รายการเอกสารขับเคลอ่ื นศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นการศึกษา (ศรร.) 1. ประกาศ ศธ. เร่อื ง แนวทางการพฒั นาและประเมนิ สถานศึกษาพอเพยี งเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.01) 2. ขั้นตอนการประเมนิ ศูนย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา กระทรวง ศึกษา (ศรร.02) 3. เกณฑ์การประเมินศูนย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการศกึ ษา 4. คาสัง่ แต่งตัง้ ผูป้ ระเมินศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา (PDF เผยแพรท่ างออนไลน์)
การดาเนินการประเมนิ ศนู ยก์ า หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพ คณะกรรมการดาเนินงานขบั เคลือ่ นส กระทรวงศึกษาธิการ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ กรงุ เทพมหานคร
ารเรียนร้ตู าม พียงด้านการศกึ ษา สถานศึกษาพอเพยี ง
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ความรู้ พอประ มเี หต Knowledge มภี มู ิคุ้มกันใ คุณธรรม Virtues คนมคี ุณภาพ หลกั ในการว และตัดส Quality Foundations Management หลกั ในการบริหารจัดการ ทน่ี าไปสคู่ ว
22 ยง ะมาณ วัตถุ/เศรษฐกจิ ตุผล SoสEccังonคioemมtyy ในตัวท่ีดี สงิ่ แวดล้อม Environment วฒั นธรรม Culture วางแผน พัฒนาใหก้ ้าวหนา้ ไปอยา่ งสมดุล สนิ ใจ และพร้อมรับการเปล่ยี นแปลง t Principles Sustainable Well-being วามสาเร็จและการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื
เศรษฐกจิ พอเพียงสสู่ ถาน เศรษฐกจิ การบริหารสถานศกึ ษา การจัดหลกั สูตรการเรียน - จดั สภาพแวดลอ้ มท่ี - กาหนดมาตรฐานการเรยี เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้วถิ ี ชน้ั ปี (รายวิชาพน้ื ฐาน) พอเพียง - จดั ทาหนว่ ย/แผนการเรยี - สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร - จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ - ปลูกฝงั ใหเ้ ปน็ วถิ ชี วี ติ - จดั ทาส่อื /แหล่งเรยี นรู้ - ชุมชนสมั พันธ์ - จัดทาเคร่อื งมือวดั /ประเม - เกณฑก์ ารผ่านชว่ งช้ัน
นศกึ ษา จพอเพียง นการสอน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ยนรู้ แนะแนว กิจกรรมนักเรียน ยนรู้ - ลส.-นน. ยุวกาชาด - ใหบ้ รกิ ารแนะแนว ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ มนิ ผล - ระบบดูแล - โครงงาน - ชมุ นมุ - ชมรม ฯลฯ ชว่ ยเหลอื นกั เรียน กิจกรรมเพ่ือสังคม/จิตสาธารณะ เนน้ จิตอาสา การมีส่วนรว่ ม การเห็นคณุ คา่ ของการอยู่ร่วมกัน 3
โรงเรียนพอเพยี ง 3 ระดับ ศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา (205) สผถลากนารศปึกฏษิบาพตั เิอปเพน็ เียลงิศท่มี(7ี 42) สถานศกึ ษาพอเพียง (23,796 = 63%)
4 เป็นพเี่ ลยี้ ง ขยายผลได้ คงสภาพ มคี ณุ ภาพ รแู้ นวทาง เร่มิ เหน็ ผล ขอ้ มูล ณ มกราคม 2561
เคร่อื งมือประเมนิ ศ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพ เกณฑก์ บคุ ลากร การจ สภาพแ 4 ตัวบง่ ช้ี ทางกา 2 ตัว
5 ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ าม พอเพียงด้านการศกึ ษา ศธ. กา้ วหนา้ 8 ตวั บง่ ชี้ ระดับคณุ ภาพ 1-5 เกณฑผ์ า่ น มากกว่าหรอื เทา่ กบั 4 จัดการ ความสมั พนั ธก์ บั แวดล้อม หน่วยงานภายนอก ายภาพ 2 ตัวบ่งช้ี วบง่ ช้ี
เกณฑก์ ้าวหน้า ดา้ นที่ 1 บคุ ล บุค ผ้บู รหิ าร ครู/บุคลากร
6 ลากร คลากร นักเรยี น คณะกรรมการ สถานศกึ ษา
เกณฑก์ ้าวหน้า ด้านที่ 2 การจดั การ สภาพ อาคาร สถานท่ี แห และสิ่งแวดล้อม กิจกรร
7 รสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ พแวดล้อม หล่งเรียนร/ู้ ฐานเรียนรู้ และ/หรอื รมการเรยี นรู้เพอ่ื เสริมสรา้ งอปุ นสิ ัย อยู่อย่างพอเพียง
เกณฑ์กา้ วหนา้ ด้านที่ 3 ความสมั ความส หน่วยงา ความสมั พันธก์ ับสถานศึกษาอ่ืน ในการขยายผลการขบั เคล่อื น ปศพพ.
8 มพนั ธก์ บั หนว่ ยงานภายนอก สัมพันธ์กับ านภายนอก ความสมั พันธก์ บั หนว่ ยงานทสี่ งั กดั และ/หรอื หนว่ ยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน)
วธิ กี ารให้คะแนนเกณฑก์ ้าวหนา้ ดา้ น/ตวั บง่ ช้ี คะแนนเต 35 1 บุคลากร 10 10 1.1 ผู้บรหิ าร 10 5 1.2 ครู 10 5 1.3 นกั เรียน 5 10 1.4 คณะกรรมการสถานศกึ ษา 5 5 2 การจดั การสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 2.1 อาคาร สถานที่ และส่ิงแวดล้อม 2.2 แหล่งเรยี นรู้/ฐานเรยี นรู้ / กกิ รรมการเรียนรู้ 3 ความสัมพนั ธ์กบั หนว่ ยงานภายนอก 3.1 ความสัมพนั ธก์ ับสถานศกึ ษาอน่ื ในการขยายผล 3.2 ความสัมพนั ธ์กบั หนว่ ยงานทีส่ งั กัด /หนว่ ยงานภายนอก
9 า ตม็ เฉล่ยี เกณฑผ์ ่าน และวิธีการคานวณ 5 เกณฑ์ผ่าน คะแนนเฉล่ยี 4 ขึน้ ไป ในแตล่ ะดา้ น ครบทุกด้าน 35/7 วิธกี ารคานวณ คะแนนแตล่ ะดา้ น คานวณจากการ 5 รวมคะแนนเฉลี่ยในด้านน้นั ๆ ของ กรรมการทั้ง 5 ท่าน แลว้ หารดว้ ย 5 10/2 5 10/2
ข้นั ตอนการประเมินและประกาศเป็น สป/ศธ.ประกาศ 1 2 หน่วยงานตน้ ปฏทิ ินการ สถานศกึ ษาสมคั ร สว่ นกลา ประเมิน ศรร. ขอรบั การประเมิน ศรร. ผ่านหนว่ ยงาน ตรวจสอบควา แก่หน่วยงานตน้ ต้นสงั กัด(ในพน้ื ท่ี) และส่งเอกสาร แล้วสง่ ต่อไปยงั ยงั สป/ ศธ. เพ สังกัด ตน้ สงั กดั สว่ นกลาง การประเม 9 8 ศธ. ตรวจสอบและ ศธภ. แจ้งผล ประกาศรายช่อื การประเมนิ สถานศกึ ษาทผี่ ่านการ ประเมินเป็น ศรร. ศรร. ไปยัง สป/ศธ. ประจาปี
น ศรร. 10 3 4 5 ศธ. แตง่ ต้งั ศธ. สง่ รายชื่อ นสังกดั คณะกรรมการ สถานศกึ ษาที่ผา่ นการ าง คัดกรองเอกสาร คดั กรอง ไปยงั ศธภ. ามพร้อม เพื่อดาเนินการ รสมัครไป ออกประเมนิ พ่ือขอรบั มนิ 6 ศธภ. สรรหา 87 และแต่งตงั้ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ออกประเมิน ประเมิน ศรร. ตาม ตามปฏทิ ิน เกณฑ์ที่กาหนด
การสรรหาและแตง่ ตัง้ คณะกรรม ศึกษาธิการภาค เป็นผู้มีอานาจสรรห ศูนย์การเรียนรฯู้ โดยมขี ้อปฏิบตั ิ ดงั น ▪ จานวนคณะกรรมการประเมนิ ใ แหง่ ละ 5 คน ท้ังนี้ ไมน่ ับรวม ผู้ร่วม ▪ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการ คุณสมบัติ และ เกณฑ์สงั กัด ทีก่ าหน
11 มการประเมนิ ศรร. หาและแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมนิ น้ี ใหม้ ีคณะกรรมการประเมนิ ศรร. มคณะเดินทาง ผู้ตดิ ตาม ฯลฯ รประเมิน ศรร. ตอ้ งเปน็ ไปตามเกณฑ์ นด
องคป์ ระกอบคณะกรรมการประเมนิ ศร (1)–(3) ผทู้ รงคุณวุฒิ ทาหน้าทป่ี ระธา ศธ. / ศธภ. / ศธจ. 2 ทา่ น ทาหนา้ เลขานุการ (ต้องผา่ นการอบรมและได้ร (4) ผ้แู ทนจากต้นสังกดั ของสถานศึกษ อบรมเป็นผู้ประเมนิ ศรร. หรอื เป็นผ แต่งตั้งโดย ศธ. (5) ผู้บรหิ ารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปร ในวนั ท่ี ศรร. นัน้ ไดร้ บั การประเมนิ เปน็ ศ
12 รร. มีดงั นี้ าน/รองประธาน 1 ทา่ น + ผแู้ ทนจาก าท่ี ประธาน/รองประธาน และ รบั การประกาศแต่งต้งั โดย ศธ.) ษาทีร่ ับการประเมนิ ตอ้ งเป็นผู้ผา่ นการ ผปู้ ระเมิน สถพ. ทีไ่ ดร้ บั การประกาศ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา ศนู ย์การเรยี นรฯู้ จากสงั กดั ใดก็ได้
ปฏทิ นิ การประเมนิ ศูนยก์ ารเ • 16 พฤษภาคม - 10 ภาคเรียนท่ี 1 • 1 พฤศจกิ ายน 2562 ภาคเรียนที่ 2
13 เรยี นรูฯ้ (ศรร.) 0 ตุลาคม ๒๕๖๒ 2 – 31 มนี าคม 2563
เงือ่ นไขการออกประเมนิ ศรร ▪ ประเมินในวนั ทาการ/วนั ราชการ ท ของโรงเรียน ▪ ระยะเวลาประเมิน ใหย้ ึดหลักเกณฑ อย่างเคร่งครดั คือ ประเมนิ 1 วนั ต
14 ร. ทม่ี ีการจัดการเรียนการสอนตามปกติ ฑ์ทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ตอ่ 1 โรง
การรายงานผลการประเมนิ สานกั งานศกึ ษาธิการภาค ต้องจัดสง่ แบบร หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการ ศกึ ษาธกิ าร ประกอบดว้ ย ▪ หนังสือนาส่ง สรุปผลการออกประเมิน ▪ แบบสรปุ คะแนนการประเมินศูนยก์ ารเ พอเพียงดา้ นการศกึ ษาท่ีออกประเมนิ (
15 รายงานผลการประเมินศูนยก์ ารเรยี นรตู้ าม รศกึ ษา มายงั สานกั งานปลดั กระทรวง น เรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ (ทั้งทผ่ี ่านและไมผ่ า่ น)
4 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง แนวทางการพฒั นาและประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพยี ง เป็นศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ----------------------------------------------------- ดว้ ยกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษาทุกแห่ง ให้สามารถจัดกระบวนการเรียน การสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยความยั่งยืน จึงต้องมีการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” เพื่อเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการขยายผลการขับเคล่ือน “สถานศึกษาพอเพียง” โดยได้กาหนด แนวทางในการพัฒนาและประเมนิ ศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ดงั น้ี ๑. แนวทางการพฒั นา ๑.๑ สถานศึกษาที่จะพัฒนาเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศกึ ษา” ตอ้ งเปน็ สถานศึกษาทไ่ี ด้รับประกาศเป็น “สถานศกึ ษาพอเพียง” ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑.๒ การพฒั นา “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา” เปน็ บทบาทหน้าท่ขี องหน่วยงานตน้ สังกัด โดยอาจร่วมมอื กบั หน่วยงานอื่นๆ ในการดาเนินงาน ตามความเหมาะสม ๑.๓ การพัฒนา “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ให้เป็นไปเพอ่ื เสรมิ สร้างศกั ยภาพในการขยายผล “สถานศึกษาพอเพยี ง” ๒. การประเมินศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา ๒.๑ ใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ตามแนบท้ายประกาศน้ี) ๒.๒ หน่วยงานต้นสังกัด ส่งรายชื่อให้ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อขอรับการประเมิน ๒.๓ กระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการ และผู้แทนจาก หน่วยงานต้นสังกัด จานวนไม่น้อยกว่า ๓ - ๕ คน ดาเนินการประเมินให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๒.๔ กระทรวงศึกษาธิการประกาศรายชื่อ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศกึ ษา” ๒.๕ กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดสถานศึกษา ดาเนินการกากับติดตาม ประเมินผล การพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” สู่การเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศกึ ษา” อยา่ งสม่าเสมอ ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ
เกณฑ เกณฑ์การ ศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ องค์ประกอบ ระดบั ๑ ระดบั ๒ ระดบั คณุ ภาพ ๑. บคุ ลากร ๑.๑ ผู้บริหาร มคี วามรู้ ความเข้าใจในหลกั - ตามระดับ ๑ และ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ปฏบิ ตั ติ นตาม ปศพพ. และ (ปศพพ.) อย่างถกู ต้อง - นา ปศพพ. มาใช้ในการ บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ๑.๒ ครู - รอ้ ยละ ๒๕ ของจานวนครูใน - ตามระดบั ๑ และ สถานศึกษา มีความรู้ ความ - ปฏบิ ัตติ นตาม ปศพพ. และ เขา้ ใจ มีส่อื และ/หรอื - ครูนา ปศพพ. มาใช้ นวัตกรรมการเรียนรเู้ กยี่ วกบั ปศพพ. และอธิบาย ปศพพ. ออกแบบและจัดกิจกรรมการ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เรียนรู้ทร่ี บั ผดิ ชอบจนเหน็ ผล และ - ครูใชส้ ื่อ และ/หรือนวัตกรรม การเรยี นรู้เกีย่ วกับ ปศพพ. ใน การจดั กจิ กรรมการเรียนรจู้ น เหน็ ผล
ฑ์การประเมนิ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รประเมิน จพอเพยี งด้านการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ระดบั ๓ ระดบั ๔ ระดับ ๕ - ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ - สามารถถา่ ยทอด - ขยายผลการขบั เคลื่อน - ชุมชนหรอื หน่วยงานภายนอก ประสบการณ์การนา ปศพพ. ปศพพ. สู่ภายนอก เห็นคุณคา่ ยอมรับ และให้ มาใชใ้ นสถานศึกษา และ สถานศกึ ษา เชน่ ชมุ ชน ความร่วมมือในการขยายผล - มุง่ มั่นในการขับเคลื่อน สถานศกึ ษาอ่ืน ฯลฯ การขบั เคล่อื น ปศพพ. สู่ ปศพพ. ในสถานศึกษา ภายนอกสถานศึกษา - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดับ ๒ และ - มีครูแกนนานาบทเรียน - ตามระดับ ๔ และ - ครูถา่ ยทอดประสบการณ์ให้ - ครูมากกว่ากง่ึ หน่งึ จดั ความสาเรจ็ ในการจัดการ เพื่อนครูในสถานศกึ ษา จนมี เรียนรตู้ าม ปศพพ. จากการ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ าม ครทู ุกระดบั ชนั้ และทุกกลมุ่ ถอดบทเรียนของตนมาจดั ทา ปศพพ. อยา่ งต่อเนือ่ ง และ สาระการเรียนรจู้ ดั กจิ กรรม เป็นสอ่ื ขยายผล สู่ภายนอก - ครูในสถานศึกษาร่วมมือใน การเรยี นรู้ตาม ปศพพ. จน สถานศึกษาจนเห็นผล การขยายผลการขับเคล่อื นสู่ เหน็ ผล ภายนอกสถานศึกษาอยา่ ง สม่าเสมอ - ครูนาสือ่ และ/หรอื นวัตกรรม ท่ีพัฒนาตามระดบั ๔ มาใช้ ขยายผลสภู่ ายนอกสถานศกึ ษา จนเหน็ ผล หน้า ๑ ของ ๓
เกณฑ์กา ~๒~ องคป์ ระกอบ ระดบั ๑ ระดบั ๒ ระดับคณุ ภาพ ๑.๓ นักเรียน มีนกั เรียนแกนนาทมี่ คี วามรู้ - ตามระดบั ๑ และ - - ความเขา้ ใจ และอธิบาย ปศพพ. - นกั เรียนแกนนาเกดิ การ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เรยี นรู้ และปฏิบัติตนตาม ปศพพ. จนเห็นผล เห็น คณุ คา่ และเกิดศรัทธา ๑.๔ คณะกรรมการ รบั รกู้ ารขับเคล่อื น ปศพพ. ของ - ตามระดบั ๑ และ - สถานศกึ ษา สถานศึกษา - มคี วามสนใจและมีสว่ นร่วม - ในการขับเคล่อื น ปศพพ. ของสถานศึกษา ๒. การจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ๒.๑ อาคาร สถานท่ีและ มีผรู้ บั ผดิ ชอบการใช้ ปรบั ปรุง - ตามระดับ ๑ และ - สง่ิ แวดล้อม ดแู ล รักษา อาคารสถานที่และ - มแี ผนงาน/โครงการ - จดั การสภาพแวดล้อมสาหรบั การเรยี นรอู้ ยา่ งเหมาะสม งบประมาณ และ - ผู้รบั ผิดชอบในการปรบั ใช้ อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมให้เปน็ ไปตาม ปศพพ.
ารประเมนิ ศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ~ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดบั ๕ ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ นกั เรียนแกนนามสี ่วนร่วมใน - นกั เรยี นแกนนามสี ว่ นร่วมใน - นกั เรยี นแกนนาเปน็ หลกั ใน การขับเคลอ่ื น ปศพพ. ใน การขบั เคล่ือน ปศพพ. สู่ การจัดกจิ กรรมขบั เคลื่อน สถานศึกษาจนมีนกั เรียนทม่ี ี ภายนอกสถานศึกษา และ ปศพพ. ภายในสถานศึกษา คณุ สมบตั ิอยอู่ ยา่ งพอเพียง - นกั เรยี นแกนนาไดน้ า ปศพพ. และ/หรอื จดั กิจกรรมขยายผล จานวนเพิ่มขึน้ มาพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ปศพพ. สู่ภายนอกสถานศึกษา ตามระดับ ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ เหน็ คณุ คา่ และศรทั ธาใน - สนับสนนุ กิจกรรมการ - สนับสนุนกจิ กรรมการขยาย การขับเคลื่อน ปศพพ. ของ สถานศึกษา ขบั เคลื่อน ปศพพ.ของ ผลการขบั เคลอ่ื น ปศพพ. สู่ สถานศึกษาจนเห็นผล ภายนอกจนเห็นผล ตามระดับ ๒ และ - ตามระดับ ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ - ชุมชน หรือหนว่ ยงานอน่ื ได้ มศี ูนยร์ วมข้อมลู การขับเคล่อื น - ครูและนักเรียนมสี ่วนรว่ มใน ใช้ประโยชน์ และมีส่วนรว่ ม ปศพพ. ของสถานศกึ ษา และ การดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม ในการส่งเสริม สนับสนุนการ ดแู ลรักษา และพัฒนาอาคาร มแี ผนผงั แสดงแหล่งเรยี นร/ู้ อาคาร สถานท่ี ให้เอ้อื ตอ่ สถานท่ี สภาพแวดล้อมของ สถานศกึ ษาอยา่ งสมา่ เสมอ ฐานกจิ กรรมการเรียนรู้ การเรยี นรู้ตาม ปศพพ. ปศพพ. ในสถานศกึ ษา และ มสี ภาพแวดลอ้ มท่เี อื้อต่อการ เรียนรตู้ าม ปศพพ. เช่น สะอาด รม่ รนื่ ปลอดภยั ฯลฯ หนา้ ๒ ของ ๓
เกณฑ ~๓~ องค์ประกอบ ระดับ ๑ ระดบั ๒ ระดบั คุณภาพ ๒.๒ แหล่งเรยี นรู้/ ฐาน มแี หลง่ เรยี นรู้ หรือฐานเรยี นรู้ - ตามระดับ ๑ และ - - มสี ือ่ ประกอบการเรียนรู้ - การเรยี นรู้ และ/หรอื หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่อื ประจาแหล่ง/ฐาน/กิจกรรม - กิจกรรมการเรยี นรู้ เพือ่ เสรมิ สร้างอปุ นิสัยอยอู่ ยา่ ง การเรยี นรู้ ปศพพ. ท่ี สามารถสอื่ ความได้ถกู ตอ้ ง เสรมิ สรา้ งอุปนิสยั อยู่ พอเพยี งภายใน และ/หรอื อย่างพอเพียง ภายนอกสถานศกึ ษาที่ สอดคล้องกบั ภมู สิ ังคมของ สถานศึกษาและมกี ารจดั การ อยา่ งพอเพยี ง ๓. ความสมั พนั ธก์ ับหนว่ ยงานภายนอก ๓.๑ ความสมั พนั ธ์กับ มีเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ ปศพพ. - ตามระดับ ๑ และ - สถานศกึ ษาอ่ืนในการ - มีประสบการณ์ในการรบั -ส ขยายผลการขบั เคลอ่ื น ปศพพ. สถานศกึ ษาอ่ืนมาศกึ ษา ดูงาน ๓.๒ ความสัมพันธ์กับ มคี วามสมั พันธ์อนั ดกี ับ - ตามระดับ ๑ และ - หน่วยงานท่ีสังกดั และ/ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ - ประสานความร่วมมือกับ - หรอื หนว่ ยงานภายนอก (ภาครฐั ภาคเอกชน และ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพื่อให้ ชุมชน) และ/หรอื รับการสนับสนุน เพ่อื การขบั เคลอ่ื น ปศพพ. หมายเหตุ : ปศพพ. หมายถงึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ฑ์การประเมนิ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ~ ระดับ ๓ ระดบั ๔ ระดับ ๕ ตามระดบั ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ มีวิทยากรรับผดิ ชอบฐานการ บคุ ลากรในสถานศึกษา - มกี ารประเมินผลการใช้แหลง่ / เรียนรู้ ปศพพ.ทสี่ ามารถ สามารถเป็นวิทยากรอธบิ าย อธิบายความได้อย่างถูกต้อง การใช้ประโยชนจ์ ากแหล่ง/ ฐาน/กิจกรรมการเรยี นรู้ ชัดเจน และ ฐาน/กิจกรรมการเรยี นรู้ ปศพพ. อยา่ งเป็นรปู ธรรม และ มแี ผนการจัดการเรยี นรู้ของ ปศพพ. - มกี ารพัฒนาแหล่ง/ฐาน/ แหล่ง/ฐาน/กจิ กรรมการ ในการเสรมิ สรา้ งอปุ นิสยั อยู่ กิจกรรมการเรียนรู้ ปศพพ. เรียนรู้ ปศพพ. ไดอ้ ย่าง อย่างพอเพียงได้อย่างถูกตอ้ ง อยา่ งต่อเนอื่ ง ถูกตอ้ งและชัดเจน และชัดเจน ตามระดับ ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ สามารถบริหารจัดการเพื่อ รองรับการขอศกึ ษาดงู านจาก - เป็นสถานศึกษาแกนนาของ - สามารถเป็นพีเ่ ลยี้ งในการ สถานศึกษาอ่ืน โดยไมก่ ระทบ ภารกจิ หลกั ของสถานศกึ ษา เครือข่ายขับเคลอื่ น ปศพพ. พัฒนาสถานศกึ ษาอนื่ ใหเ้ ปน็ ตามระดับ ๒ และ สถานศึกษาพอเพยี งไดอ้ ยา่ ง สามารถบริหารจดั การ ความสัมพันธก์ บั หนว่ ยงาน น้อย ๑ แหง่ ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื น ปศพพ. ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - ตามระดับ ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ และมปี ระสทิ ธิภาพ - ได้รับการยอมรับ และความ - ประสานความร่วมมือกบั ร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ หน่วยงานตา่ ง ๆ จนสามารถ ในการขยายผลการขบั เคลอื่ น พฒั นาสถานศึกษาอ่ืนใหเ้ ปน็ ปศพพ. สูห่ นว่ ยงานภายนอก สถานศึกษาพอเพยี งไดอ้ ย่าง นอ้ ย ๑ แห่ง หน้า ๓ ของ ๓
ขัน้ ตอนการดาเนินการประเมนิ ศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร --------------------------- 1. สถานศกึ ษาพอเพยี ง เตรียมความพรอ้ มเพ่ือขอรับการประเมิน ดาเนินการดังนี้ 1.1 จัดทาแบบประเมินตนเอง พร้อมรายละเอียดข้อมูลประกอบการคัดกรอง ความยาวไม่เกิน 20 หน้า กระดาษเอ4 1.2 จัดทาภาคผนวก โดยให้บันทึกภาพความสาเร็จของการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้ฯ บริบทสถานศึกษา แหล่ง/ฐานการเรียนรู้ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การ เรียนรู้ เร่ืองเล่าของครูเกี่ยวกับเร่ืองการออกแบบการเรียนรู้ เพ่ือเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียง และเรื่องเล่าของ นักเรียนแกนนาท่ีมีการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิตประจาวัน พร้อมท้ังคาบรรยาย ประกอบลงในแผน่ CD ความยาวไม่เกนิ 15 นาที 1.3 จัดสง่ แบบประเมินตนเองและภาคผนวก ดงั น้ี 1.3.1 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ส่งไปยัง สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาต้นสังกดั (สพป.) / (สพม.) /หรอื สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) แล้วแต่ กรณี 1.3.2 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ส่งไปยัง สานักงาน กศน. จงั หวัด 1.3.3 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส่งไปยัง หนว่ ยงานต้นสังกดั สว่ นกลาง 1.3.4 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ส่งไปยัง หน่วยงานต้น สังกดั ส่วนกลาง 1.3.5 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ส่งไปยัง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ (เทศบาล/อบต./อบจ.) 1.3.6 สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ส่งไปยัง กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน 1.3.7 สถานศกึ ษาพอเพียงในสังกดั กรงุ เทพมหานคร ส่งไปยัง สานักการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 2. หน่วยงานต้นสงั กัด ดาเนนิ การดังนี้ 2.1 หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ 1.3.1 ตรวจพิจารณาคัดกรองข้อมูลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาและรายงานพร้อมท้ังเอกสารหลักฐานการประเมิน ส่งไปยังศูนย์ขับเคล่ือนการพัฒนาตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สพฐ. เพ่ือรวบรวมนาสง่ ศูนย์ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.2 หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ 1.3.2 ตรวจพิจารณาคัดกรองข้อมูลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาและรายงานพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานการประเมิน สง่ ไปยงั สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
-2- และการศึกษาตามนอกอัธยาศัย (กศน.) เพ่ือรวบรวมนาส่งศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.3 หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ 1.3.3, 1.3.4, 1.3.6 และ 1.3.7 ตรวจพิจารณาคัดกรองข้อมูลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา พร้อมทั้งจัดส่งเอกสารหลักฐานการประเมิน รวบรวมนาส่งศูนย์ขับเคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ 2.4 หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ 1.3.5 ตรวจพิจารณาคัดกรองข้อมูลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาและรายงานความพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานการประเมิน ส่งไปยังสานักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถ่ินจังหวัด เพื่อนาส่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (กถ.) รวบรวมนาส่งศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจ พอเพียง กระทรวงศึกษาธกิ าร 3. เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมินเบ้ืองต้นและคดั กรอง ประกอบดว้ ย 3.1 แบบประเมนิ ตนเอง (ศรร.01) 3.2 ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) 3.3 เกณฑ์การประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซงึ่ ต้องไดค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพตง้ั แต่ 4 ขน้ึ ไป ในแต่ละดา้ น ครบทุกดา้ น 4. คณะกรรมการประเมินศนู ยก์ ารเรยี นรู้ฯ ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ แจ้งรายชื่อสถานศึกษาพอเพียงที่ผ่านการคัด กรองข้อมูลเบ้ืองต้น ไปยังฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการประเมินส่วนภูมิภาค เพื่อจัดทาคาส่ังคณะกรรมการ ประเมนิ ฯ ดาเนินการออกประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียง ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการกระทรวงศึกษาธกิ าร ****************************
แบบโรงเรยี นประเมนิ ตนเองเพือ่ ขอรบั การประเมนิ เป็น ศรร. (ศรร.01) แบบโรงเรยี นประเมนิ ตนเอง เพ่ือเป็นศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศึกษา ชอ่ื สถานศึกษา ………………………….....................................………….......................................................................................… สังกัด ………………………...........……………………………….…จังหวดั ................................................................................... ตวั ชว้ี ดั คะแนนประเมนิ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้ ๑. บุคลากร คะแนนรวม (คะแนนเฉล่ียรายด้าน) ๓๕ (๕) ๑.๑ ผู้บริหาร ๑๐ ๑.๒ ครู ๑๐ ๑.๓ นกั เรียน ๑๐ ๑.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ๕ ๒. การจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉลี่ยรายดา้ น) ๑๐ (๕) ๒.๑ อาคาร สถานที่และส่ิงแวดลอ้ ม ๕ ๒.๒ ฐานการเรียนรู้ ปศพพ. และ/หรือกจิ กรรมการเรยี นรู้ ปศพพ. ๕ ๓. ความสัมพันธก์ บั หนว่ ยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉลีย่ รายด้าน) ๑๐ (๕) ๓.๑ ความสมั พนั ธก์ บั สถานศกึ ษาอน่ื ในการขยายผลการขบั เคลื่อน ปศพพ. ๕ ๓.๒ ความสมั พนั ธก์ บั หนว่ ยงานท่สี งั กัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก ๕ (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) (ลงช่ือ)..............................................................................ผู้ประเมิน (.............................................................................) ตาแหน่ง ......................................................................................... วันที่ ................... เดือน .................................. พ.ศ. ....................
แบบกรอกข้อมูลประกอบการคดั กรอง ศรร. ของโรงเรียน (ศรร.02) ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา คาช้ีแจง ให้สถานศึกษาพอเพียงท่ีมีความประสงค์ขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา จัดทารายงานข้อมูลตามหัวข้อด้านล่าง ประกอบการคัดกรอง ความยาวไม่เกิน ๒๐ หนา้ กระดาษเอส่ี (ไมร่ วมภาคผนวก) โดยขอให้มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบทุกข้อ กรณีปีการศึกษาให้ปรับตาม ปที ี่ส่งการประเมินและปรับกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ชน้ั ตามบริบทของระดับการศกึ ษา เช่น อาชวี ศกึ ษา / กศน. ช่ือสถานศึกษา....................................................................................สงั กัด.................................................................................... สถานท่ตี ั้ง ถนน..................................................... ตาบล/แขวง.............................................อาเภอ/เขต...................................... จงั หวัด..........................................................รหัสไปรษณยี ์...........................โทรศัพท์.................................................................... โทรสาร...................................................Website.......................................................................................................................... ชือ่ -สกุลผอู้ านวยการสถานศกึ ษา...........................................................................................โทรศัพท.์ .......................................... ชอ่ื -สกุลรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา.....................................................................................โทรศพั ท์........................................... ชอ่ื -สกลุ ครูแกนนา..................................................................................................................โทรศัพท์........................................... ๑. เหตุผลท่ีสถานศึกษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน การศกึ ษา ๒. ขอ้ มลู ทวั่ ไป ประกอบด้วย ๒.๑ จานวนครู และบคุ ลากรทางการศึกษา (รวมครูอตั ราจ้าง) ปกี ารศกึ ษา.......................... กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนจาแนกตามระดบั การศึกษา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ต่ากว่าระดับปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท สงู กว่าปรญิ ญาโท รวม ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น บุคลากรทางการศึกษา รวมทง้ั ส้นิ หน้า ๑ จาก ๔
แบบกรอกขอ้ มูลประกอบการคัดกรอง ศรร. ของโรงเรยี น (ศรร.02) ๒.๒ จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้น ปกี ารศึกษา........................ จานวนนกั เรยี น (คน) ระดับชัน้ ท้ังหมด นักเรยี นที่มีคุณลักษณะอยูอ่ ยา่ ง นักเรยี นแกนนา พอเพียง (จานวนคน/รอ้ ยละ) ขับเคลอื่ น ระดับปฐมวัย ชน้ั เตรยี มอนบุ าล ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๑ ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๓ รวม ระดับประถมศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รวม ระดับมธั ยมศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ รวม รวมทั้งสนิ้ ๒.๓ บริบทของสถานศึกษา / ลกั ษณะชุมชน / ภูมสิ งั คม ๒.๔ เอกลักษณข์ องสถานศึกษา / อตั ลกั ษณข์ องนกั เรยี น ๒.๕ แหลง่ เรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มีอะไรบ้าง / ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไร) ๓. แนวทางในการดาเนินการในด้านต่างๆ ซ่ึงสมควรได้รับการประเมินผ่านเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ๓.๑ การบริหารจัดการ ๓.๒ บคุ ลากร ๓.๓ งบประมาณ ๓.๔ แหล่งเรียนรู้ หนา้ ๒ จาก ๔
แบบกรอกข้อมูลประกอบการคดั กรอง ศรร. ของโรงเรยี น (ศรร.02) ๓.๕ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน การศึกษา (จดั ทาเป็นเอกสารแนบในภาคผนวก) ๔. ข้อมลู ดา้ นบุคลากร ๔.๑ ผู้บริหาร ๔.๑.๑ ผู้บริหาร นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไรบ้าง เกิดผลอย่างไร ยกตัวอยา่ งประกอบ ๔.๑.๒ ผู้บริหารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษาทั้ง ๔ ด้านอย่างไร (งานบริหารท่ัวไป / การบริหารงานวิชาการ / การบริหารงานบุคคล / การบริหารงานงบประมาณ) และจากการดาเนินงานดังกล่าว สง่ ผลให้เกิดขึน้ ตอ่ สถานศึกษาและบคุ ลากรของสถานศึกษาอย่างไร บ้าง (Best Practice) ๔.๒ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔.๒.๑ จานวนครูที่มีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปสู่การพัฒนา งานในหน้าท่ี จานวน ........คน ๔.๒.๒ ตัวอย่างเรื่องเล่าครูที่ประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิต หรือการพัฒนาตนเอง ว่านาไปใช้อย่างไรบ้าง และเกิดผลอย่างไรต่อตนเองและผู้อื่น ยกตัวอย่าง ประกอบ ๔.๒.๓ ตวั อย่างเรอ่ื งเลา่ ครูท่ปี ระสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในกจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อใหน้ กั เรียนเกิดคณุ ลักษณะอยา่ งอยา่ งพอเพยี ง ว่าดาเนินการอย่างไร และ เกดิ ผลอยา่ งไร เชน่ การออกแบบการเรียนรู้เพื่อสรา้ งคุณลกั ษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรยี น ๔.๒.๔ ครแู กนนาไดข้ ยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ผ้ปู กครอง ชุมชนอย่างไรบ้าง ๔.๓ นักเรยี น ๔.๓.๑ จานวนนกั เรยี นแกนนา ......... คน ๔.๓.๒ ตวั อย่างเรอ่ื งเล่านกั เรียนในการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในชวี ติ ประจาวนั อยา่ งไร ๔.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา (อธบิ ายรายละเอียดการดาเนนิ งานและผลลัพธ์ที่เกดิ ขึ้น) ๔.๔.๑ ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๔.๒ บทบาทในการใหก้ ารสนับสนุน สง่ เสริมสถานศึกษาในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ / แหล่งเรียนรู้ / ส่ิงแวดลอ้ ม ๕.๑ ความพรอ้ มของอาคารสถานที่ทีเ่ อื้ออานวยต่อการจัดการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕.๒ มีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงอย่างเหมาะสม และเพียงพอกับจานวน นกั เรยี น ๕.๓ สิ่งแวดล้อมที่เอ้ืออานวยต่อการจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ดา้ นความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก ๖.๑ การวางแผนและการดาเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ สถานศึกษา หน้า ๓ จาก ๔
แบบกรอกขอ้ มลู ประกอบการคดั กรอง ศรร. ของโรงเรยี น (ศรร.02) ๖.๒ ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษา ๖.๓ สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชน และหน่วยงานอื่นในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ๖.๔ สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษา และจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จน สามารถเปน็ แบบอยา่ งแก่สถานศกึ ษาและหน่วยงานอ่นื ได้ ๖.๕ ผลความสาเร็จทเี่ กิดจากความร่วมมือกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษากับชุมชนหรอื หนว่ ยงานอ่นื ๗. ภาคผนวก ๗.๑ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน การศกึ ษา ๗.๒ เรอื่ งเลา่ ของครูเกยี่ วกับเรื่องการออกแบบการเรียนรูเ้ พ่อื เสริมสร้างอปุ นิสยั พอเพียง (มาจากข้อ ๔.๒.๖) ๗.๓ เรื่องเล่าของนักเรยี นแกนนา (มาจากขอ้ ๔.๓.๖) ๗.๔ ภาพถา่ ยทเี่ กี่ยวข้อง หน้า ๔ จาก ๔
แบบประเมิน ศรร. สำหรบั คณะกรรมกำร – รำยบุคคล (ศรร.03) แบบประเมนิ โรงเรยี นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา สาหรบั คณะกรรมการ – รายบุคคล ชอ่ื สถานศึกษา ………………………………………………………………….…………………………………………………….….…… สงั กัด ………………………………………………………………………จังหวดั …………………………………………………………… ด้าน/ตัวบ่งชี้ คะแนนประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนท่ีได้ ๑. บคุ ลากร คะแนนรวม (คะแนนเฉลย่ี รำยดำ้ น) ๓๕ (๕) ๑.๑ ผู้บรหิ ำร ๑๐ ๑.๒ ครู ๑๐ ๑๐ ๑.๓ นกั เรียน ๕ ๑.๔ คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ ๑๐ (๕) ๒. การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ คะแนนรวม (คะแนนเฉลยี่ รำยด้ำน) ๕ ๕ ๒.๑ อำคำร สถำนทีแ่ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๐ (๕) ๒.๒ ฐำนกำรเรยี นรู้ ปศพ. และ/หรือกิจกรรมกำรเรียนรู้ ปศพพ. ๕ ๓. ความสัมพันธก์ ับหน่วยงานภายนอก คะแนนรวม (คะแนนเฉล่ียรำยด้ำน) ๕ ๓.๑ ควำมสมั พันธ์กับสถำนศึกษำอน่ื ในกำรขยำยผลกำรขับเคลอ่ื น ปศพ. ๓.๒ ควำมสมั พนั ธ์กับหนว่ ยงำนท่ีสงั กดั และ/หรอื หนว่ ยงำนภำยนอก (ภำครัฐ ภำคเอกชน และชมุ ชน) (ลงชื่อ)...................................................................ผูป้ ระเมนิ (..................................................................................) ตำแหน่ง/สังกดั ..................................................................................... วันที่ .................เดือน....................................พ.ศ. .................... หน้ำ ๑ จำก ๖
แบบประเมนิ ศรร. สำหรบั คณะกรรมกำร – รำยบุคคล (ศรร.03) ขอ้ สงั เกตแต่ละตวั ชี้วดั ของผู้ประเมิน………………………………………สังกัด .................................................. ๑. ดา้ นบุคลากร ดำ้ น ผ้บู รหิ ำร ครู นกั เรยี น คณะกรรมกำร ๑) ควำมรู้ควำมเข้ำใจ ๒) กำรปฏิบัตติ น ๓) กำรนำไปใช้ในกำร บรหิ ำรจัดกำร ๔) กำรถำ่ ยทอด ประสบกำรณ์/ควำมกำร มุ่งม่นั ในกำรขบั เคลือ่ น ๕) กำรขยำยผลกำร ขับเคลอื่ น ๖) กำรยอมรับและกำร ให้ควำมรว่ มมือ ๗) อ่ืน ๆ ๘) วธิ ีกำรประเมิน หน้ำ ๒ จำก ๖
แบบประเมิน ศรร. สำหรับคณะกรรมกำร – รำยบุคคล (ศรร.03) ๒. ด้านการจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ๒.๑ อาคารสถานท่ี และสิ่งแวดลอ้ ม ๑) ผรู้ บั ผดิ ชอบ ๒) แผน/นโยบำย ๓) ศูนยข์ ้อมลู /แผนผงั แสดงแหลง่ กำรเรียนรู้/ฐำนกิจกรรมฯ ๕) กำรมสี ว่ นร่วมและนกั เรียน ๖) กำรใช้ประโยชน์ และกำรมสี ว่ นร่ววมของของชมุ ชน ๗) อนื่ ๆ ๘) วิธี/แนวทำงกำรประเมนิ หนำ้ ๓ จำก ๖
แบบประเมนิ ศรร. สำหรบั คณะกรรมกำร – รำยบุคคล (ศรร.03) ๒.๒ แหลง่ เรยี นรู้/ฐานการเรยี นรู้ และ/หรือ กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่อื เสริมสร้างอุปนสิ ยั อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๑) ควำมสอดคล้องกับภูมสิ งั คม ๒) ส่ือประกอบกำรเรยี นรู้ ๓) วทิ ยำกรรบั ผดิ ชอบฐำน ๔) แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ของฐำน/กิจกรรมกำรเรียนรู้ ๕) ควำมสำมำรถในกำรอธิบำยของวิทยำกร ๖) กำรประเมนิ และพัฒนำฐำน/กิจกรรม ๗) อ่นื ๆ ๘) วธิ /ี แนวทำงกำรประเมิน หน้ำ ๔ จำก ๖
แบบประเมิน ศรร. สำหรับคณะกรรมกำร – รำยบุคคล (ศรร.03) ๓. ดา้ นความสมั พนั ธ์กับหน่วยงานภายนอก ๓.๑ ความสมั พันธ์กับสถานศึกษาทวั่ ไปในการขยายผลการขบั เคลื่อน ปศพ. ๑) มเี ครือขำ่ ยกำรเรยี นรู้ ๒) กำรเปน็ สถำนศึกษำดงู ำน ๓) กำรบรหิ ำรจัดกำรเพอ่ื เป็นสถำนศึกษำดงู ำน ๔) กำรเป็นแกนนำของเครือข่ำยขับเคลอ่ื น ๕) ควำมสำมำรถในกำรพฒั นำสถำนศึกษำอน่ื ๆ ๗) อ่นื ๆ ๘) วธิ /ี แนวทำงกำรประเมนิ หนำ้ ๕ จำก ๖
Search