บทที่ ๓ เรื่องที่ ๓ โคลงโลกนิติ ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑
ภาษาไทยกบั ครูพต่ี ตี่ ๋ี - อ. พรี ะเสก บริสุทธิบ์ ัวทพิ ย์ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร
ประวตั ิผแู้ ตง่ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร - ประสูตเิ มือ่ วันท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๓๖ - พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย - ทรงว่าราชการ ตาแหน่งกรมอาลักษณ์ ต้งั แตส่ มัยรัชกาลท่ี ๒–๔ - สิ้นพระชนมใ์ น พ.ศ. ๒๔๐๒ - เปน็ ตน้ ราชสกุล เดชาตวิ งศ์
ประวัติผู้แตง่ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร - ผลงานพระราชนิพนธ์ ๑. โคลงโลกนิติ ๒. โคลงภาพตา่ งภาษา ๓. โคลงนิราศเสดจ็ ไปทัพเวียงจันทน์ ๔. ฉันทด์ ุษฎีสังเวยสรรเสริญพระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากร ๕. ประกาศพระราชพิธีต่างๆ
โคลงโลกนิติ (โคลง - โลก - กะ - นิด) ครรโลงโลกนิติ นมนาน มีแตโ่ บราณกาล เกา่ พรอ้ ง เป็นสภุ สิตสาร สอนจติ กลด่งั สร้อยสอดคล้อง เวย่ี ไว้ในกรรณ *ครรโลง มาจากคาวา่ โคลง
โคลงโลกนิติ เป็นโคลงทีม่ ีเนอ้ื หาสอนและเตือนใจ มีที่มาจากคัมภีร์ต่างๆของ อินเดียโบราณแตง่ ดว้ ยโคลงสีส่ ุภาพ เมื่อพระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงปฏิสงั ขรณ์ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม ราชวรมหาวิหาร ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๓๗๔ มีพระราชประสงคใ์ หจ้ ารึกสุภาษิตคาสอนลงบนแผ่นศิลา ประดับไวใ้ นวดั เพือ่ ใหค้ นจดจาขอ้ ที่ดีงามและนาไปปฏบิ ตั ิได้
แผนผงั โคลงสีส่ ภุ าพ สีแดง - ตาแหน่งคาเอก สีฟา้ - ตาแหนง่ คาโท
โคลงโลกนิติ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร ทรงชาระโคลง พระราชนิพนธ์สานวนเก่า แล้วจารึกไว้ที่ วดั พระเชตพุ นฯ พร้อมทง้ั บันทึกไวใ้ นสมดุ ไทย
โคลงโลกนิติที่สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดิศร ทรงชาระมี ทง้ั หมด ๕๙๓ บท เป็นคาสอนที่ให้ขอ้ คิดเตือนใจ และให้ข้อเสนอแนะ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของคนในสงั คม มุ่งสอนให้เป็นคนดีและ ปฏิบัติไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งในสังคม นาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันและ การอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมีความสุข
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี - อ. พีระเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์ แผน่ ศิลาจารึกโคลงโลกนิติ ประดบั บริเวณดา้ นนอกศาลาทิศพระมณฑป วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวหิ าร
ตวั อยา่ งสมดุ ไทยดาและสมุดไทยขาว
ตวั อย่างโคลงโลกนิติ มิตรพาลอยา่ คบให้ สนิทนัก กล่าวใกล้ พาลใช่มิตรอย่ามกั เอาโทษ ใสน่ า ครนั้ คราวเครียดคุมชกั รู้เหตุสิ่งใดไซร้ สอ่ สิน้ กลางสนาม
รู้น้อยว่ามากรู้ เริงใจ กลกบเกิดอยใู่ น สระจ้อย ไป่เห็นชเลไกล กลางสมทุ ร ชมวา่ น้าบ่อน้อย มากล้าลึกเหลอื พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา สายดิง่ ทิง้ ทอดมา หยั่งได้ เขาสูงอาจวัดวา กาหนด จิตมนุษย์นีไ้ ซร้ ยากแทห้ ยงั่ ถึง
ปลารา้ พนั ห่อดว้ ย ใบคา ใบก็เหมน็ คาวปลา คละคลุ้ง คือคนหมู่ไปหา คบเพือ่ น พาลนา ได้แตร่ า้ ยร้ายฟ้งุ เฟื่องให้เสียพงศ์ การคบคนช่ัวหรือคนพาลย่อมนามาซึง่ ความมัวหมอง
ใบพ้อพนั หอ่ หมุ้ กฤษณา หอมระรวยรสพา เพริศด้วย คือคนเสพเสนห่ า นักปราชญ์ ความสุขซาบฤามว้ ย ดุจไม้กลิน่ หอม การคบคนดีย่อมนาซึง่ ความสขุ และชือ่ เสียง
ผลเดือ่ เมือ่ สกุ ไซร้ มีพรรณ ภายนอกแดงดูฉนั ชาดบ้าย ภายในย่อมแมลงวนั หนอนบอ่ น ดุจดังคนใจร้าย นอกนน้ั ดูงาม การคบการคบคนอย่ามองเพียงความงดงามภายนอก
ขนุนสุกสล้างแหง่ สาขา ภายนอกเหน็ หนามหนา หน่นั แท้ ภายในย่อมรสา เอมโอช สาธุชนนั้นแล้ เลิศด้วยดวงใจ การคบใหม้ องที่ความงามภายในเหมือนกบั ขนนุ
นาคีมีพิษเพี้ยง สรุ ิโย เลื้อยบท่ าเดโช แชม่ ช้า พิษน้อยหยิง่ โยโส แมลงปอ่ ง ชูแต่หางเองอา้ อวดอ้างฤทธี ผมู้ ีความรู้ ความสามารถย่อมไมอ่ วดตนหรือคุยโม
ความร้ผู ูป้ ราชญน์ ัน้ นักเรียน ฝนท่งั เท่าเข็มเพียร ผา่ ยหน้า คนเกียจเกลียดหนา่ ยเวยี น วนจิต กลอุทกในตระกร้า เปี่ยมล้นฤามี คนทีม่ คี วามหยันหมั่นเพียรแม้ทากจิ การใดที่ยากก็ย่อมสาเรจ็ แต่คน เกียจคร้านทาสิ่งใดไมส่ าเรจ็ เหมือนกับการตกั น้าในตะกร้า
งาสารฤาห่อนเหี้ยน หดคืน คากล่าวสาธุชนยืน อย่างน้ัน ทรุ ชนกลา่ วคาฝืน คาเล่า หัวเตา่ ยาวแล้วส้นั เลห่ ์ลิ้นทรชน คาพดู ของคนที่ยึดม่ันในคาพูดเปรียบเสมอื นงาช้างทีง่ อกแล้วไม่หด คืนแตค่ าพูดของคนช่ัว ย่อมกลบั ไปกลับมาเหมือนหัวเต่าที่ผลุบ ๆโผล่ ๆ
ห้ามเพลิงไวอ้ ย่าให้ มีควนั ห้ามสรุ ิยแสงจันทร์ สอ่ งไซร้ ห้ามอายใุ หห้ ัน คืนเลา่ ห้ามดังนี้ไวไ้ ด้ จึง่ ห้ามนินทา การหา้ มธรรมชาติท้งั ๔ ประการไมใ่ หด้ าเนินไปวา่ เป็นสิ่งทย่ี ากแลว้ การหา้ มไม่ให้คนนินทายังยากกว่า
เวน้ วิจารณว์ า่ งเวน้ สดับฟงั เว้นทีถ่ ามอันยัง ไปร่ ู้ เวน้ เล่าลิขิตสงั - เกตว่าง เวน้ นา เวน้ ด่ังกล่าวว่าผู้ ปราชญไ์ ดฤ้ ามี คนที่จะเป็นปราชญ์นนั้ ตอ้ งยึดถือหวั ใจนกั ปราชญ์ คือ สุ. จิ. ปุ.ลิ. ฟงั คิด ถาม เขียน
ตัวอย่างคาสอนจากโคลงโลกนิติ สอนให้ทาความดี สนิมเหลก็ เกิดแต่เนื้อ ในตน กินกดั เนือ้ เหล็กจน กร่อนขร้า บาปเกดิ แตต่ นคน เป็นบาป บาปยอ่ มทาโทษซ้า ใส่ผู้บาปเอง สอนใหร้ ู้จกั ความดี ความชัว่ การทีเ่ ราได้รบั ผลอย่างไรย่อมมีเหตมุ าจาก การกระทา ของตนเอง คนทีท่ าดีย่อมไดผ้ ลดี
สอนใหท้ าความดี เขาหนงั โคควายวายชีพได้ อย่ไู ซร้ ขารรา่ ง เปน็ สง่ิ เป็นอนั ยงั แต่ร้ายกลบั ดี คนเด็ดดับสญู สัง - เป็นช่อื เปน็ เสียงได้ ววั ควายเมื่อตายยังมีเขาและหนงั ที่ยงั เป็นประโยชน์ สว่ นคนเราเมือ่ ตายแล้ว คงเหลือแตเ่ กียรติยศชือ่ เสียง ความดี ความชั่ว ให้คนจดจาได้ เท่านน้ั
สอนใหร้ จู้ ักประมาณตนเอง พอตวั นกน้อยขนนอ้ ยแต่ อยไู่ ด้ ไพเพิด รงั แตง่ จุเมียผวั อย่าใหค้ นหยนั มักใหญ่ย่อมคนหววั ทาแตต่ ัวพอไซร้ สอนให้รู้จักประเมินความสามารถและประมาณกาลังของตนเอง เหมือนนกท่ตี วั เล็กทารังพอตวั สอดคลอ้ งกับแนวพระราชดาริเศรษฐกพิ อเพียง
สอนให้รู้จักพจิ ารณาคนและรูจ้ ักคบคน ก้านบวั บอกลึกตืน้ ชลธาร มารยาทสอ่ สันดาน ชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคาขาน ควรทราบ หย่อมหญา้ เหีย่ วแห้งเรื้อ บอกรา้ ยแสลงดิน ก้านบวั สามารถบอกความลึกตื้นของนา้ ได้ กิริยามารยาทย่อม สามารถบ่งบอกการเลีย้ งดทู ีไ่ ด้รับได้ เช่นเดียวกบั คาพดู ที่สามารถรูว้ ่าผู้พูด ฉลาดหรือโง่ หรือหญ้าทีเ่ หี่ยวแห้งยอ่ มสามารถบอกไดว้ า่ ดินบริเวณนั้นไมด่ ี
สอนใหร้ จู้ ักพจิ ารณาคนและรูจ้ ักคบคน คณนา พระสมุทรสดุ ลึกลน้ หย่งั ได้ กาหนด สายดิ่งท้งิ ทอดมา ยากแทห้ ยัง่ ถึง เขาสูงอาจวดั วา จิตมนุษยน์ ี้ไซร้ เปรยี บเทยี บจิตใจของคนกบั ความลึกของมหาสมุทร ที่แม้จะลกึ เพียงใดกย็ งั วัดไดห้ รือแม้ภเู ขาที่สูงเพียงใดก็ยงั วดั ได้ แต่จิตใจของคนวัดได้ยาก
สอนให้รู้จักพจิ ารณาคนและรู้จักคบคน มิตรพาลอยา่ คบให้ สนิทนกั พาลใช่มิตรอย่ามัก กล่าวใกล้ ครน้ั คราวเคียดคุมชัก เอาโทษ ใส่นา รู้เหตุสิ่งใดไซร้ ส่อสิน้ กลางสนาม สอนใหห้ ่างไกลจากความช่วั เพราะหากคบคนช่วั เป็นมิตร เมือ่ ถึงเวลาผิดใจกัน เขากส็ ามารถใส่รา้ ยเราได้
สอนไมใ่ หท้ าตามผู้อื่น ใจตาม เหน็ ทา่ นมีอย่าเคลิ้ม อย่าคร้าน การกิจ เรายากหากใจงาม อยา่ ท้อทากิน อตุ ส่าห์พยายาม เอาเยี่ยงอยา่ งเพือ่ นบา้ น เมื่อเหน็ ผอู้ ืน่ มั่งมีก็ไม่ควรโลภ ไมค่ วรอยากมีอยากไดอ้ ย่างเขา ถึงจะยากจนกใ็ หห้ มั่นทามาหากนิ อยา่ เกียจครา้ นและท้อแท้
สอนให้มีความกตัญญู พสุธา คณุ แมห่ นาหนกั เพี้ยง กาศกว้าง เมรุมาศ คณุ บิดรดุจอา - อาจสู้สาคร คุณพีพ่ า่ งศิขรา คุณพระอาจารยอ์ ้าง สอนให้รจู้ กั พระคุณของบิดา มารดาและครู โดยใชก้ าร เปรยี บเทยี บกับสิง่ แวดล้อม เชน่ พระคุณของแมน่ ัน้ ยิ่งใหญ่เปรียบได้กับ แผ่นดิน
สอนให้เปน็ คนมวี าจาออ่ นหวาน อ่อนหวานมานมติ รล้น เหลือหลาย หยาบบม่ ีเกลอกราย เกลื่อนใกล้ ดจุ ดวงศศิฉาย ดาวดาษ ประดบั นา สุรยิ ะส่องดาราไร้ เพือ่ ร้อนแรงแสง คนท่พี ดู จาอ่อนหวานย่อมมีเพื่อนมาก เปรียบได้กับดวงจันทรท์ ี่มีดาวมา รายล้อม ถ้าพูดจาหยาบกระด้างกเ็ หมือนดวงอาทิตย์ทีแ่ สงรอ้ นแรง ไม่มีใครอยากอยูใ่ กล้
วรรณศิลป์ทีป่ รากฏในโคลงโลกนติ ิ ๑. นาธรรมชาติและสิ่งใกลต้ ัวมาใชเ้ ป็นความเปรียบ เช่น นากา้ นบวั ทีส่ ามารถบอกความลึกของนา้ และหญ้าทีบ่ อกสภาพ ของดินมาเปรียบกับกริยามารยาทของคน ที่สามารถพิจารณาไดว้ ่า มีการอบรม เล้ยี งดูอยา่ งดีจากครอบครวั
ทาให้เห็นความแตกตา่ งกันอยา่ งชดั เจน รกั กันอยขู่ อบฟา้ เขาเขียว เสมออยหู่ อแหง่ เดียว ร่วมห้อง ชังกนั บแ่ ลเหลียว ตาตอ่ กันนา เหมอื นขอบฟ้ามาป้อง ป่าไมม้ าบัง รกั - ไกลก็เหมือนใกล้ ชัง - ใกล้กเ็ หมือนไกล
๓. ใชค้ าที่เขา้ ใจงา่ ย ถอ้ ยคาทีใ่ ช้ไมค่ ่อยมีคาศพั ท์ยาก ทาใหเ้ ข้าใจเนื้อหาได้อยา่ งรวดเร็ว รนู้ อ้ ยว่ารู้มาก เรงิ ใจ กลกบเกิดอยใู่ น สระจอ้ ย ไปเ่ หน็ ชเลไกล กลางสมุทร ชมว่าน้าบ่อน้อย มากลา้ ลึกเหลือ ตาหนิคนที่มีความรู้น้อยแต่หลงระเริงวา่ ตนมีความรูม้ าก เหมือนกบที่ อยู่ในสระเลก็ ๆ ไม่เคยเหน็ ทะเล จึงหลงคดิ ว่าสระทีต่ นเองอยู่น้นั กวา้ งใหญ่
๔. เล่นคาซา้ ตน้ บท ทาให้เกิดความไพเราะและเน้นย้าความหมาย นา้ ใช้ใส่ตุ่มตัง้ เต็มดี นา้ อบอา่ อินทรีย์ อย่าผร้อง นา้ ปูนใส่เต้ามี อย่าขาด น้าจิตอยา่ ใหข้ อ้ ง ขัดนา้ ใจใคร โคลงบทนี้เนน้ คาวา่ “นา้ ” ใหเ้ ห็นความสาคัญของคาวา่ น้า คือ นา้ ใช้ นา้ อบ นา้ ในเตา้ ปนู และน้าใจ
๔. เล่นซ้าคาตน้ บท : โคลงกระทู้ แหนงหนี เพือ่ นกินสิ้นทรัพยแ์ ล้ว มากได้ วาอาตม์ หางา่ ยหลายหมืน่ มี ยากแท้จกั หา เพือ่ นตายถา่ ยแทนชี - หายากฝากผไี ข้ สามารถนาคามาเรียงตอ่ กนั ได้เป็น “เพือ่ นกินหาง่าย เพือ่ นตายหายาก”
โคลงโลกนติ ิ เป็นวรรณคดีคาสอนทมี่ คี ุณค่า สามารถนาขอ้ คดิ ตา่ งๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวนั เพื่อเป็นแบบอยา่ งในสังคมได้ ถึงแมเ้ ป็นเร่อื งที่แต่งไวน้ าน แต่เนอื้ หาและคาสอน ยังสามารถสอนได้ดีในปจั จบุ นั
แบบฝึกทบทวน
๑. โคลงโลกนิติ แตง่ ดว้ ยคาประพันธช์ นิดใด ก. กลอนสุภาพ ข. โคลงสี่สภุ าพ ค. กาพยย์ านี ๑๑ ง. กาพย์ฉบงั ๑๖
๒. เนื้อหาในโคลงโลกนิติ ถกู จารึกไวท้ ีว่ ดั ใดและรชั กาลที่ เทา่ ใด ก. วดั ราชบรู ณะ รชั กาลที่ ๓ ข. วัดพระเชตุพนฯ รัชกาลที่ ๓ ค. วดั พระเชตพุ นฯ รชั กาลที่ ๔ ง. วัดอรณุ ราชวราราม รชั กาลที่ ๔
๓. ขอ้ ใดไมไ่ ด้เป็นการเปรยี บเทยี บ ก. ความรดู้ ยู ิง่ ล้า สินทรัพย์ ข. โทษท่านผ้อู ื่นน้ัน เมลด็ งา ค. โทษตนเท่าภผู า หนักยง่ิ ง. ปกปิดคิดซ่อนเร้น เร่อื งรา้ ยหายสญู
๔. ตวั เลอื กใดไมไ่ ด้สอนใหม้ คี วามอดทน ก. ผจญคนมกั โกรธดว้ ย ไมตรี ข. เบิกทรพั ย์วนั ละบาทซื้อ มงั สา ค. ถึงจนสู้ทนกัด กินเกลือ ง. รักกนั อยูข่ อบฟ้า เขาเขียว
๕. ขอ้ ใดสอนใหร้ ักเกียรติของตนเอง ก. อยา่ เอื้อมเด็ดดอกฟ้า มาถนอม ข. อดอยากเยีย่ งอย่างเสือ สงวนศกั ดิ์ ค. ทองบ่รองรบั พื้น ห่อนแกว้ มีสี ง. ดจุ ดวงศศิฉาย ดาวดาษ ประดับนา
๖. คาสอนในโคลงบทนี้อาจเปรียบไดก้ ับสานวนใดใกลเ้ คียงที่สดุ ใหท้ ่านท่านจักให้ ตอบสนอง นบทา่ นทา่ นจกั ปอง นอบไหว้ รกั ทา่ นทา่ นควรครอง ความรัก เรานา สามสิ่งนีเ้ ว้นไว้ แต่ผทู้ รชน ก. หมูไปไกม่ า ข. ยืน่ หมูยืน่ แมว ค. หนา้ ไหว้หลงั หลอก ง. ใหท้ ุกขแ์ ก่ทา่ นทุกขน์ ั้นถึงตัว
๗. พฤติกรรมของกบตรงกับสานวนใดมากที่สุด กบเกิดในสระใต้ บัวบาน ฤาห่อนรรู้ สมาลย.์ หนึ่งนอ้ ย ภมุ ราอยไู่ กลสถาน นับโยชน์ ก็ดี บินโบกมาคอ้ ยค้อย เกลือกเคล้าเสาวคนธ์ ก. ใกล้เกลือกินด่าง ข. ไกไ่ ดพ้ ลอย ค. กบในกะลา ง. บวั กลางบึง
๘. โคลงบทนีส้ อนในเรือ่ งใด ผลเดื่อเมื่อสุกไซร้ มีพรรณ ภายนอกแดงดฉู นั ชาดบ้าย ภายในยอ่ มแมลงวนั หนอนบ่อน ดุจดงั คนใจรา้ ย นอกนัน้ ดงู าม ก. การมองคน ข. การปลูกพืช ค. ให้มองคนในแงร่ ้ายไว้ก่อน ง. มะเดื่อเป็นสญั ลักษณ์ของคนชวั่
๙. ใจความสาคัญของโคลงบทนี้นา่ จะตรงกบั สานวนใด ใบพ้อพันหอ่ ห้มุ กฤษณา หอมระรวยรสพา เพริศด้วย คือคนเสพเสน่หา นักปราชญ์ ความสขุ ซาบฤๅม้วย ดุจไมก้ ลน่ิ หอม ก. รักดีหามจว่ั รักชั่วหามเสา ข. คบคนพาล พาลพาไปหาผิด ค. คบบัณฑิต บณั ฑิตพาไปหาผล ง. เข้าเมอื งตาหลิว่ ตอ้ งหลิ่วตาตาม
๑๐. โคลงบทนี้มีความหมายตรงกบั สานวนใด ขนุนสกุ สลา้ งแห่ง สาขา ภายนอกเหน็ หนามหนา หน่นั แท้ ภายในยอ่ มรสา เอมโอช สาธชุ นนน้ั แล้ เลิศดว้ ยดวงใจ ก. ปากหวานกน้ เปรี้ยว ข. ขา้ งนอกสกุ ใสขา้ งในเป็นโพรง ค. คบคนใหด้ หู น้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ ง. ขา้ งนอกขรุขระขา้ งในตะติง๊ โหนง่
๑๑. จากโคลงบทนี้ กวีกลา่ วว่าสิ่งใดสาคัญทีส่ ดุ วงศ์หงส์ เสียสินสงวนศกั ดิ์ไว้ สิง่ รู้ ไว้นา เสียศกั ดิ์ส้ปู ระสงค์ ชีพมว้ ยมรณา เสียรเู้ รง่ ดารงความสัตย์ เสียสตั ยอ์ ยา่ เสียสู้ ก. ความรู้ ข. ความสัตย์ ค. ทรัพย์สมบัติ ง. เกียรติศกั ดิ์ศรี
๑๒. เหตใุ ดกวีจงึ เปรียบคนขีเ้ กียจว่าเหมือนนา้ ในตะกรา้ ความรผู้ ู้ปราชญ์น้ัน นักเรียน ฝนทั่งเท่าเข็มเพียร ผ่ายหนา้ คนเกียจเกลียดหนา่ ยเวียน วนจิต กลอทุ กในตระกร้า เปีย่ มล้นฤามี ก. เพราะเมือ่ เขาเกียจครา้ นจะทาสิง่ ใดย่อมไมส่ าเรจ็ ข. เพราะเขาไมใ่ ชน่ ักปราชญ์ที่จะรักการเลา่ เรียน ค. เพราะการฝนทงั่ ซึ่งเปน็ เหล็กให้เทา่ เขม็ ยอ่ มเป็นไปไมไ่ ด้ ง. เพราะการทางานนาน ๆ ครั้งของคนขีเ้ กียจยอ่ มสาเรจ็ ช้า
Search