Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Space technology เทคโนโลยีอวกาศ

Space technology เทคโนโลยีอวกาศ

Published by charinrat36, 2019-03-02 08:55:19

Description: Space technology

Search

Read the Text Version

สถานอี วกาศนานาชาติ (International Space Station) • สถานีอวกาศนานาชาติ หรอื ISS เป็นห้องปฏบิ ัตกิ ารลอยฟ้าซง่ึ โคจรรอบโลก ท่ีระยะสูง 410 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 27,744 กม/ชม โคจรรอบ โลก 1 รอบใชเ้ วลา 92 นาที • สร้างข้ึนด้วยความร่วมมือจาก 16 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น แคนาดา ฝร่ังเศส เยอรมัน อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สเปน องั กฤษ สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และบราซลิ

• โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทาการค้นคว้าและทดลองทางวิทยาศาสตร์ หลากหลายสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร์ ชีววิทยา เคมี และฟิสกิ ส์ • สถานีอวกาศอยู่ในสภาพไร้แรงโน้มถ่วง นักวทิ ยาศาสตร์จึงสามารถทาการ ทดลองหรือประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถกระทาบนพื้นผิวโลก ได้ ดังน้ันสถานีอวกาศนานาชาติจึงมีความสาคัญต่ออนาคตของ มนุษยชาตเิ ปน็ อยา่ งมาก

ยานอวกาศ (Spacecraft) • เปน็ ยานพาหนะทีน่ ามนษุ ยห์ รืออุปกรณ์อัตโนมัติขน้ึ ไปส่อู วกาศ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ สารวจโลกหรือเดนิ ทางไปยังดาวดวงอื่น • ยานอวกาศมี 2 ประเภท คือ ยานอวกาศทีม่ ีมนษุ ยค์ วบคุม และยาน อวกาศทีไ่ ม่มีมนษุ ยค์ วบคมุ

• ยานอวกาศท่ีมีมนุษย์ควบคุม มีขนาดใหญ่ เพราะต้องมีปริมาตรพอท่ี มนุษย์อยู่อาศัยได้ และยังต้องบรรทุกปัจจัยต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ เช่น อากาศ อาหาร และเคร่ืองอานวยความสะดวกในการยังชีพ • ได้แก่ ยานอะพอลโล (Apollo) ซึ่งนามนุษย์ไปยงั ดวงจันทร์

• ยานอวกาศทไี่ มม่ มี นุษยค์ วบคมุ มขี นาดเลก็ มากเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ยาน อวกาศทม่ี มี นุษยค์ วบคมุ ยานอวกาศชนิดนี้มมี วลน้อยไม่จาเปน็ ต้องใช้ จรวดนาส่งขนาดใหญ่ จึงมีความประหยดั เชอื้ เพลิงมาก • ไดแ้ ก่ ยานแคสินี (Cassini spacecraft) ซงึ่ ใช้สารวจดาวเสาร์

ส่งิ มีชวี ติ ชนดิ แรกท่ีไดข้ ้ึนไปสารวจอวกาศ “ไลก้า” (Laica) สนุ ขั ฮสั กเี พศเมยี

ไลก้ามีชีวิตอยู่ในวงโคจรได้เพียง 4-10 วัน ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่า หมาท่ีเก็บได้จากข้างถนนในกรุงมอสโกวตัวนี้เกิดภาวะอาหารเป็นพิษ หรอื ไมก่ ็ขาดออกซเิ จนเพราะแบตเตอรขี องระบบออื้ ชีวิตหมดลง\"

นกั บนิ อวกาศคนแรกของไทย • หญงิ ไทยคนแรกทส่ี ร้างประวตั ศิ าสตรก์ าร เดนิ ทางไปสอู่ วกาศ กับ “แอ๊กซ์ อพอลโล สเปซ อะคาเดมี” (AXE Apollo Space Academy) โครงการที่คดั เลอื กผมู้ ีความ แขง็ แกร่งจากทัว่ โลก นางสาวพิรดา เตชะวจิ ติ ร์ (มงิ้ ) วิศวกรดาวเทียมหญงิ ของ (GISTDA)

กจิ กรรมตา่ งๆ ของนกั บินอวกาศ





อาหารบนยานอวกาศเป็น อาหารสาเร็จรูปซ่ึงถูกทาให้ แห้งเพ่ือลดมวล โดยจะผสม นา้ ก่อนรบั ประทาน

ชุดอวกาศทาหน้าที่เป็นเกราะ ป้องกันรังสี เป็นฉนวนควบคุม อุ ณ ห ภู มิ แ ล ะ บ ร ร จุ แ ก๊ ส ออกซิเจนสาหรับหายใจและ สร้างความกดอากาศชุดอวกาศ จงึ มขี นาดใหญแ่ ละพองลม

โครงการอวกาศ โครงการสตารด์ สั ท์ หรือ \"ละอองดาว\" • คื อ โ ค ร ง ก า ร ที่ จ ะ ส่ ง ย า น อ ว ก า ศ ใ น ร า ว เ ดื อ น กุมภาพันธ์ 2542 ไปยังดาวหางที่มีช่ือว่า วีล-ทู (Wild- 2) โดยคาดวา่ จะไปถึงในเดือนมกราคม 2547 • วิธีส่งยานไปนั้น จะใช้วิธีที่เรียกว่า Gravity Assist คืออาศัย แรงเหว่ียงจากสนามแรงโน้มถ่วงของโลกมาช่วยผ่อนแรง ใน รอบแรก ตัวยานจะโคจรเวียนรอบโลก เพ่ืออาศัยแรงเหวี่ยง ของโลกเหว่ียงยานให้ขึ้นสู่วงโคจรที่ยืดออกกว้างขึ้นไป จน วนรอบดวงอาทติ ยไ์ ดใ้ นเวลาสองปีครึ่ง วงโคจรจะยืดออกไป ไกลจนเข้าสู่วงโคจรของดาวหางวลี -ทู ไดใ้ นปี พ.ศ. 2557

โครงการแคสสินี • ยานอวกาศแคสสนิ -ี ฮอยเกนส์ ถกู ปล่อยข้ึนสู่อวกาศในปี ค.ศ. 1997 ยาน ลานีเ้ กิดขึน้ จากองคก์ ารนาซาร่วมมอื กบั องค์การอวกาศยโุ รปและอติ าลี ดว้ ย เพื่อออกสารวจดาวเสารก์ ับบริวารทง้ั 7 • โดยเน้นไปทกี่ ารสารวจบนไททันดวงจนั ทร์ที่มขี นาดใหญท่ ี่สดุ ในวงโคจร ซงึ่ ถอื ไดว้ า่ เป็นยานลาแรกทไ่ี ดเ้ ขา้ ใกลก้ ับดาวเสาร์มากทีส่ ดุ อีกท้ัง โครงการน้ยี งั อยภู่ ายใต้การปฏิบตั ิภารกจิ ตอ่ เนื่องไปจนถงึ ปี 2017

โครงการเจมินี (Gemini Project) • โครงการอวกาศโครงการท่ี 2 ของสหรัฐฯ ประกาศในเดือนมกราคม ค.ศ.1962 เปน็ โครงการทส่ี ง่ มนษุ ย์อวกาศครัง้ ละสองคน และใหช้ อื่ ว่า Gemini • โครงการนี้เป็นโครงการตอ่ เนอ่ื งระหว่างโครงการ Mercury ไปจนถงึ คนไป ลงบนดวงจนั ทร์ ความสาเรจ็ ของโครงการ มคี วามสาคญั มากตอ่ การไปดวง จนั ทร์ จุดมงุ่ หมายของการเดนิ ทางของ Gemini ทั้ง 10 เท่ยี ว ใช้ ระยะเวลา 20 เดอื น จาก ค.ศ.1965 ถงึ ค.ศ.1966


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook