Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานีอุตุนิยมวิทยาสุพรรณบุรี

สถานีอุตุนิยมวิทยาสุพรรณบุรี

Description: ข้อมูลสารสนเทศสถานีอุตุนิยมวิทยา

Search

Read the Text Version

ขอ้ มูลสว่ นท่ี ๑ นวัตกรรมขอ้ มูลสารสนเทศสถานอี ตุ นุ ยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ เร่ิมตง้ั สถานอี ุตนุ ิยมวิทยา (อดีต – ปัจจบุ ัน) 1. ประวตั ิสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (อดตี – ปจั จุบัน) / ภาพถา่ ยสถานอี ตุ นุ ยิ มวิทยา 1.1 วนั ทเ่ี รม่ิ กอ่ สรา้ งสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา มกราคม พ.ศ. 2490 (สถานีแหง่ แรก ใกล้วดั ไชยนาวาส) 1.2 วันที่เริ่มตรวจอากาศครงั้ แรก วันที่ 1 ธนั วาคม 2490 1.3 รายละเอยี ดของการเปลย่ี นแปลงทัง้ หมด (ถา้ ม)ี พร้อมอธิบาย , ภาพถ่ายประกอบ รายละเอยี ดทต่ี ั้งเดมิ ทตี่ ง้ั ของสถานี (Location) เลขท่ี 48 ง. ถนนประชาธปิ ไตย ต. ทา่ พ่ีเลยี้ ง อ. เมือง จ. สพุ รรณบรุ ี เลขประจาสถานีเดมิ (WMO) 48425 พกิ ดั สถานีตรวจอากาศสพุ รรณบรุ ี ละติจดู 14o 30' 00'' องศาเหนอื ลองติจูด 100o 08' 00'' องศาตะวันออก ความสงู ของสถานตี รวจอากาศสุพรรณบรุ จี ากระดบั น้าทะเล 5.20 เมตร ประเภทสถานี ตรวจอากาศผิวพนื้ (Surface) ระยะอ้างองิ ตรงข้ามวดั ไชยนาวาส ห่างศาลากลางเกา่ (ปจั จุบนั คอื ที่ว่าการอาเภอเมือง 1 กม. ทาการตรวจสารประกอบ ทาการตรวจอากาศผิวพ้ืน 5 เวลา ตง้ั แต่ 0700-1900 น. เวลาทที่ าการตรวจ วันที่ 1 ธนั วาคม 2490 หมายเหตุ ยา้ ยสถานมี าตงั้ ณ ตาแหนง่ ปจั จุบนั เมอื่ วนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2519 และเปลย่ี นช่อื สถานี จากสถานีตรวจอากาศสพุ รรณบุรี เป็น สถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาสพุ รรณบุรี จนถึงปจั จุบัน 2. ครุภณั ฑ์ส่งิ ปลูกสร้างภายใน สถานอี ุตนุ ยิ มวิทยา (อดตี – ปัจจบุ ัน) / แผนฝงั ภายในสถานี / พรอ้ มภาพถ่ายประกอบ 2.1 อาคารทที่ าการสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยา 2.2 บา้ นพักขา้ ราชการ จานวน ๓ หลัง 2.3 สง่ิ ปลูกสรา้ งอน่ื ๆ สภาพแวดลอ้ มสถานี ณ ปจั จุบนั อาคารทที่ าการ สร้างเมื่อวนั ที่ 1 0 กรกฎาคม พ.ศ. 2 5 1 9 ราคา 1 8 3 , 7 5 0 . - บาท ลกั ษณะอาคารชั้นเดียว ใตถ้ ุนเตีย้ โครงสร้างคอนกรตี เสรมิ เหลก็ พนื้ หนิ ขัด ขนาด 7.50 X 10.00 ได้มาโดยการแลกเปลี่ยน ดังรปู

อาคารที่ทาการ สร้างเม่อื วันท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ราคา 183,750.- บาท

ภาพรวมบรเิ วณบ้านพกั จานวน 3 หลัง บา้ นพัก ระดับ 1- 3 สรา้ งเมอ่ื วนั ท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ราคา 21,600 ลักษณะ บา้ นพกั ชั้นเดียวใตถ้ นุ สงู โครงสรา้ งไม้ พืน้ ลา่ งคอนกรตี ปนไม้ ขนาด 5.00 x 6.00 เมตร ทรงจ่วั ได้มาโดยการแลกเปล่ยี น ดังรูป

บ้านพกั ระดบั 1- 3 สรา้ งเมื่อวนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ราคา 52,800 ลกั ษณะ บ้านพกั ชัน้ เดยี วใต้ถุนสูง โครงสรา้ งไม้ พน้ื ล่างคอนกรีตปนไม้ ขนาด 7.5X8.0 เมตร. ทรงจว่ั ไดม้ าโดยการแลกเปล่ียน ดังรปู บ้านพัก ระดบั 3- 4 สรา้ งเม่ือ พ.ศ. 2529 ราคา 222,500.- บาท ลกั ษณะบ้านพัก 2 ช้ัน เสา คอนกรตี เสรมิ เหล็ก พน้ื ลา่ งคอนกรีตปนไม้ งบประมาณ 2529 ดังรปู

ปา้ ยสถานีอุตนุ ิยมวทิ ยา 3. อัตรากาลังข้าราชการ เนอื่ งจากจงั หวัดสพุ รรณบุรี มสี ถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาจานวน 2 แหง่ ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ กล่มุ งานอากาศเกษตร ตงั้ อยู่ทอ่ี าเภออทู่ องอกี หนง่ึ แห่ง โดยรวมงานบรหิ ารกับสถานอี ุตนุ ิยมวิทยาสุพรรณบรุ ี และมอี ัตรากาลังรวมทง้ั 2 แหง่ ดังนี้ 3.1 เจา้ พนักงานอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ระดบั อาวุโส ปฏบิ ตั ิหนา้ ทผี่ ู้อานวยการสถานอี ตุ ุนยิ มวิทยาสพุ รรณบรุ ี จานวน 1 อัตรา 3.2 เจา้ หนักงานอตุ นุ ิยมวทิ ยา ระดับปฏบิ ัติงาน / ชานาญงาน 5 อัตรา อตั รากาลงั ขา้ ราชการ (ปจั จุบนั ) ช่อื -สกุล เรมิ่ ปฏิบตั ิงาน ประจาท่ี นายสมนกึ สวนดอกไม้ ผอ.สอต.สุพรรณบุรี 3 มีนาคม 2536 สอต.สุพรรณบรุ ี นายประทปี คล้ายสุบรรณ พอต.ชง. 7 ธนั วาคม 2552 สอต.สุพรรณบรุ ี นายจิรายุทธ์ ธรรมนญู พอต.ชง. 31 ตลุ าคม 2552 สอต.สุพรรณบุรี นายสพุ จน์ วงศ์ราช พอต.ชง.(หวั หนา้ กลมุ่ ) 1 กรกฎาคม 2525 สกษ.อทู่ อง นายชัยฤทธ์ิ จารูญ พอต.ปง. 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 สกษ.อทู่ อง นางสาววารี บวั ขาว พอต.ปง. 30 สิงหาคม 2556 สกษ.อทู่ อง 3.3 ลูกจ้างประจา/นักการภารโรง จานวน ๑ อตั รา ชอ่ื - สกุล เร่มิ ปฏบิ ตั งิ าน ประจาท่ี นายอุบล พลอยสุกใส 3 ตลุ าคม 2519 สอต.สพุ รรณบุรี

3.4 ประวตั ิหวั หนา้ สถาน/ี ผูอ้ านวยการสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (อดตี – ปจั จบุ นั ) ลาดับท่ี ช่อื - สกุล พ.ศ. 2490-2492 1 ร.ท.ณรงค์ บญุ ยเรอื ง รน. 2492-2495 2495-2496 2 ร.ต.สพุ รรณ ศรีโสภา รน. 2496-2498 2498-2514 3 ร.ต.เสง่ยี ม ปฤกษา รน. 2514-2524 2524-2526 4 ร.ต.จานงค์ สุนทรวภิ าค รน. 2526-2529 2529-2538 5 ร.ต.เสนีย์ นติ ิวฒั นะ 2538-2546 2546-ปัจจบุ นั 6 ร.ต.ภชุ งค์ ศรรี ะษา รน. 7 ร.ต.ไพฑรู ย์ สุโพธ์ิ รน. 8 นายเรอื ง ป้อมพมิ พ์ 9 นายศริ โิ รจน์ เยาวศรสี วุ รรณ 10 นายประจติ วรกจิ ศริ ิ 11 นายสมนึก สวนดอกไม้

4. ผงั องคก์ รอัตรากาลงั ของสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยาสุพรรณบรุ ี (ในปจั จุบัน) นายสมนึก สวนดอกไม้ เจ้าพนกั งานอุตนุ ิยมวทิ ยาอาวโุ ส ผอู้ านวยการสถานอี ตุ ุนิยมวิทยาสพุ รรณบุรี กล่มุ งานตรวจอากาศสพุ รรณบุรี กลุ่มงานอากาศเกษตรอู่ทอง นายประทปี คลา้ ยสบุ รรณ นายจิรายทุ ธ์ ธรรมนญู นายสพุ จน์ วงศ์ราช เจ้าพนกั งานอุตุนิยมวิทยาชานาญ เจ้าพนกั งานอตุ ุนิยมวทิ ยาปฏิบตั ิงาน เจ้าพนกั งานอุตนุ ิยมวทิ ยาชานาญงาน งาน หน.กล่มุ งานอากาศเกษตรอ่ทู อง นายอบุ ล พลอยสุกใส น.ส.วารี บวั ขาว นายชยั ฤทธิ์ จารญู เจา้ พนกั งานขบั รถ เจ้าพนักงานอตุ ุนิยมวิทยาชานาญงาน เจ้าพนักงานอุตนุ ิยมวิทยาปฏบิ ัตงิ าน

5. หน้าท่ีความรับผดิ ชอบและภารกิจของสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยาสพุ รรณบุรี หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบและภารกจิ ของสถานีอุตุนิยมวทิ ยาสพุ รรณบุรี การตรวจวดั สารประกอบอุตนุ ยิ มวทิ ยา การตรวจอากาศผิวพ้ืน ซ่ึงเป็นงานที่ต้องปฏิบัติเป็นประจาทุกวนั และทุกคนที่เข้าเวรตรวจอากาศผิวพ้ืน โดยดาเนินการตรวจสารประกอบอตุ นุ ิยมวิทยาตามมาตรฐานท่ีองค์การอุตุนยิ มวิทยาโลกกาหนดเพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มลู ใน การพยากรณ์อากาศและสาหรับแลกเปล่ียนข้อมูลกับนานาประเทศท่ีเป็นสมาชิกขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก หมายถึง หน้าท่ีท่ีต้องปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดของ WMO และขอ้ กาหนดของกรมอุตุนยิ มวิทยา ท่เี ก่ียวกับการตรวจ อากาศผวิ พืน้ เพ่อื การพยากรณ์อากาศ ซ่ึงมรี ายละเอียดของหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ - เวลา 06.30 น. รับรายงานข้อมูลสภาพอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ลักษณะอากาศทั่วไป เวลา 06.00 น. จาก www.tmd.go.th ของกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ในระบบ IP network - พยากรณ์อากาศจังหวัดสุพรรณบุรี แจ้งให้ทราบถึงลักษณะของท้องฟ้าการกระจายของฝน ลมผิวพ้ืน ทัศนวิสัย คาดหมายอุณหภูมิสูงสุด– ต่าสุดประจาวัน การเกิดปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ รายงานผลการตรวจ อากาศผวิ พน้ื ของสถานใี ห้แกห่ ัวหน้าสว่ นราชการ สือ่ มวลชน และกลุ่มเครอื ขา่ ยฝนหลวงในจงั หวัดสุพรรณบุรี โดยสง่ ให้ทาง Line และกลมุ่ Line เครอื ข่ายเตือนภัยของสุพรรณบุรี - 06.50 น. - 07.10 น. ตรวจวดั ข้อมลู การตรวจอากาศผิวพ้นื (Synop) ตามข้ันตอนดงั นี้ - ทาการตรวจลักษณะอากาศปจั จบุ ัน (Present Weather) ว่ามปี รากฏการณ์อะไรเกิดขึน้ บา้ ง เช่น มพี ายุ ฝนฟา้ คะนอง มหี มอกหนา มีฝนตกเปน็ ฝนธรรมดา ฯลฯ พรอ้ มระบทุ ิศทางที่เกิดและเวลาที่เกดิ ถึงเวลาที่สน้ิ สุดด้วย นอกจากน้ันแล้วให้ทาการตรวจสอบลกั ษณะอากาศท่ีผา่ นมา (Past Weather) โดยทาการสงั เกตด้วยสายตาตามที่ WMO กาหนดพร้อมบันทกึ ชนดิ เวลาทเ่ี กดิ ขึน้ และสิ้นสุดลงในชอ่ งหมายเหตุลมฟ้าอากาศในแบบ อต.1101 - ทาการตรวจทิศทางและความเรว็ ลม ด้วยเคร่ืองวัดลม ทิศทางลมหนว่ ยเป็นองศาจากทศิ เหนือ หรือตาม สเกล 0-360 องศา เช่น 360 เป็นลมจากทศิ เหนอื ความเร็วลมมีหน่วยเปน็ น๊อต - ทาการตรวจจานวน ชนดิ และความสงู ของฐานเมฆ ตรวจด้วยสายตา - ทาการตรวจทศั นวิสัย (เกณฑ์การมองเหน็ ในแนวระดับสายตา) ตามแนวนอน ตรวจวัดดว้ ยสายตา - ตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ (อุณหภูมิตุ้มแห้ง – ตุ้มเปียก) ด้วยเคร่ืองมือเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง – ตุ้ม เปียก บนั ทกึ ลงในแบบ อต.1402 - ตรวจวัดอณุ หภมู อิ ากาศต่าสดุ ด้วยเทอร์โมมิเตอรต์ ่าสดุ และ SET คา่ อณุ หภูมิสูงสดุ ประจาวัน - ตรวจวัดการระเหยของน้าแบบถาด ประกอบด้วยอณุ หภูมินา้ สงู สดุ – ต่าสุด ระยะทางลมที่ปากถาดวัด นา้ ระเหย และอ่านขอวัดระดับน้า ดว้ ยเครื่องวัดน้าระเหยแบบถาด บันทกึ ลงในแบบการตรวจวดั น้าระเหยแบบถาด (Evaporation Pan) ชนดิ ด้วยสเกลตะขอ (Hook Gauge) - ตรวจวัดจานวนหยาดน้าฟ้า (Precipitation) ดว้ ยเครือ่ งวดั ปริมาณน้าฝนแบบแกว้ ตวง - ตรวจลักษณะของพ้ืนดิน ดว้ ยสายตาและทาการบนั ทึกค่าลักษณะของพ้ืนดินตามรหสั สากล เมื่อถึงเวลา ตรวจ 0000 UTC (07.00 น.) ทาการตรวจวดั คา่ ความกดอากาศด้วยบาโรมิเตอร์ปรอท - บันทกึ สารประกอบอุตนุ ิยมวทิ ยาทัง้ หมดเข้าระบบ Metnet แล้วส่งข่าวทางระบบ IP network - เปลยี่ นปา้ ยพยากรณอ์ ากาศประจาวนั (ขอ้ มลู สนบั สนุน) บริเวณหนา้ สถานอี ุตนุ ยิ มวทิ ยาสพุ รรณบุรี - เปล่ียนปา้ ยพยากรณอ์ ากาศประจาวนั ภายในสถานอี ุตนุ ยิ มวิทยาสพุ รรณบรุ ี - เวลา 09.00 น. เปลีย่ นกราฟเทอร์โม-ไฮโกรกราฟ และตรวจสอบความเรยี บร้อยพร้อมหักแกอ้ ัตราผดิ - เวลา 09.06 น. รายงานอากาศลักษณะอากาศท่วั ไป ภาคกลาง และบรเิ วณจังหวดั สุพรรณบุรี ความถี่ 102.25 MHz สถานวี ิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย สุพรรณบุรี (FM) - ทุกวนั จนั ทร์ทาการตรวจสอบและจดั เตรยี มกระดาษกราฟตา่ ง ๆ ที่ใช้ประจา - เวลา 09.30 น. ทาการตรวจคัดลอกสมุดบันทึกการตรวจอากาศ (แบบ อต.1101) เพ่ือจัดเก็บไว้ บริการขอ้ มลู ทสี่ านักงาน

- เวลา 09.35 น. ขอรบั รายงานปริมาณนา้ ฝนรายอาเภอ สภาพอากาศ และภยั ธรรมชาติ - เวลา 09.50 ถึง 10.10 น. ตรวจวดั ขอ้ มูลการตรวจอากาศผิวพ้นื (Synop) ตามข้ันตอนดงั นี้ - ทาการตรวจลักษณะอากาศปัจจบุ นั (Present Weather) ว่ามปี รากฎการณอ์ ะไรเกดิ ข้ึนบา้ ง เช่น มีพายุ ฝนฟา้ คะนอง มหี มอกหนา มฝี นตกเปน็ ฝนธรรมดา ฯลฯ พร้อมระบุทิศทาง ท่ีเกดิ และเวลาท่เี กดิ ถงึ เวลาทสี่ น้ิ สดุ ดว้ ย นอกจากนั้นแล้วให้ทาการตรวจสอบลักษณะอากาศท่ีผ่านมา (Past Weather) โดยทาการสังเกตุด้วยสายตาตามที่ WMO กาหนดพรอ้ ม บันทึกชนิด เวลาท่ีเกดิ ขึ้นและสน้ิ สุดลงในชอ่ งหมายเหตลุ มฟ้าอากาศในแบบ อต.1101 - ทาการตรวจทิศทางและความเร็วลมด้วยเคร่ืองวัดลม ทิศทางลมมีหน่วยเป็นองศา(0-360 องศา) ความเร็วลมมีหน่วยเปน็ นอ๊ ต - ทาการตรวจจานวน ชนดิ และความสงู ของฐานเมฆ ตรวจดว้ ยสายตา - ทาการตรวจทศั นวสิ ัย (เกณฑก์ ารมองเหน็ ในแนวระดับสายตา) ตามแนวนอน ตรวจวดั ด้วยสายตา - ตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ (อุณหภูมิตุ้มแห้ง – ตุ้มเปียก) ด้วยเคร่ืองมือเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง – ตุ้ม เปียก บนั ทกึ ลงในแบบ อต.1402 - ตรวจวัดจานวนหยาดนา้ ฟา้ (Precipitation) ดว้ ยเครือ่ งวดั ปรมิ าณน้าฝนแบบแก้วตวง - ตรวจลักษณะของพ้นื ดิน ดว้ ยสายตาและทาการบันทึกค่าลักษณะของพื้นดนิ ตามรหสั สากล เมื่อถึงเวลา ตรวจ 0000 UTC ทาการตรวจวัดค่าความกดอากาศดว้ ยบาโรมเิ ตอรป์ รอท ลงใบแบบ อต.1402 - บนั ทึกสารประกอบอตุ ุนยิ มวทิ ยาท้งั หมดเขา้ ระบบ Metnet แลว้ ส่งข่าวทางระบบ IP network - เวลา10.30 น. ตรวจสอบสภาพเครื่องมือตรวจอากาศ ทุกชนิดให้สามารถทางานได้ตามปกติพร้อมทั้ง ทาความสะอาด เตมิ หมึกปากกา เคร่ืองมอื ตรวจอากาศทกุ ชนิด - เวลา 12.50 น. ตรวจวดั ขอ้ มูลการตรวจอากาศผวิ พื้น (Synop) ตามข้นั ตอน เหมอื นเวลา 09.50 น. - เวลา 14.00 น. ทกุ วนั จนั ทร์และวันพฤหัสบดี รับรายงานพยากรณอ์ ากาศประจาสัปดาห์ ทางระบบ IP network ประกอบด้วย ลักษณะอากาศทวั่ ไป การคาดหมายลักษณะอากาศใน 7 วนั ข้างหน้า พร้อมผลกระทบของ ลักษณะอากาศที่มีต่อพื้นท่ีการเกษตรในภาคกลาง พร้อมดาเนินการตรวจสอบและจัดพิมพ์ ส่งให้ส่วนราชการที่ เก่ยี วข้องรวม 5 หน่วย และเตรยี มการนาไปเผยแพร่ใหก้ ับสาธารณชน ทางกลุ่ม Line - เวลา 15.50 น. ตรวจวดั ข้อมูลการตรวจอากาศผิวพื้น (Synop) ตามขั้นตอน เหมือนเวลา 09.50 น. - เวลา 18.50 น. ตรวจวัดขอ้ มูลการตรวจอากาศผิวพืน้ (Synop) ตามขั้นตอน เหมือนเวลา 09.50 น. พร้อมทาการตรวจวัดค่าอุณหภมู สิ งู สดุ ดว้ ยเทอรโ์ มมิเตอร์สูงสดุ และทาการ SET ค่าอุณหภูมติ า่ สุดประจาวัน - เวลา 21.50 น. ตรวจวดั ข้อมลู การตรวจอากาศผวิ พื้น (Synop) ตามขั้นตอน เหมอื นเวลา 09.50 - เวลา 22.15 น.ตรวจสอบความถูกต้องทุกเวลาท่ีทาการตรวจในแต่ละวันและแต่ละเวลาพร้อมลงชื่อ ผู้ตรวจและผ้ตู รวจสอบไวท้ กุ คร้ัง - เวลา 00.50 น. ตรวจวดั ขอ้ มูลการตรวจอากาศผวิ พน้ื (Synop) ตามขน้ั ตอน เหมือนเวลา 09.50 น. - เวลา 03.50 น. ตรวจวัดขอ้ มลู การตรวจอากาศผวิ พ้นื (Synop) ตามขนั้ ตอน เหมือนเวลา 09.50 น 2. รับส่งข่าวอุตุนิยมวิทยาและการแจ้งข่าวสาร ประกอบด้วย การพยากรณ์อากาศ คาเตือน ลักษณะ อากาศประจาวัน ขา่ วอากาศเพอื่ การเกษตร พยากรณ์อากาศบรเิ วณจงั หวัดสุพรรณบรุ ีใหก้ ับประชาชนส่อื สารมวลชน และหน่วยงานต่าง ๆ ของจังหวัดสุพรรณบุรี รับส่งข้อมูลการตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยาให้ส่วนกลาง (กรม อตุ ุนิยมวิทยา)ได้อย่าครบถว้ น รวดเรว็ ทันเวลาผ้รู ับบรกิ ารได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการภมู ิภาค หัวหนา้ งานส่วนกลาง และรฐั วิสาหกิจ นายอาเภอ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั นายกเทศมนตรที กุ เทศบาลและประชาชน 3. ดแู ลและควบคุมเครอ่ื งมือ จากการท่ีกรมอตุ นุ ยิ มวิทยาได้ติดต้ังสถานีการตรวจวดั ปริมาณน้าฝน - แบบแก้วตวง ทกุ อาเภอ

- เคร่ืองวดั ฝนแบบอตั โนมตั ทิ ่ีสานักงานองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลอาเภอ ละ 1 แห่ง รวม 9 แห่ง - สถานรี ะบบโทรมาตร บรเิ วณลุ่มแม่นา้ ท่าจีน ในเขตจังหวัดสพุ รรณบุรี จานวน 5 แหง่ จงั หวดั ชยั นาท 2 แห่ง จงั หวดั นครปฐม 1 แห่ง และจงั หวดั สมทุ รสาคร 1 แห่ง รวม 10 แหง่ 3.1 เพ่ือตรวจวดั ข้อมลู ปรมิ าณนา้ ฝนในแตล่ ะอาเภอ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลอาเภอ และพน้ื ทมี่ คี วามเสยี่ งสงู ในการเกดิ อทุ กภัย และแจ้งให้ผู้รบั บริการตา่ ง ๆ ไดร้ วดเร็วทันเวลา 4. รวบรวม และตรวจสอบข้อมูลอุตุนิยมวทิ ยา ใหม้ ีความถูกต้อง แม้นยา ตามมาตรของกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 5. การประสารงานและการมีสว่ นรว่ มกบั จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี การประสานงานกับสว่ นราชการและประชาชน ในทุก ๆ เร่ือง การปฏิบัติงานดา้ นการพสั ดุ ดา้ นการเงนิ และบัญชี และการออกให้บริการข้อมลู กับสาธารณชนได้รับทราบซ่งึ ปฏิบตั ิเป็นประจา มีดังนี้ - เข้ารว่ มประชมุ กับหัวหน้าส่วนราชการประจาจงั หวดั ณ หอ้ งประชุมจังหวดั สพุ รรณบุรี - อธิบายขา่ วอากาศใหส้ ื่อมวลชนไดร้ ับทราบรว่ มกับหัวหนา้ สว่ นราชการในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี -รว่ มชมรมหัวหน้าสว่ นราชการในจังหวัดสพุ รรณบุรี รัฐวิสาหกิจ ทกุ เดือน - ร่วมออกหน่วยจังหวัดเคล่ือนที่กับหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้นาองค์กรส่วนท้องถ่ิน รฐั วสิ าหกิจ ในพนื้ ที่จังหวดั สุพรรณบรุ เี ดือนละ 1 ครง้ั - เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษตามหน่วยงานของรฐั เอกชน ประชาชน สถาบันการศึกษา ตามที่หน่วยงาน เชิญมา โดยมีการจัดทา Powerpoint เอกสารส่ือส่งิ พิมพ์ออกเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ - ใหก้ ารบรกิ ารขอ้ มูลอตุ นุ ยิ มวทิ ยาตาม พ.ร.บ.ขอ้ มลู ข่าวสาร 6. เขตพน้ื ที่รับผิดชอบ สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาสุพรรณบรุ ี มีพนื้ ที่รับผิดชอบในเขตจังหวดั สพุ รรณบรุ ที งั้ หมด

ขอ้ มูลส่วนที่ ๒ นวตั กรรมข้อมลู สารสนเทศสถานีอุตุนยิ มวทิ ยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ๑. ชอื่ สถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยา และรายละเอยี ด อดตี – ปัจจุบัน ๑.๑ ช่ือ ภาษาไทย : สถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยาสุพรรณบุรี ๑.๒ ชื่อ ภาษาองั กฤษ : Suphan Buri Meteorological Station ๑.๓ ช่อื เดิม : สถานตี รวจอากาศสพุ รรณบรุ ี ชื่อปจั จบุ ัน : สถานีอุตุนยิ มวทิ ยาสพุ รรณบรุ ี ๑.๔ เลขประจาสถานีอตุ ุนยิ มวทิ ยา (WMO) 48425 ๑.๕ เลขประจาสถานสี ถานฝี น (Local Rain Station) 425201 ๑.๖ ประเภทสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา ตรวจอากาศผิวพน้ื (Surface) ๑.๗ ระยะอา้ งองิ (ระหวา่ งสถานใี กลเ้ คยี ง) - หา่ งจาก สถานอี ุตนุ ิยมวิทยากลมุ่ งานอากาศเกษตรอ่ทู อง 40 กม. - ห่างจาก สถานีอตุ นุ ยิ มวิทยาชยั นาท 95 กม. - ห่างจาก สถานอี ุตุนิยมวิทยานครปฐม 80 กม. - ห่างจาก สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยากาญจนบุรี 90 กม. - หา่ งจาก สถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยากาญจนบรุ ี 85 กม. ๒. ท่ีตง้ั สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา (Location) อดตี – ปจั จบุ ัน ๒.๑ สถานท่ีตัง้ ของสถานอี ุตนุ ิยมวทิ ยา เลขท่ี 2/1 หมูท่ ี่ 4 ถนนมาลยั แมน ตาบลรวั้ ใหญ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดสพุ รรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72000 ๒.๒ หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3555-5242 ๒.๓ E-Mail สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา s48425@metnet.tmd.go.th ๒.๔ เวบ็ ไซต์ สถานีอุตนุ ิยมวทิ ยา ๒.๕ เนอ้ื ที่ก่อสรา้ งสถานี ฯ 4 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา ๒.๖ แสดงพิกดั สถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยา ละตจิ ดู 14o 28' 00'' องศาเหนอื ลองตจิ ดู 100o 08' 00'' องศาตะวนั ออก ๒.๗ ความสูงของสถานจี ากระดบั นา้ ทะเล 7.226 เมตร ๒.๘ ระยะอา้ งองิ บริเวณรอบสถานีอุตุนิยมวิทยา / คาอธบิ าย/ภาพถา่ ย/ แผนท่ีโดยสงั เขป - สถานีอุตุนยิ มวทิ ยาห่างจาก ตัวอาเภอเมืองสุพรรณบุร(ี ไปทางตะวนั ตก) 4 กม. - ห่างจาก สถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยากลมุ่ งานอากาศเกษตรอทู่ อง 40 กม. - หา่ งจาก ศาลากลางจงั หวดั สุพรรณบรุ ี 11 กม. - หา่ งจาก กรมอุตุนยิ มวทิ ยา 112 กม. ๒.๙ แสดงแผนผังสถานี และขอบเขตสถานี (ระบทุ ิศโดยรอบ) / คาอธิบาย /ภาพถา่ ย

แผนท่ตี งั้ โดยสงั เขป

ผังทต่ี ง้ั และขอบเขตสถานีอุตนุ ยิ มวิทยาสุพรรณบรุ ี 3. สภาพภูมปิ ระเทศแวดลอ้ มสถานี (Environment) 3.1 อยู่ในเขตชานเมือง องค์การบริหารส่วนตาบลรั้วใหญ่ เขตติดต่อกับเทศบาลเมืองสุพรรณบรุ ี ลักษณะ ภูมปิ ระเทศ ของจงั หวัดสุพรรณบุรี ส่วนใหญ่เปน็ ท่ีราบลุ่ม มี แมน่ า้ ลาคลอง หนองและบงึ โดยทั่วไป พ้นื ทที่ างด้าน ตะวนั ตก, ตะวนั ตกเฉียงเหนือ และบางสว่ นของดา้ นเหนือส่วนใหญ่มสี ภาพเป็นปา่ ไมแ้ ละภเู ขา (อาเภอดา่ นช้างและ อาเภอเดิมบางนางบวช) มีแม่นา้ ท่าจีนไหลผา่ นตลอดแนวจากเหนือจรดใต้ และบริเวณสองฝงั่ ของแม่น้าเป็นท่รี าบ ลุ่ม เหมาะสาหรับการทานาและเพาะปลกู พื้นท่ีทางใต้ตง้ั แตอ่ าเภอสามชุกลงไปเปน็ ทรี่ าบลมุ่ สาหรับอาเภอสองพ่ี นอ้ งและอาเภอบางปลาม้ามนี า้ ทว่ มขังตลอดท้ังปี ซึง่ จะประสบภยั น้าท่วมเกือบทกุ ปี มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดังน้ี ทศิ เหนือ ตดิ กับ ถนนมาลยั แมน,ตรงข้ามสถานที ดลองขา้ วสพุ รรณบรุ ี ระยะทาง 65 เมตร ทศิ ใต้ ตดิ กับ สถาบันพลศกึ ษา ฯ ,โรงเรียนกีฬาจงั หวัดสพุ รรณบุรี ระยะทาง 41 เมตร ทิศตะวนั ออก ติดกับ คลองวัดปา่ เลไลยก์, ถนนสพุ รรณบรุ -ี บางลี่ ระยะทาง 135 เมตร ทิศตะวนั ตก ติดกบั สานกั งานทหารผา่ นศึกฯ, สถาบนั พลศกึ ษา ฯ ระยะทาง 140 เมตร 3.2 ไมม่ เี งาของวตั ถุ หรืออาคาร หรอื ตน้ ไม้ ตกกระทบบนสนามอุตนุ ยิ มวทิ ยาสุพรรณบรุ ี ตลอดทั้งปี

4. สภาพแวดลอ้ มโดยรอบสถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยา ระยะ 5 กม. (ปัจจบุ นั ) / แผนฝังบริเวณรอบสถานี อุตนุ ิยมวทิ ยา / สิง่ ปลกู สร้างตา่ งๆ / พร้อมภาพถ่ายประกอบ 4.1 ระยะ 0.1 – 0.5 กม. 4.2 ระยะ 0.5 – 1.0 กม. 4.3 ระยะ 1.0 – 2.0 กม. 4.4 ระยะ 2.0 – 3.0 กม. 4.5 ระยะ 3.0 – 4.0 กม. 4.6 ระยะ 4.0 – 5.0 กม. แผนผังบรเิ วณรอบสถานอี ุตนุ ยิ มวิทยา (รูปภาพประกอบ)

ขอ้ มลู ส่วนที่ ๓ นวัตกรรมข้อมลู สารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ การตรวจอากาศ (อดีต – ปัจจบุ ัน) 1. การตรวจอากาศ 1.1 เรมิ่ ทาการตรวจอากาศครัง้ แรก เม่ือวนั ท่ี 1 ธันวาคม 2490 1.2 การตรวจสารประกอบอตุ นุ ิยมวทิ ยา ตรวจอากาศผวิ พนื้ (Surface) 1.3 การตรวจสารประกอบอุตุนยิ มวทิ ยา เวลาการตรวจ / ช่วงระยะการตรวจ ดงั น้ี ตั้งแต่เวลา 06.50 น. - 07.10 น. ตรวจวัดข้อมลู การตรวจอากาศผวิ พ้นื (Synop) ตามขัน้ ตอนดงั น้ี - ทาการตรวจลกั ษณะอากาศปัจจบุ ัน (Present Weather) วา่ มีปรากฏการณ์อะไรเกดิ ขึน้ บา้ ง เชน่ มพี ายุ ฝนฟา้ คะนอง มหี มอกหนา มีฝนตกเป็นฝนธรรมดา ฯลฯ พร้อมระบุทิศทางท่ีเกิดและเวลาท่ีเกดิ ถึงเวลาที่สิ้นสุดด้วย นอกจากนนั้ แล้วให้ทาการตรวจสอบลกั ษณะอากาศท่ีผ่านมา (Past Weather) โดยทาการสังเกตด้วยสายตาตามท่ี WMO กาหนดพร้อมบนั ทกึ ชนิด เวลาท่เี กดิ ขึน้ และสนิ้ สดุ ลงในช่องหมายเหตลุ มฟา้ อากาศในแบบ อต.1101 - ทาการตรวจทศิ ทางและความเรว็ ลม ดว้ ยเครือ่ งวัดลม ทศิ ทางลมหนว่ ยเปน็ องศาจากทิศเหนือ หรือตาม สเกล 0-360 องศา เช่น 360 เปน็ ลมจากทศิ เหนอื ความเร็วลมมีหนว่ ยเปน็ น๊อต - ทาการตรวจจานวน ชนิด และความสูงของฐานเมฆ ตรวจดว้ ยสายตา - ทาการตรวจทศั นวิสยั (เกณฑก์ ารมองเห็นในแนวระดบั สายตา) ตามแนวนอน ตรวจวดั ด้วยสายตา - ตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ (อุณหภูมิตุ้มแห้ง – ตุ้มเปียก) ด้วยเครื่องมือเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง – ตุ้ม เปียก บนั ทกึ ลงในแบบ อต.1402 - ตรวจวดั อุณหภูมิอากาศตา่ สดุ ด้วยเทอรโ์ มมิเตอร์ต่าสดุ และ SET คา่ อุณหภมู สิ ูงสดุ ประจาวนั - ตรวจวัดการระเหยของน้าแบบถาด ประกอบด้วยอณุ หภูมินา้ สูงสดุ – ต่าสุด ระยะทางลมที่ปากถาดวัด น้าระเหย และอ่านขอวัดระดับนา้ ดว้ ยเครื่องวัดนา้ ระเหยแบบถาด บันทกึ ลงในแบบการตรวจวัดน้าระเหยแบบถาด (Evaporation Pan) ชนดิ ด้วยสเกลตะขอ (Hook Gauge) - ตรวจวัดจานวนหยาดนา้ ฟ้า (Precipitation) ด้วยเคร่อื งวดั ปริมาณนา้ ฝนแบบแกว้ ตวง - ตรวจลักษณะของพ้ืนดิน ดว้ ยสายตาและทาการบันทึกค่าลักษณะของพ้ืนดนิ ตามรหัสสากล เม่ือถึงเวลา ตรวจ 0000 UTC (07.00 น.) ทาการตรวจวัดคา่ ความกดอากาศดว้ ยบาโรมิเตอร์ปรอท - บันทกึ สารประกอบอุตนุ ิยมวิทยาท้ังหมดเข้าระบบ Metnet แล้วสง่ ข่าวทางระบบ IP network - เวลา 09.00 น. เปลี่ยนกราฟเทอร์โม-ไฮโกรกราฟ และตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยพร้อมหักแกอ้ ตั ราผิด - เวลา 09.35 น. ขอรับรายงานปริมาณน้าฝนรายอาเภอ สภาพอากาศ และภัยธรรมชาติ - เวลา 09.50 ถึง 10.10 น. ตรวจวัดขอ้ มลู การตรวจอากาศผวิ พ้นื (Synop) ตามขน้ั ตอนดังนี้ - ทาการตรวจลักษณะอากาศปจั จบุ ัน (Present Weather) วา่ มปี รากฎการณอ์ ะไรเกดิ ข้ึนบ้าง เชน่ มพี ายุ ฝนฟ้าคะนอง มหี มอกหนา มฝี นตกเป็นฝนธรรมดา ฯลฯ พร้อมระบุทิศทาง ที่เกดิ และเวลาท่ีเกิดถงึ เวลาท่สี ้นิ สดุ ด้วย นอกจากน้นั แล้วให้ทาการตรวจสอบลักษณะอากาศที่ผ่านมา (Past Weather) โดยทาการสังเกตุด้วยสายตาตามที่ WMO กาหนดพรอ้ ม บันทึกชนิด เวลาท่เี กิดข้นึ และสนิ้ สุดลงในช่องหมายเหตุลมฟา้ อากาศในแบบ อต.1101 - ทาการตรวจทิศทางและความเร็วลมด้วยเคร่ืองวัดลม ทิศทางลมมีหน่วยเป็นองศา(0-360 องศา) ความเรว็ ลมมหี น่วยเป็นน๊อต - ทาการตรวจจานวน ชนดิ และความสงู ของฐานเมฆ ตรวจด้วยสายตา - ทาการตรวจทัศนวสิ ยั (เกณฑก์ ารมองเหน็ ในแนวระดับสายตา) ตามแนวนอน ตรวจวดั ดว้ ยสายตา

- ตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ (อุณหภูมิตุ้มแห้ง – ตุ้มเปียก) ด้วยเคร่ืองมือเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มแห้ง – ตุ้ม เปยี ก บนั ทึกลงในแบบ อต.1402 - ตรวจวดั จานวนหยาดนา้ ฟา้ (Precipitation) ด้วยเครอื่ งวัดปรมิ าณน้าฝนแบบแก้วตวง - ตรวจลักษณะของพ้นื ดิน ด้วยสายตาและทาการบนั ทกึ ค่าลกั ษณะของพ้ืนดนิ ตามรหัสสากล เม่ือถึงเวลา ตรวจ 0000 UTC ทาการตรวจวดั ค่าความกดอากาศด้วยบาโรมเิ ตอรป์ รอท ลงใบแบบ อต.1402 - บนั ทึกสารประกอบอตุ ุนิยมวิทยาทัง้ หมดเข้าระบบ Metnet แลว้ ส่งข่าวทางระบบ IP network - เวลา 12.50 น. ตรวจวัดข้อมลู การตรวจอากาศผวิ พ้ืน (Synop) ตามขน้ั ตอน เหมือนเวลา 09.50 น. - เวลา 15.50 น. ตรวจวัดข้อมูลการตรวจอากาศผวิ พน้ื (Synop) ตามข้ันตอน เหมือนเวลา 09.50 น. - เวลา 18.50 น. ตรวจวัดขอ้ มูลการตรวจอากาศผิวพ้ืน (Synop) ตามข้ันตอน เหมือนเวลา 09.50 น. พร้อมทาการตรวจวัดคา่ อุณหภมู ิสงู สดุ ด้วยเทอร์โมมเิ ตอร์สงู สุด และทาการ SET ค่าอณุ หภูมติ ่าสุดประจาวนั - เวลา 21.50 น. ตรวจวัดข้อมูลการตรวจอากาศผิวพนื้ (Synop) ตามขนั้ ตอน เหมอื นเวลา 09.50 - เวลา 22.15 น.ตรวจสอบความถูกต้องทุกเวลาที่ทาการตรวจในแต่ละวันและแต่ละเวลาพร้อมลงชื่อ ผูต้ รวจและผตู้ รวจสอบไว้ทกุ คร้ัง - เวลา 00.50 น. ตรวจวดั ขอ้ มลู การตรวจอากาศผิวพื้น (Synop) ตามข้นั ตอน เหมอื นเวลา 09.50 น. - เวลา 03.50 น. ตรวจวดั ขอ้ มลู การตรวจอากาศผวิ พ้ืน (Synop) ตามขั้นตอน เหมอื นเวลา 09.50 น ท่ี สารประกอบอตุ นุ ยิ มวิทยา เวลา (น.) 01.00 04.00 07.00 10.00 13.00 16.00 19.00 22.00 1 ตรวจวัดความกดอากาศ //////// 2 ตรวจวดั อณุ หภูมิต้มุ แหง้ //////// 3 ตรวจวดั อณุ หภมู ิตมุ้ เปยี ก //////// 4 ตรวจวดั อณุ หภูมสิ ูงสุด / 5 ตรวจวัดอุณหภูมติ ่าสดุ / 6 ตรวจวัดความชน้ื สัมพทั ธ์ //////// 7 ตรวจวัดทิศทาง/ความเร็วลม / / / / / / / / 8 ตรวจวัดทศั นะวสิ ยั //////// 9 ตรวจวดั ฝน //////// 10 ตรวจการระเหยของน้า / 11 ตรวจชนดิ เมฆ //////// 12 ตรวจลักษณะคลนื่ ลมทะเล 13 ตรวจปรากฏการณ์ธรรมชาติ / / / / / / / /

2 การตรวจวัดเปา้ ทศั นะวิสยั ของสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา / รปู ภาพประกอบ / พร้อมอธบิ าย  ดา้ นทศิ เหนอื  ด้านทศิ ใต้  ด้านทศิ ตะวันออก  ด้านทศิ ตะวนั ตก

3. เครอ่ื งมอื ตรวจอากาศ 3.1 สนามอตุ นุ ิยมวทิ ยา ขนาด 15 X 15 เมตร  ดา้ นทศิ เหนือ ไม่มรี ม่ เงา รว้ั คอนกรีต/ถนนมาลยั แมน  ดา้ นทศิ ใต้ ไมม่ รี ม่ เงา อาคารสานักงาน  ด้านทศิ ตะวนั ออก ไม่มรี ม่ เงา ร้วั คอนกรีต/ถนนรมิ คลองวดั ปา่ เลไลยก์  ดา้ นทศิ ตะวันตก ไมม่ ีรม่ เงา รวั้ เหลก็ ตาข่าย/ถนนทางเข้าสานักงาน ภาพสนามอตุ ุนยิ มวทิ ยาและจดุ ที่ตง้ั เครือ่ งมอื ตรวจอากาศ

ทิศเหนอื ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ข้อมลู สว่ นท่ี 4 นวัตกรรมข้อมูลสารสนเทศสถานอี ุตุนยิ มวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ ลกั ษณะตามภมู ศิ าสตร์ (อดตี – ปัจจุบนั ) 1. ลักษณะอากาศทว่ั ไป สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดในภาคกลางตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไทยห่างจากรุงเทพมหานคร ประมาณ 112 กิโลเมตร ประมาณละติจูด 14 เหนือ ลองจิจูด 100 ตะวันออก มีเนื้อท่ีประมาณ 5,349.04 กิโลเมตร และมีอาณาเขตตดิ ต่อกับบริเวณตา่ ง ๆ ดังน้ีคอื ทิศเหนอื ติดจงั หวัดอทุ ยั ธานีและชยั นาท ทิศใต้ ติดจงั หวัดนครปฐม ทิศตะวนั ออก ติดจังหวดั อา่ งทอง พระนครศรีอยุธยา และสงิ หบ์ ุรี ทิศตะวันตก ติดจงั หวัดกาญจนบุรี ภูมปิ ระเทศทว่ั ไป ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เปน็ ที่ราบลุ่ม มีแม่น้า ลาคลอง ห้วย หนองและบึง โดยทั่วไป พื้นท่ีทางด้าน ตะวันตก ตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนของดา้ นเหนือสว่ นใหญม่ สี ภาพเปน็ ป่าไม้และภูเขา(อ.ด่านชา้ งและ อ.เดิม บางนางบวช) มีแมน่ า้ ทา่ จีนไหลผา่ นตลอดแนวจากเหนอื จรดใต้ และบรเิ วณสองฝ่งั ของแม่น้าเป็นทร่ี าบลุ่ม เหมาะ สาหรับการทานาและเพาะปลูก ลักษณะอากาศทว่ั ไป 1.1 แบ่งตามฤดูกาล อยู่ภายใต้อทิ ธิพลของมรสมุ 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือซึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื ปก คลมุ ในชว่ งฤดูหนาว ทาใหจ้ ังหวัดสุพรรณบรุ ีประสบกับสภาวะหนาวเย็นและแหง้ กบั มรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ซงึ่ พัดปก คลุมในช่วงฤดฝู น ทาให้มีฝนและอากาศชุ่มช้ืน พิจารณาตามลกั ษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทย แบง่ ฤดูกาลของ จงั หวดั สพุ รรณบุรีออกเป็น 3 ฤดู ดงั นี้ ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซ่ึงเป็นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแห้งจะแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วงน้ี แต่ เนอ่ื งจากจังหวัดสุพรรณบรุ ีอยูใ่ นภาคกลางอิทธิพลของบริเวณความกดอากาศสงู จากประเทศจีนที่แผล่ งมาปกคลุม ในช่วงฤดูหนาวจะช้ากว่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ทาให้มอี ากาศหนาวเยน็ ช้ากวา่ สองภาคดังกลา่ ว โดยเร่ิมมีอากาศหนาวประมาณกลางเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป อุณหภูมิต่าสุดในคาบ 30 ปี เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2526 วดั ได้ 10.4 องศาเซลเซยี ส ฤดูร้อน เริ่มเม่ือมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงคือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน พฤษภาคม ในระยะนีจ้ ะมีหย่อมความกดอากาศต่าเน่อื งจากความรอ้ นปกคลมุ ประเทศไทยตอนบน ทาใหม้ ีอากาศ ร้อนอบอ้าวทั่วไป โดยมีอากาศร้อนจัดส่วนมากในเดือนเมษายน แต่มีบางปีที่อากาศร้อนจัดท่ีสุดอยู่ในเดือน พฤษภาคม และ เป็นค่าอุณหภูมิสูงสุดในคาบ 30 ปี เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559 วัดได้ 42.2 องศา เซลเซยี ส ฤดฝู น เรมิ่ ต้ังแตก่ ลางเดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดอื นตลุ าคม เป็นชว่ งที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม ประเทศไทย ร่องความกดอากาศต่าท่ีพาดผ่านบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยจะเล่ือนข้ึนมาพาดผ่านบริเวณ ภาค กลางและภาคเหนอื เป็นลาดับในระยะน้ี ทาให้มฝี นตกชุกข้นึ ตงั้ แต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป เดือนกันยายน

เป็นเดือนทีม่ ฝี นตกชกุ มากทส่ี ดุ ในรอบปีและเปน็ ชว่ งทม่ี ีความช้นื สงู เชน่ เดียวกบั เดอื นตลุ าคม โดยมีจานวนวนั ทมี่ ฝี นตก เฉลย่ี (คาบ 30 ป)ี 101 วันตอ่ ปี 1.2 ลักษณะอากาศประจาถนิ่ อณุ หภมู ิ (สถิติ ตง้ั แต่ปี 2494-2561) เนื่องจากจังหวัดสุพรรณบุรีมีพื้นทส่ี ่วนใหญ่เป็นทีร่ าบลุ่ม มแี ม่นา้ ลาคลองและหนองบึงโดยทัว่ ไป โดยมี ภูเขาเต้ีย ๆ อยู่บา้ งเป็นบางสว่ นทางตอนเหนือ จึงมีอุณหภมู ิค่อนข้างสงู และมีอากาศรอ้ นอบอา้ วในฤดูรอ้ น ส่วนใน ฤดูหนาวไม่หนาวมากนัก มีอุณหภูมิเฉล่ียทั้งปี 28.1 องศาเซลเซียส เคยตรวจวัดอุณหภูมิตา่ ที่สุดได้ 9.2 องศา เซลเซียส เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2498 ส่วนอุณหภูมิสูงที่สุดวัดได้ 42.6 องศาเซลเซียส เม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2506 ฝน จงั หวัดสุพรรณบุรมี ีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่นา้ ลาคลองและหนองบึงอยู่ทั่วไป ทาให้ปริมาณฝนไม่ แตกตา่ งกนั มากนัก โดยมีปริมาณฝนรวมตลอดปเี ฉลีย่ 975.4 มลิ ลิเมตร สาหรบั ฝนที่ตก ในจงั หวดั สพุ รรณบุรนี ้เี ปน็ ฝนท่ีเกิดในฤดูมรสุมตะวันตกเฉยี งใตใ้ นชว่ งฤดูฝนเป็นส่วนใหญ่และบางปีในช่วงฤดฝู นนี้อาจมีพายุดีเปรสชน่ั ผา่ นเข้า มาในบรเิ วณจังหวัดสุพรรณบุรีหรอื ใกลเ้ คียง ทาใหป้ รมิ าณและการกระจายของฝนเพิ่มขึน้ พายหุ มุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนผ่านเข้าสู่บริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนใหญ่เป็นพายุดีเปรสชั่นที่มีกาลังอ่อน หรือเป็นพายุดีเปรสชั่นที่อ่อนกาลังลงจากพายุโซนร้อนและความรุนแรงมีไม่มากนัก แต่ส่งผลให้มีฝนตกหนัก ลม กระโชกแรงและเกดิ น้าท่วมบางพ้นื ท่ีรวมถงึ เกิดความเสยี หายตอ่ สาธารณูปโภคตา่ ง ๆได้ ซึ่งพายนุ ม้ี ักเกิดในช่วงฤดู ฝนโดยส่วนมากเกดิ ในทะเลจีนใต้และมีบางส่วนที่เกิดทางมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เคล่ือนตัวผ่านประเทศ เวียดนามและลาวเข้ามาทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย หากพายุดังกลา่ วยงั คงมกี าลังแรงอาจเคลื่อน ตวั เลยไปถึงภาคเหนอื หรอื ตรงมายังภาคกลาง โดยเฉพาะเดือนกันยายนและตลุ าคม จากสถิติที่บันทึกตั้งแต่ปี 2494 ถึง 2561 พบว่ามีพายุหมุนเขตร้อนเคล่ือนผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี ทงั้ หมด 6 ลกู ซ่ึงมีกาลงั แรงขณะเคลอ่ื นผา่ นเปน็ พายุดีเปรสชน่ั ท้ังหมด โดยเคลื่อนเข้ามาในเดือนพฤษภาคม 1 ลูก (2504) เดือนกรกฎาคม 1 ลูก (2494) เดือนกันยายน 2 ลูก (2506,2515) และเดือนตุลาคม 2 ลูก (2517,2526) 2. พื้นท่ีเส่ยี งภยั ธรรมชาติ 2.1 พื้นทเี่ สียงภยั โคลนและดนิ ถลม่ ในจงั หวัดสพุ รรณบุรีมี 1 อาเภอ คอื อาเภอด่านชา้ ง จานวน 4 ตาบล รายละเอยี ดตามตารางด้านล่าง



2.2 พน้ื ทเี่ สยี งภยั น้าทว่ มหรอื อุทกภยั บางพน้ื ทที่ ่วมซา้ ซาก โดยเฉพาะอาเภอบางปลามา้ และอาเภอสอง พ่นี ้องบางตาบล รายละเอียดตามแผนท่ี GIS ดา้ นลา่ ง



ข้อมูลส่วนที่ 5 นวัตกรรมข้อมลู สารสนเทศสถานีอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Station Information Innovation , Metadata) ............................................ สถานตี รวจวดั ขอ้ มลู อตุ ุนยิ มวทิ ยา พิเศษ 1. สถานตี รวจวดั ข้อมลู อตุ นุ ิยมวทิ ยาอตั โนมตั ิ / ท่ตี ง้ั / จานวน /คาอธบิ าย/ภาพถ่าย/ แผนทโี่ ดยสงั เขป 1.1 สถานตี รวจอากาศอตั โนมตั ิ (ระบบโทรมาตร) สถานโี ทรมาตร ระยะที่ 3 ล่มุ แม่น้าทา่ จนี มีจานวน 10 แหง่ คือ - สถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาสุพรรณบรุ ี วดั สารประกอบ ฝน อุณหภมู ิ ความชนื้ ทิศและกาลงั ลม แสงแดดและความกดอากาศ - วดั ศรทั ธาราษฎร์ จงั หวดั ชัยนาท - วัดสามัคคีรงั สรรค์ จงั หวัดอุทัยธานี - วดั สกณุ ปักษี จังหวัดสพุ รรณบุรี - โรงเรยี นวดั น้าพุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี - วัดทงุ่ นาตาปิ่น จังหวัดสพุ รรณบุรี - วดั โพธิ์เขียว จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี - วัดดารา จังหวัดสุพรรณบุรี - วดั โพธ์ริ าษฎรศ์ รัทธาทา จังหวดั นครปฐม - วัดหนองนกไข่ จงั หวัดสมุทรสาคร

1.2 สถานวี ดั ฝนอัตโนมัติ (AWS)/ คาอธิบาย/ภาพถ่าย/ แผนท่ีโดยสังเขป สถานฝี นอตั โนมัติ จานวน 9 สถานี ซง่ึ ติดต้งั ทส่ี านกั งานองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล จานวนอาเภอละ 1 สถานี โดยขอความร่วมมอื เจา้ หนา้ ทชี่ ว่ ยดูและรกั ษาเก่ียวกับความสะอาดและความปลอดภัยของอปุ กรณ์ต่าง ๆ - อบต.จระใหญ่ อาเภอบางปลาม้า - อบต.เขาดนิ อาเภอเดมิ บางนางบวช - อบต.ดอนคา อาเภออู่ทอง - อบต.ไร่รถ อาเภอดอนเจดยี ์ - อบต.หนองผักนาก อาเภอสามชกุ - อบต.บา้ นกรา่ ง อาเภอศรปี ระจันค์ - อบต.ทพั หลวง อาเภอหนองหญา้ ไซ - อบต.หนองมะค่าโมง อาเภอดา่ นช้าง - อบต.บางเลน อาเภอสองพ่นี อ้ ง

1.3 สถานตี รวจวดั ฝนอาเภอ/ ทตี่ ง้ั / จานวน /คาอธบิ าย/ภาพถา่ ย/ แผนทโ่ี ดยสังเขป สถานีฝนอาเภอ จานวน 11 สถานี ซึง่ ติดตง้ั ท่สี านักงานเกษตรอาเภอละ 1 สถานี โดยขอความ ร่วมมือเจา้ หนา้ ทช่ี ว่ ยดแู ละรักษาเกย่ี วกบั ความสะอาดและความปลอดภยั ของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ช่อื สถานีฝน LAT. LONG. สานกั งานเกษตร อาเภอบางปลามา้ 14.19.00 100.24.00 สานักงานเกษตร อาเภอสองพนี่ อ้ ง 14.13.00 100.01.00 สานกั งานเกษตร อาเภอเดมิ บางนางบวช 14.50.00 100.06.00 ทที่ าการ อาเภออทู่ อง 14.22.00 99.52.00 สานักงานเกษตร อาเภอศรปี ระจันต์ 14.38.00 100.11.00 สานกั งานเกษตร อาเภอดอนเจดีย์ 14.37.00 100.02.00 สานักงานเกษตร อาเภอดา่ นช้าง 14.48.00 99.43.00 สานกั งานเกษตร อาเภอหนองหญา้ ไซ 14.44.00 99.55.00 สถานที ดลองขา้ วสุพรรณบุรี อ.เมือง 14.28.00 100.07.00 นิคมสรา้ งตนเองกระเสยี ว อ.ดา่ นชา้ ง 14.51.00 99.35.00 สานกั งานเกษตร อาเภอสามชกุ 14.46.00 100.05.00