกษมและเสน้ ทางหมายเลข 3089

๑๐. สถานฝี นอตั โนมตั ดิ อนตะโก  สถานท่ีตั้ง : องค์การบรหิ ารส่วนตาบลดอนตะโก อ.เมอื ง จ.ราชบุรี  พกิ ดั : Lat. 13 30 28 N. Long. 99 48 37 E.  ความสงู จากระดับนา้ ทะเล.................  สภาพภมู ิประเทศ เปน็ พน้ื ราบ  ทศิ เหนอื ติดรัว้ อบต. และถนนทางดา้ นหนา้ อบต.  ทศิ ใต้ ติดสถานรบั เลี้ยงเด็กกอ่ นวัยเรียน อบต.ดอนตะโก  ทิศตะวนั ออก ติดรั้วอบต. และพนื้ ทสี่ ว่ นบคุ คล  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ปา้ ยคทั เอ้าท์ อบต.,และถนนทางเขา้ อบต. ห่างจาก สอต.ราชบุรี เป็นระยะทาง 6.4 กม. ตามเสน้ ทางเพชรเกษมและเสน้ ทางหมายเลข 1010

๑๑.สถานฝี นอตั โนมตั คิ งุ้ กระถิน  สถานท่ตี ัง้ : องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลคงุ้ กระถนิ อ.เมือง จ.ราชบุรี  พกิ ัด: Lat. 13 30 06 N. Long. 99 51 35 E.  ความสงู จากระดับนา้ ทะเล.................  สภาพภมู ปิ ระเทศ เป็นพื้นราบ  ทศิ เหนอื ติดลานเอนกประสงคแ์ ละอาคารเอนกประสงค์ของ อบต. คุง้ กระถนิ  ทิศใต้ ตดิ รัว้ อบต. และพ้นื ท่ีเอกชน  ทิศตะวนั ออก ตดิ พน้ื ท่วี า่ งเปล่าและร้ัว อบต. คงุ้ กระถิน  ทิศตะวนั ตก ติดลานเอนกประสงค์ และอาคารทท่ี าการ อบต.คุ้งกระถิน  หา่ งจาก สอต.ราชบุรี เปน็ ระยะทาง 18.1 กม. ตามเสน้ ทางเพชรเกษม และเสน้ ทางหมายเลข1010 และ 3088