Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน สื่อการสอน ใบงานที่ใช้ในวันนิเทศ

แผนการสอน สื่อการสอน ใบงานที่ใช้ในวันนิเทศ

Published by sudarat_tm, 2022-08-05 01:30:04

Description: แผนการสอน สื่อการสอน ใบงานที่ใช้ในวันนิเทศ

Search

Read the Text Version

รหสั วชิ า ง 22201 แผนการจดั การเรียนรู้ ช่อื วชิ า การงานอาชพี 5 (งานประดษิ ฐ์) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ 2 เร่ือง การเตรียมความพร้อมกอ่ นการประดิษฐ์ จำนวน 4 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ 3 เรือ่ ง หลกั การออกแบบงานประดิษฐ์ (1) จำนวน 1 ชวั่ โมง วนั ท่ี 31 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดช้นั ปี ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยใน การทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพ้ ลังงานทรพั ยากร และสิ่งแวดลอ้ มเพอื่ การดำรงชวี ิตและครอบครวั 2. สาระสำคญั การออกแบบเป็นงานที่เกิดจากความพยายามในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อนำประโยชน์ไปใช้ใน ชีวติ ประจำวันท้งั การใช้สอยและด้านความรู้สึกนกึ คิด ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมสวยงาม หรือดีกว่าที่มีอยู่เดิมในด้านวัตถุ การผลติ กระบวนการผลติ สมัยนยิ ม สภาพเศรษฐกิจ ออกแบบ หมายถงึ การทำตน้ แบบ หรือการทำโครงสร้างของชน้ิ งานก่อนการประดิษฐ์ชิ้นงาน ท่ีสามารถ ถ่ายถอดเป็นรูปแบบลักษณะของชิ้นงานให้ผู้อื่นสามารถรับรู้ในลักษณะสองมิติ หรือ สามมิติ เป็นต้น เช่น การ ออกแบบผลติ ภัณฑ์ การออกแบบจติ รกรรม ประตมิ ากรรม การออกแบบ โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) อธิบายหลักการออกแบบงานประดิษฐ์ได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะ(P) มีความรคู้ วามเขา้ ใจหลกั การออกแบบงานประดิษฐ์ 3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) เหน็ คณุ ค่าและประโยชน์ของงานประดษิ ฐ์ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ✓ 4.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ✓ 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร ✓ 4.2 ความสามารถในการคิด ✓ 4.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา

5. สมรรถนะสำคญั ผ้เู รียน ✓ 5.1 ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร 5.6 ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ 5.2 คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจำวัน ✓ 5.7 ทกั ษะการคิดขั้นสูงและนวตั กรรม 5.3 การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ 5.8 การร้เู ท่าทันสอ่ื สารสนเทศและดจิ ิทัล 5.4 ภาษาอังกฤษและความเจริญแหง่ ตน 5.9 การทำงานแบบรวมพลงั เป็นทีมและภาวะผ้นู ำ 5.10 การพลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็ /ตน่ื รทู้ ีม่ ีสำนึกสากล ✓ 5.5 ทักษะชวี ิตและความเจรญิ แห่งตน 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 6.5 อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 6.2 ซื่อสตั ย์ ✓ 6.6 มุง่ ม่ันในการทำงาน ✓ 6.3 มีวนิ ยั ✓ 6.4 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.7 รักความเป็นไทย 6.8 มีจติ สาธารณะ 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน - ใบงาน เรอ่ื ง ออกแบบงานประดษิ ฐ์ 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 8.1 กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน - ผสู้ อนและนักเรียน สนทนาเก่ียวกบั หลักการออกแบบงานประดิษฐ์ ข้ันการจดั การเรยี นรู้ - ผู้สอนอธบิ ายในเร่อื งของหลกั การหลักการออกแบบงานประดิษฐ์ แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ - ผู้สอนหมอบหมายงานโดยใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มและทำแบบฝึกหดั ให้นักเรียน ออกแบบงานประดษิ ฐ์และวาดภาพให้สวยงาม โดยมีหวั ขอ้ ดงั น้ี • ชือ่ ของงานประดษิ ฐ์ • เพราะอะไรจึงเลือกประดิษฐ์ของช้นิ นี้ • วสั ดุ อปุ กรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐม์ ีอะไรบ้าง ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ - ผู้สอนและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความรูท้ ี่ไดศ้ ึกษาไปในเร่ืองหลักการออกแบบงาน ประดิษฐ์

9. สือ่ และแหล่งเรียนรู้ - หนงั สอื 10. การวัดและประเมนิ ผล การประเมิน วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) อธบิ ายหลกั การออกแบบงาน ถามตอบความสำคญั ของการ คำถามจากครผู ู้สอน ตอบคำถามได้ถกู ต้อง ประดิษฐ์ได้ เรียนรู้ออกแบบงานประดิษฐ์ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 60 ดา้ นทกั ษะ(P) มีความร้คู วามเข้าใจหลักการ สงั เกตในการแสวงหาความรู้ สังเกต สงั เกตการแสวงหาความรู้ ออกแบบงานประดษิ ฐ์ ออกแบบงานประดิษฐ์ งานประดิษฐ์เกณฑป์ านกลาง ดา้ นคุณลักษณะ(A) เหน็ คณุ ค่าและประโยชนข์ อง การพดู คยุ ถามตอบประโยชน์ การพดู คุย ถามตอบ งานประดิษฐ์ และคุณคา่ ของการเรยี นรู้งาน ผ่านเกณฑป์ านกลาง ออกแบบประดิษฐ์ ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ าร ลงชอื่ ....................................................ครผู ูส้ อน ........................................................................................ (นางสาวสุดารตั น์ สิงยะเมือง) ........................................................................................ นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ........................................................................................ ลงชื่อ......................................................ครูพี่เลี้ยง (นางสาวชนัฐกันต์ ใจเทพ) ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ ลงชื่อ.................................................................. (นายอาทิตย พฒั นปฐม) รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นมัธยมวดั สทุ ธาราม ลงช่อื ............................................................ (นางอรสา พมุ่ สวัสด)์ิ ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวดั สุทธาราม

ผลการสอน บนั ทึกหลงั สอน ปัญหา วธิ แี ก้ไข ลงชือ่ ...................................................ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร (นางสาวสดุ ารัตน์ สิงยะเมอื ง) นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ลงชือ่ ....................................................ครูพี่เลี้ยง (นางสาวชนฐั กนั ต์ ใจเทพ) ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ลงชอื่ ............................................................. (นายอาทิตย พัฒนปฐม) รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวดั สทุ ธาราม ลงชือ่ ............................................................ (นางอรสา พุ่มสวสั ด์)ิ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวดั สุทธาราม

รหสั วิชา ง 22201 แผนการจดั การเรยี นรู้ ชอ่ื วชิ า การงานอาชีพ 5 (งานประดิษฐ์) กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ 2 เร่ือง การเตรียมความพร้อมกอ่ นการประดิษฐ์ จำนวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ 4 เร่ือง หลักการออกแบบงานประดิษฐ์ (2) จำนวน 1 ชั่วโมง วนั ที่ 7 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565 ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัดช้นั ปี ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยใน การทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพ้ ลงั งานทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การดำรงชีวติ และครอบครวั 2. สาระสำคญั การออกแบบเป็นงานที่เกิดจากความพยายามในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อนำประโยชน์ไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ท้งั การใช้สอยและด้านความรู้สึกนกึ คิด ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมสวยงาม หรอื ดีกว่าท่ีมีอยู่เดิมในด้านวัตถุ การผลติ กระบวนการผลิต สมัยนยิ ม สภาพเศรษฐกจิ ออกแบบ หมายถึง การทำต้นแบบ หรอื การทำโครงสร้างของช้นิ งานก่อนการประดิษฐ์ช้นิ งาน ที่สามารถ ถ่ายถอดเป็นรูปแบบลักษณะของชิ้นงานให้ผู้อื่นสามารถรับรู้ในลักษณะสองมิติ หรือ สามมิติ เป็นต้น เช่น การ ออกแบบผลติ ภัณฑ์ การออกแบบจติ รกรรม ประติมากรรม การออกแบบ โต๊ะ เก้าอ้ี เปน็ ตน้ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) อธิบายองค์ประกอบของการออกแบบงานประดษิ ฐไ์ ด้ 3.2 ด้านทักษะ(P) มีความร้คู วามเข้าใจองคป์ ระกอบของการออกแบบงานประดิษฐ์ 3.3 ด้านคณุ ลักษณะ (A) เห็นคุณค่าและประโยชน์ของงานประดิษฐ์ 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ✓ 4.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ✓ 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร ✓ 4.2 ความสามารถในการคิด ✓ 4.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา

5. สมรรถนะสำคัญผเู้ รียน ✓ 5.1 ภาษาไทยเพือ่ การส่อื สาร 5.6 ทกั ษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ 5.2 คณติ ศาสตร์ในชีวติ ประจำวนั ✓ 5.7 ทกั ษะการคดิ ขั้นสงู และนวัตกรรม 5.3 การสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์ และจติ วิทยาศาสตร์ 5.8 การรูเ้ ท่าทนั สือ่ สารสนเทศและดจิ ิทัล 5.4 ภาษาองั กฤษและความเจรญิ แห่งตน 5.9 การทำงานแบบรวมพลังเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 5.10 การพลเมืองทเี่ ขม้ แขง็ /ตื่นรู้ที่มีสำนกึ สากล ✓ 5.5 ทกั ษะชวี ติ และความเจริญแห่งตน 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.2 ซื่อสัตย์ ✓ 6.6 มุง่ มั่นในการทำงาน ✓ 6.3 มวี ินัย ✓ 6.4 ใฝ่เรยี นรู้ 6.7 รกั ความเปน็ ไทย 6.8 มีจติ สาธารณะ 7. ชน้ิ งาน / ภาระงาน - 8. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 8.1 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน - ผู้สอนและนกั เรียน สนทนาเก่ียวกับหลักการออกแบบงานประดษิ ฐ์ โดยใหน้ ักเรยี นดู ภาพลายเส้นตา่ ง ๆ วา่ แต่ละลายเสน้ ให้ความรู้สึกอย่างไร เช่น • เส้นแนวตั้งหรือเส้นแนวดิง่ ให้ความรูส้ ึก แขง็ แรง มนั่ คง สงา่ งาม • เสน้ แนวนอนหรือเสน้ ขนาน ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ น่ิง กว้าง • เสน้ เฉยี งหรือเส้นทแยง ให้ความรู้สกึ มนั่ คง ไมแ่ นน่ อน เคลื่อนไหวรวดเร็ว • เสน้ โค้ง ให้ความรู้สึก ออ่ นโยน นม่ิ นวล อ่อนไหว • เส้นคด ให้ความร้สู ึก ไม่หยุดนง่ิ ไม่ขดั แยง้ • เสน้ หยักหรือเสน้ ฟันปลา ใหค้ วามรูส้ กึ รุนแรง สับสน ต่ืนเต้น ขน้ั การจัดการเรยี นรู้ - ผู้สอนอธบิ ายองค์ประกอบของการออกแบบงานประดษิ ฐแ์ ละคณุ สมบัติของ ผู้ออกแบบงานประดษิ ฐ์ ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป - ผู้สอนและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้ที่ไดศ้ กึ ษาไปในเร่อื งหลกั การออกแบบงาน ประดษิ ฐ์

9. สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ - หนงั สอื - ภาพลายเส้นตา่ ง ๆ 10. การวดั และประเมินผล การประเมนิ วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) ตอบคำถามได้ถกู ต้อง ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 อธิบายองคป์ ระกอบของการ ถามตอบความสำคญั ของการ คำถามจาก สงั เกตการแสวงหาความรู้ ออกแบบงานประดษิ ฐ์ได้ เรียนรู้ออกแบบงานประดิษฐ์ ครูผสู้ อน งานประดิษฐ์เกณฑป์ านกลาง ด้านทกั ษะ(P) ถามตอบ ผา่ นเกณฑ์ปานกลาง มีความรู้ความเข้าใจ สังเกตในการแสวงหาความรู้ สังเกต องค์ประกอบของการออกแบบ ออกแบบงานประดิษฐ์ งานประดษิ ฐ์ ด้านคุณลักษณะ(A) เหน็ คุณค่าและประโยชนข์ อง การพดู คยุ ถามตอบประโยชนแ์ ละ การพูดคุย งานประดษิ ฐ์ คณุ ค่าของการเรียนร้งู าน ออกแบบประดิษฐ์ ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ลงช่ือ.......................................................ครูผสู้ อน ........................................................................................ (นางสาวสุดารัตน์ สงิ ยะเมอื ง) ........................................................................................ นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ........................................................................................ ลงชือ่ ......................................................ครูพี่เลี้ยง (นางสาวชนฐั กนั ต์ ใจเทพ) ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ลงช่ือ.................................................................. (นายอาทิตย พัฒนปฐม) รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวดั สุทธาราม ลงช่ือ............................................................ (นางอรสา พุ่มสวสั ด)์ิ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมวัดสุทธาราม

ผลการสอน บนั ทึกหลงั สอน ปัญหา วธิ แี ก้ไข ลงชือ่ ...................................................ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร (นางสาวสุดารัตน์ สิงยะเมือง) นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ลงชือ่ ....................................................ครูพี่เลี้ยง (นางสาวชนฐั กันต์ ใจเทพ) ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ ลงชอื่ ............................................................. (นายอาทิตย พฒั นปฐม) รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวดั สทุ ธาราม ลงชือ่ ............................................................ (นางอรสา พุ่มสวสั ด์)ิ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมวดั สุทธาราม

กจิ กรรมท่ี 3 คำชี้แจง นักเรียนแบง่ กล่มุ 5 คน ร่วมกนั ออกแบบงานประดษิ ฐ์ พรอ้ มวาดภาพ แลว้ บนั ทึกผลลงใสแบบบนั ทกึ แบบบนั ทกึ ❖ ชื่องานประดิษฐ์............................................................................................................................ ❖ เพราะอะไรจงึ เลือกประดษิ ฐข์ องช้นิ น้ี................................................................................................................. ❖ นักเรยี นมีวิธีการทำงานอย่างไรบ้าง.................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ❖ วสั ดุ อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการประดิษฐ์มอี ะไรบา้ ง วสั ดุธรรมชาติ...................................................................................................................................................... วสั ดสุ ังเคราะห์.................................................................................................................................................... วัสดเุ หลือใช้.........................................................................................................................................................

เส้น คือ จุดหลายจุดเรียงต่อกนั และ ระนาบ ตามทิศทางที่ตอ้ งการ เสน้ อาจเกิ พู่กนั หรือแปรง เม่ือนาเส้นมาประกอบ สามารถบ่งบอกถึงการเคล่ือนไหว และ หลายชนิด ซ่ึงแต่ละชนิดใหค้ วามรู้สึกทา

ะเคล่ือนไหวไปในบริเวณท่ีวา่ ง บนแผน่ กดจากการลาก ขดู ขีด ดว้ ยดินสอ ปากกา บกนั จะ เกิดเป็ นรูปร่าง รูปทรง อีกคร้ัง ะทิศทางได้ เส้นที่ใช้ในการออกแบบมี างอารมณ์ดงั ต่อไปน้ี

1. เส้นตรง แแขข็งแง็ รแงรง สงบ

ราบเรียบ น่ิง กว้าง

2. เส้นแนวต้งั หรือแนว

วดิ่ง แขง็ แรง ม่นั คง สง่างาม

3.เส้ นเฉียงหรื อทแยง มั่นคง ไม่แน่นอน เคล่ือนไห

หวรวดเร็ว

4. เส้นโค้ง อ่อนไหว อ่อนโยน

นุ่มนวล

5. เส้นหยกั หรือฟันปล

ลา สับสน รุนแรง ต่ืนเต้น

6. เส้นคด ไม่หยุดน่ิง ไม่ขดั แย้ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook