เอกสารหมายเลข 2 แบบประเมนิ สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญตี ่อการพยาบาลผูป้ ่วยที่มารับบรกิ ารระงับความร้สู กึ สาหรบั โรคหลอดเลอื ดสมอง กลุ่มงานการพยาบาลวสิ ัญญี กลมุ่ ภารกิจดา้ นการพยาบาล โรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิสญั ญีในการให้บริการระงับความรู้สึกโรคหลอดเลอื ดสมองตามมาตรฐานการพยาบาลวสิ ัญญี 9 มาตรฐาน เกณฑ์การประเมนิ : บุคลากรทางการพยาบาลปฏบิ ตั ติ ามสมรรถนะการระงับความร้สู กึ โรคหลอดเลือดสมองมากกว่าร้อยละ 90 วิธปี ระเมิน : ทาเครื่องหมาย ลงในช่องให้คะแนนที่ท่านคิดว่าตรงกบั ความเปน็ จรงิ มากท่สี ดุ เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ปฏบิ ตั ิ หมายถึง ปฏบิ ัตไิ ด้ครบถ้วน ไมป่ ฏิบตั ิ หมายถึง ปฏิบัตไิ ดไ้ ม่ครบถ้วน/ไมป่ ฏบิ ัติ ผู้ประเมนิ ............................................................................................วันที่............./............. ./............... ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญี ผลประเมนิ หมาย เหตุ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ มาตรฐานที่ 1 การพยาบาลระยะก่อนให้บรกิ ารทางวสิ ัญญี 1 การตรวจเยยี่ มเพื่อประเมนิ และวางแผนการระงับความรสู้ ึก พร้อมทัง้ แนะนาวิธีระงบั ความรสู้ กึ แก่ผู้ปุวยและญาติ (รว่ มกบั วสิ ัญญแี พทย์) 2 จาแนกประเภทผู้ปวุ ยตาม ASA Classification และมีกระบวนการตรวจสอบอย่างรดั กุม (รว่ มกับวิสัญญแี พทย์) 3 การตรวจร่างกายก่อนระงบั ความร้สู กึ ไดแ้ ก่ ตรวจการหายใจ, ตรวจระบบไหลเวียนโลหติ , ตรวจการทางานของหัวใจ และประเมนิ ระดบั ความรู้สกึ ตัว (ร่วมกบั วิสญั ญีแพทย์)
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสญั ญี ผลประเมนิ หมาย ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ เหตุ 4 ประเมิน Neuro-sign, ประเมิน GCS กอ่ นระงบั ความร้สู กึ (ร่วมกับวิสัญญแี พทย)์ 5 ตรวจสอบผลตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร รวมถงึ ผล X-ray และผล EKG (ร่วมกับวิสัญญแี พทย)์ 6 เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ เครอื่ งมอื ใหบ้ ริการทางวสิ ัญญใี หพ้ ร้อม และตรวจสอบความพรอ้ มของชดุ ให้ยาระงับ ความร้สู กึ ตามหลักของราชวิทยาลยั วิสญั ญีแพทย์แห่งประเทศไทย (ร่วมกบั วสิ ัญญแี พทย์) 7 เตรียมยาสาหรบั ผปู้ วุ ยเฉพาะในแตล่ ะรายและชนดิ ของการผ่าตดั ให้ถูกต้องเหมาะสม (รว่ มกบั วสิ ัญญแี พทย์) 8 เตรยี มอปุ กรณใ์ นการเฝูาระวังตามสภาวะปญั หาของผูป้ ุวยและชนิดของการใหย้ าระงบั ความร้สู กึ (ร่วมกบั วิสญั ญีแพทย์) 9 ตรวจสอบความถูกต้องของตัวบคุ คล เอกสารและการผ่าตัดของผู้ปุวยให้ถูกต้องก่อนให้บรกิ ารทางวสิ ัญญี มาตรฐานท่ี 2 การพยาบาลระยะให้บริการทางวิสญั ญี 10 อธิบายผูป้ ุวยให้เข้าใจเกย่ี วกับการตดิ เคร่ืองเฝูาระวังและสร้างความเชอื่ มน่ั ในการพยาบาล/การดแู ลตลอดระยะเวลา ของการใหบ้ ริการทางวสิ ญั ญี (รว่ มกบั วิสญั ญีแพทย์) 11 ดแู ลใหย้ าระงับความรูส้ ึกท่ัวไปในช่วงการนาสลบ โดย 1) ควบคมุ ระดบั ของ PaCO2 ให้เหมาะสม (30-35 mmHg) 2) ดูแลให้มี Oxygenation เพยี งพอ (>95%) 3) ควบคุมความดนั เลอื ดใหเ้ หมาะสม
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสญั ญี ผลประเมนิ หมาย ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบัติ เหตุ 4) ปูองกนั ไม่ให้มกี ารอุดก้ันทางเดินเลอื ดดาที่ไหลกลับจากสมองปอู งกนั ภาวะ awareness 12 ดูแลให้ยาระงบั ความรู้สกึ ในช่วง Maintenance โดย 12.1 หลังการนาสลบจะหลับต่อดว้ ยยาดมสลบโดยเปิดรว่ มกบั ออกซิเจน อากาศและยาดมสลบไอระเหย สามารถ ใชไ้ ด้ทกุ ตวั ไม่ว่าจะเป็น Sevoflurane, Desflurane และIsoflurane โดยเปิดน้อยกวา่ 1 MAC 12.2 เฝูาระวังในช่วงระงับความรู้สึก โดยควบคุมความดัน SBP>100mmHg (ในกลุ่มอายุ 50-69 ปี) และ SBP>110mmHg (ในกลุม่ อายุ 15-49ปี และกลุ่มอายุ >70 ปี), keep Entidal-CO2 ในลมหายใจออก 30-40 mmHg, ดูแลค่า PaO2 > 80mmHg หรือค่า O2sat > 95%, ดูแลอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในช่วงปกติ>36.5 - 37.5 องศา เซลเซยี ส, ดูแลระดบั นา้ ตาลในเลอื ดใหอ้ ยใู่ นระดับปกติ (180-200 mg %) และ: Keep Hematocrit 30-33 vol% 12.3 การดูแลช่วงฟื้นต่นื จากยาสลบ (Emergence) โดย มี 2 กรณี 12.3.1 กรณีท่ี 1 ผู้ปวุ ยสามารถถอดทอ่ หายใจได้ ไดร้ บั การประเมนิ ดงั น้ี 1) ไมม่ ีอาการซึม 2) ไม่มีอาการอ่อนแรง 3) การถอดท่อหายใจเม่ือผา่ ตดั เสรจ็ ทาไดเ้ ม่ือผูป้ วุ ยตนื่ ดี 4) หายใจได้ดี 5) ขยับแขนขาได้ 6) ทาตามคาสัง่ ได้ 7) ระบบประสาทก่อนมาผา่ ตัดดี
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสญั ญี ผลประเมนิ หมาย - กรณที ี่ 2 ผูป้ ุวยไมส่ ามารถถอดถ่อหายใจได้ ไดร้ ับการดแู ล ดังน้ี ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ เหตุ 1) มีการส่งต่อข้อมูลของผู้ปุวยไปยังหอผู้ปวุ ยก่อนนาส่ง 2) สง่ ผ้ปู ุวยกลบั ตึกโดยมีการ monitor ระหวา่ งนาส่ง 3) ตรวจเชค็ ความพร้อมของอุปกรณก์ ่อนนาส่ง ได้แก่ ออกซิเจนนาส่ง, ambu-bag, รถนาส่ง มาตรฐานที่ 3 การพยาบาลระยะหลงั ให้บรกิ ารทางวิสญั ญี 13 ผ้ปู วุ ยไดร้ บั การตดิ ตามเยีย่ มประเมนิ ผล ภายใน 24 ชวั่ โมงหลังผ่าตัด 14 ผู้ปุวยได้รบั การประเมินภาวะแทรกซ้อนหลงั การระงบั ความรสู้ กึ การประเมินทางระบบประสาท และการประเมิน ความปวด มาตรฐานท่ี 4 การดูแลต่อเนอื่ ง 15 ประเมินความพร้อมของผ้ปู วุ ยก่อนการเคล่อื นยา้ ยผู้ปุวยด้วยความ ระมดั ระวงั เพื่อปูองกันการบาดเจบ็ จากการ เคล่ือนยา้ ย 16 การตรวจระดบั ความรู้สกึ ตัว โดยดจู ากอาการตา่ งๆ เช่น สามารถไอ บ้วนเสมหะ ทราบถึงสถานท่ี เคลือ่ นไหวอิรยิ าบถ ได้เอง ปลุกต่นื ได้ง่าย ไม่มีฤทธิข์ องยาสลบ เปน็ ตน้ และมี PARS Score 9 คะแนน 17 การประสานงานกบั พยาบาลหอผ้ปู วุ ยให้ทราบถงึ อาการผปู้ วุ ย รวมถึงอุปกรณเ์ คร่ืองมือ เคร่ืองใช้ท่จี าเป็นท่ีต้องเตรียม สาหรับผปู้ วุ ยกลับหอผปู้ วุ ย เพอ่ื วางแผนการเริม่ ฟ้นื ฟสู ภาพ (Early Ambulation) และการดแู ลต่อเนอ่ื ง
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญี ผลประเมนิ หมาย มาตรฐานที่ 5 การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ัติ เหตุ 18 แนะนากระตนุ้ ให้ผู้ปุวยเหน็ ความสาคญั ของ Early Ambulation พรอ้ มทั้งแนะนาวธิ กี ารปฏิบัติ 19 แนะนาการกระตุ้นการออกกาลงั กายอย่างเหมาะสม เพ่ือการฟื้นฟสู ภาพ กลา้ มเน้ือและข้อ การฝึกการหายใจ การไอ 20 แนะนาการปฏิบัตติ นหลังได้รับยาระงับความรสู้ ึกแกผ่ ปู้ ุวยและครอบครวั เพื่อให้ทราบวิธปี ฏิบตั ติ นไดอ้ ย่างถกู ต้อง ปลอดภยั มาตรฐานท่ี 6 การคุ้มครองภาวะสขุ ภาพ 21 ประเมินและติดตามอาการผู้ปุวยตัง้ แต่ระยะแรกและต่อเนือ่ งเพ่อื วินิจฉยั ความต้องการการคมุ้ ครองภาวะสขุ ภาพจาก อันตรายต่าง ๆ ทั้งดา้ นร่างกายและจิตใจ 22 ปฏบิ ัติการพยาบาลโดยใช้หลักการของ Standard Precautions ตลอด ระยะการให้บรกิ ารทางวสิ ัญญี เพ่ือปอู งกัน ผูป้ ุวยติดเชอ้ื จากการใหบ้ รกิ ารทางวสิ ญั ญี และคุ้มครอง ตนเองจากการตดิ เชื้อจากผูป้ ุวย 23 ตรวจสอบอย่างรอบคอบเกย่ี วกบั การไมม่ ีสงิ่ ตกคา้ งจากการใหบ้ รกิ ารทางวิสัญญี มาตรฐานท่ี 7 การใหข้ ้อมลู และความรดู้ ้านสุขภาพ 24 ประเมนิ ปัญหา ความเข้าใจ การรบั รู้ และความคาดหวงั เกยี่ วกบั อาการและความเจบ็ ปุวยของผู้ปวุ ยและครอบครวั เก่ียวกับการบริการทางวสิ ัญญี เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลพน้ื ฐานในการให้ ข้อมูลและความรู้ดา้ นสุขภาพ
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญี ผลประเมนิ หมาย ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ เหตุ 25 จดั โปรแกรมการให้ขอ้ มลู และความร้ดู า้ นสุขภาพแก่ผู้ปุวยและครอบครัวเร่ืองโรคหลอดเลือดสมอง อาการของโรค อาการผิดปกติ การปฏบิ ตั ิตนก่อน ขณะ และหลงั การให้บรกิ ารทางวิสญั ญี การยนิ ยอมการรักษา พร้อมท้ังประเมนิ ผล การให้ความรู้ มาตรฐานที่ 8 การพทิ ักษ์สทิ ธ์ผิ ปู้ ่วย 26 ปฏิบตั ิการพยาบาลแกผ่ ปู้ ุวยทุกคน โดยไม่เลือกชนั้ วรรณะ เชื้อชาติ ศาสนา โดยยึดหลกั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ 27 ปฏิบัติการพยาบาลโดยใชแ้ นวทางปฏิบตั ิเก่ียวกบั การพิทักษส์ ิทธผิ ู้ปวุ ย โดยการให้ข้อมลู ท่ีจาเปน็ แก่ผปู้ วุ ยและ ครอบครัว เก่ียวกับแผนการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง 28 การรกั ษาความเปน็ ส่วนตัวและความลับของผูป้ ุวย เกี่ยวกบั ความลับของเวชระเบียนทั้งสิทธกิ ารใชแ้ ละเข้าถงึ ข้อมูลเวช ระเบยี น การเผยแพรข่ ้อมลู เพือ่ ใช้ในการศึกษา เรียนรู้/วจิ ัย มาตรฐานท่ี 9 การบันทกึ ทางการพยาบาล 29 บันทึกข้อมลู ทางการพยาบาลใหค้ รอบคลุม ถูกต้อง และต่อเน่ือง ตั้งแต่แรกรับ จนจาหน่ายออกจากหนว่ ยบริการตาม แนวทางการบนั ทกึ ที่ครอบคลุมกระบวนการพยาบาล 30 ตรวจสอบความสมบรู ณ์ ถูกต้อง เช่ือถือได้ของข้อมูลการบันทึกทางการพยาบาลของผู้ปุวยให้ถูกต้อง 31 การนาผลการบนั ทึกไปพฒั นาการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล
เอกสารหมายเลข 2 ลาดบั สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญี ผลประเมิน หมาย มาตรฐานการให้ยาการใหย้ า High Alert Drug และบริหารยาถูกต้องตามหลัก 10R ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ัติ เหตุ 32 1. Right patient (ผูป้ ุวยที่เหมาะสม) โดยการตรวจสอบช่ือยาและสายรัดข้อมือ 33 2. Right Medication / drug (ยาทถ่ี กู ต้อง) โดยตรวจสอบชอื่ ยาท่คี วรหลกี เลยี่ งช่อื แบรนด์ ตรวจสอบวันหมดอายุ ตรวจสอบคาสั่งแพทย์ โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะไดร้ บั การทบทวนอยา่ งสมา่ เสมอ 34 3. Right dose (ปริมาณยาที่ถกู ต้องและเหมาะสม) โดยตรวจสอบ order แพทย์ ยนื ยนั ความเหมาะสมของขนาดยา หากจาเปน็ ใหค้ านวณขนาดยาและให้พยาบาลอีกคนคานวณขนาดยาดว้ ย 35 4. Right route (เส้นทางทีถ่ ูกตอ้ ง) โดยการตรวจสอบวา่ ยาท่ีให้ oral / IV / IM / Suppository และยนื ยันวา่ ผู้ปวุ ย สามารถรบั หรอื รับยาตามเสน้ ทางท่ีส่ัง 36 5. Right time (เวลาทเ่ี หมาะสม) โดยตรวจสอบความถ่ีของการใชย้ าตามทแ่ี พทยส์ ่งั ตรวจสอบอกี คร้งั ว่าให้เวลาท่ี กาหนดในเวลาทีถ่ ูกต้อง และยืนยนั เมื่อได้รับยาครัง้ สดุ ท้าย 37 6. Right patient education (ผปู้ ุวยควรมีความรเู้ กีย่ วกบั ยาท่ีจะไดร้ บั ) โดยตรวจสอบว่าผู้ปวุ ยเข้าใจว่าเปน็ ยาอะไร และทาให้พวกเขาตระหนักวา่ พวกเขาควรติดตอ่ ผู้เช่ียวชาญดา้ นการดแู ลสุขภาพหากพวกเขาพบผลขา้ งเคยี งหรือ ปฏิกิรยิ า 38 7. Right documentation (การบันทกึ การใหย้ าท่ถี ูกตอ้ ง) โดยพยาบาลลงนามในยาหลังจากได้รบั ยา และทาการ กาหนดยาอย่างถูกตอ้ งพร้อมวนั เรม่ิ ตน้ และวันส้นิ สดุ 39 8. Right to refuse (สิทธิใ์ นการปฏิเสธ) โดยตรวจสอบให้แนใ่ จวา่ คุณไดร้ ับความยินยอมจากผปู้ ุวยในการจัดการยา
เอกสารหมายเลข 2 ลาดับ สมรรถนะของพยาบาลวิสัญญี ผลประเมนิ หมาย ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ เหตุ และผูป้ ุวยมีสิทธิทจ่ี ะปฏิเสธการใชย้ าหากพวกเขามีความสามารถในการทาเช่นน้ัน 40 9. Right assessment (การประเมนิ อาการคนไข้ก่อนให้ยา) โดยตรวจสอบผู้ปวุ ยของคุณต้องการยาจริง ตรวจสอบข้อ หา้ มในการใช้ยาของคนไข้แต่ละคน และการสังเกตเบ้ืองต้นหากจาเป็นต้องให้ยาหรือไม่ 41 10. Right evaluation (การประเมินผลหลักการให้ยา) โดยตรวจสอบให้แนใ่ จวา่ ยาทางานตามทคี่ วรจะเปน็ ตรวจสอบ ใหแ้ นใ่ จว่ามีการทานยาอยา่ งสม่าเสมอ และการสังเกตอย่างตอ่ เน่ืองถ้าจาเปน็
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: