Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิค การสอน

เทคนิค การสอน

Published by Areeya Prayoonlert, 2021-11-11 08:09:44

Description: นางสาวอารียา ประยูรเลิศ

Search

Read the Text Version

เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น

เทคนิคการสอน Game Method วิธีการสอนโดยใช้เกม คือ กระบวนการที่ช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนำเนื้ อหาและข้อมูล ของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการ เล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่ อสรุปการ เรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.ผู้สอนนำ เสนอเกม ชี้แจงวิธีการเล่น และกติกาการเล่นเกม เกมที่ ได้รับการออกแบบให้เป็นเกมการศึกษาโดยตรงมีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ 1) เกมแบบไม่มีการแข่งขัน 2) เกมแบบแข่งขัน 3) เกมจำ ลองสถานการณ์ การเลือกเกมเพื่อนำ มาใช้สอนทำ ได้ หลายวิธีผู้สอนอาจเป็นผู้สร้างเกมขึ้น หรืออาจนำเกมที่มีผู้สร้างขึ้น แล้วมาปรับดัดแปลงให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และควรชี้แจง กติกาการเล่นเกมให้เข้าใจ 2. ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา ผู้สอนควรติดตามสังเกตพฤติกรรม การเล่นของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด และควรบันทึกข้อมูลที่จะเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนของผู้เรียน 3. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายผลควรอภิปรายผลเกี่ยวกับผลการเล่น และวิธีการหรือ พฤติกรรมการเล่นของผู้เรียนที่ได้จากการสังเกต จดบันทึกไว้ และในการอภิปรายผลควรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ การใช้เกมในการสอนโดยทั่วๆไป มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ฝึกฝนเทคนิค หรือทักษะต่างๆ 2) เรียนรู้เนื้อหาสาระจากเกม 3) เรียนรู้ความเป็น จริงตามสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนั้นการอภิปรายควรมุ่งประเด็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการสอน

เทคการสอน Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ ทางปัญญา ( CONSTRUCTIVISM) ที่เน้นกระบวนการ เรียน รู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้น ในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรม การเรียนรู้ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำกระตุ้น หรืออำนวย ความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น ขั้ น ต อ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม 1.สร้างบรรยากาศของการมีส่ วนร่วม และการเจรจโต้ตอบ ที่ส่ งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสั มพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อน ใ น ชั้ น เ รี ย น 2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่ งเสริมให้ ผู้เรียนมีส่ วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียน ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ 3.จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่ งเสริมให้เกิดการ ร่ ว ม มื อ ใ น ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น 4.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาส ผู้ เ รี ย น ไ ด้ รั บ วิ ธี ก า ร ส อ น ที่ ห ล า ก ห ล า ย 5 . ว า ง แ ผ น เ กี่ ย ว กั บ เ ว ล า ใ น จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อ ย่ า ง ชัดเจน ทั้งในส่ วนของเนื้อหา และกิจกรรม 6.ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการ แสดงออก และความคิดเของที่ผู้เรียน

เทคนิ คการสอน BRAINSTORMING การระดมสมอง วิ ธี ส อ น ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร อ ภิ ป ร า ย โ ด ย ทั น ที ไ ม่ มี ใ ค ร ก ร ะ ตุ้ น ก ลุ่ ม ผู้เรียนเพื่ อหาคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนด อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า สั้ น โ ด ย ใ น ข ณ ะ นั้ น จ ะ ไ ม่ มี ก า ตั ด สิ น ว่ า คำ ต อ บ ห รื อ ท า ง เ ลื อ ก ใ ด ดี ห รื อ ไ ม่ อ ย่ า ง ไ ร ขั้นตอนในการระดมสมอง 1. กำหนดปัญหา 2.แบ่งกลุ่มผู้เรียน และอาจเลือกประธานหรือเลขา เพื่อช่วยในการ อภิปรายและ บันทึกผล 3.สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันคิดหาคำตอบ หรือทางเลือกสำหรับ ปัญหาที่กำหนด ให้มากที่สุดภายในเวลาที่กำหนด โดยปัญหา ของแต่ละกลุ่มอาจเป็นปัญหาเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ 4.คัดเลือกเฉพาะทางเลือกที่น่าจะเป็นไปได้ หรือเหมาะสมที่สุด 5. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตน 6. อภิปรายและสรุปผล

เทคนิคการสอน Project Method การสอนแบบโครงการ หมายถึง การสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่ หรือรายบุคคลได้วาง โครงการและดำเนินงานให้สำเร็จตามโครงการนั้น นับว่าเป็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง เด็กจะทำงานนี้ด้วยการตั้งปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยการ ลงมือทำจริง ขั้นตอนการสอน 1.ขั้นกำหนดความมุ่งหมาย เป็นขั้นกำหนดความหมายและลักษณะ โครงการโดยตัวนักเรียนครูจะเป็นผู้ชี้แนะให้นักเรียนตั้งความมุ่ง หมายของการเรียนว่าเราจะเรียนเพื่ออะไร 2.ขั้นวางแผนหรือวางโครงการ ขั้นวางแผนหรือวางโครงการ เป็น ขั้นที่มีคุณค่าต่อนักเรียนเป็นอย่างมาก คือ นักเรียนจะช่วยกันวาง แผนว่าท าอย่างไรจึงจะบรรลุถึงจุดมุ่งหมาย จะใช้วิธีการใดใน การท ากิจกรรม แล้วจึงท ากิจกรรมที่เหมาะสม 3.ขั้นดำเนินการ เป็นขั้นลงมือกระทำกิจกรรมหรือลงมือแก้ปัญหา นักเรียนเริ่มงานตามแผน โดยทำกิจกรรมตามที่ตกลงใจแล้วครู คอยส่งเสริมให้นักเรียนได้กระทำตามความมุ่งหมาย ที่กำหนดไว้ให้ นักเรียนคิดและตัดสินใจด้วยตนเองให้มากที่สุดและควรชี้แนะให้ นักเรียนรู้จักวัดผลการทำงานเป็นระยะๆเพื่อการทำกิจกรรมจะได้ ลุล่วงไปด้วยดี 5.ขั้นประเมินผล ขั้นประเมินผล หรืออาจเรียกว่า ขั้นสอบสวน พิจารณานักเรียนทำการประเมินผลว่ากิจกรรมหรือโครงการที่ทำ นั้นบรรลุตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร และควรแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างไร

เทคนิคการสอน แบบสาธิต วิธีสอนที่ครูมีหน้าที่ในการวางแผนการเรียนการสอนเป็นส่วนใหญ่ โดยมีการแสดงหรือการกระทำให้ดูเป็นตัวอย่าง นักเรียนจะเกิดการ เรียนรู้จากการสังเกต การฟัง การกระทำ หรือการแสดง และอาจเปิด โอกาสให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมบ้าง ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.กำหนดจุดมุ่งหมายของการสาธิตให้ชัดเจน และต้องสาธิตให้เหมาะ สมกับเนื้อเรื่อง 2.เตรียมอุปกรณ์ในการสาธิตให้พร้อม และตรวจสอบความสมบูรณ์ ของอุปกรณ์ 3.เตรียมกระบวนการสาธิต เช่น กำหนดเวลาและขั้นตอน จะเริ่มต้น ดำเนินการ และจะจบลงอย่างไร ผู้สาธิตต้องเข้าใจในขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้อย่างละเอียดแจ่มแจ้ง 4.ทดลองการสาธิตก่อนสอน ควรทดลองสาธิตเพื่อตรวจสอบความ พร้อมตลอดจน ผลที่จะเกิดขึ้นเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดในเวลาสอน 5.ต้องจัดทำคู่มือคำแนะนำหรือข้อสังเกตในการสาธิต เพื่อที่นักเรียน จะใช้ประกอบในขณะที่มีการสาธิต 6.เมื่อสาธิตเสร็จสิ้นแล้ว นักเรียนควรได้ทำการสาธิตซ้ำอีก เพื่อเน้น ให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น 7.จัดเตรียมกิจกรรมหลังการสาธิต เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าหรือ ประโยชน์ของการสาธิตนั้นๆ 8.ประเมินผลการสาธิต โดยพิจารณาจากพฤติกรรมของนักเรียนและ ผลของการเรียนรู้การประเมินผลควรมีกิจกรรมหรือเครื่องมือ เช่น การทดสอบ การให้แสดงความคิดเห็น หรือการอภิปราประกอบ

เทคนิคการสอน โดยใช้กรณีตัวอย่าง วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วย ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยให้ผู้เรียน ศึกษาเรื่องที่สมมติขึ้นจากความเป็นจริงและตอบประเด็นคำถาม เกี่ยวกับเรื่องนั้น แล้วนำคำตอบและเหตุผลที่มาของคำตอบนั้นมา ใช้เป็นข้อมูลในการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ ขั้ น ต อ น ข อ ง ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ตั ว อ ย่ า ง 1. ผู้สอน/ ผู้เรียนนำเสนอกรณีตัวอย่าง 2. ผู้เรียนศึกษากรณีตัวอย่าง 3. ผู้เรียนอภิปรายประเด็นคำถามเพื่ อหาคำตอบ 4. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายคำตอบ 5. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหา ของผู้เรียน และสรุปการเรียนรู้ที่ได้รับ 6. ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

เทคนิคการสอน แบบสืบเสาะ ผู้ เ รี ย น ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ใ น ข ณ ะ ที่ ไ ด้ รั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น สถานการณ์ต่างๆ โดยจัดให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ แบบต่างๆกับสิ่งเร้า โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ใน ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล ที่ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง มี ส่ ว น ร่ ว ม แบบตื่ นตัวกับสถานการณ์จริงในชีวิต ผู้เรียนจะเกิด ความเข้าใจอย่างท่องแท้ เมื่ อได้มีการจัดการให้มีการ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข อ ง ข้ อ มู ล ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ กั บ ค ว า ม รู้ เ ดิ ม ที่ มี อ ยู่ ขั้นตอนของการสอนแบบสืบเสาะ 1.การสร้างความสนใจ 2.การสำรวจและค้นหา 3.การอธิบายและลงข้อสรุป 4.การขยายความรู้ 5.การประเมินผล

เทคนิคการสอน แบบร่วมมือ กิจกรรมการเรียนการสอนที่แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกัน โดยในกลุ่มประกอบด้วย สมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิด เห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบ ร่วมกัน ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุก คนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือมีข้อดีหลายประการ ขั้นตอนของการสอนแบบร่วมมือ 1.คิดและคุยกัน(think Pairs Share) , เพื่อนเรียน(Partners) , ผลัดกันพูด(say and Switch) 2.กิจกรรมโต๊ะกลม(Roundtable หรือ Roundrobin) 3.คู่ตรวจสอบ(pairs check) , มุมสนทนา(corners) , ร่วมกันคิด (numbered heads together) 4.การสัมภาษณ์แบบสามขั้นตอน(thee step interview) 5.การแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม(team Games tournament หรือ tgt) , การแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์(student team achievement division หรือ stad) 6. ปริศนาความรู้(jigsaw) 7.การสืบสอบเป็นกลุ่ม(group investigation) 8. การเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบุคคล(team assisted individualization หรือ tai) 9. การเรียนรู้แบบร่วมมือผสมผสานการอ่านและการ เขียน(cooperative integrated reading and composition หรือ circ

เทคนิคการสอน แบบแบ่งกลุ่มทำงาน วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงานเป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้ นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วมมือกันศึกษาค้นคว้าหา วิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจเป็นการฝึกให้นักเรียนทำงาน ร่วมกันตามวิถีแห่งประชาธิปไตย ขั้นตอนในการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดความมุ่งหมายของ การทำงานในแต่ละกลุ่มขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่กำหนดความมุ่ง หมายและวิธีการทำงานอย่างละเอียด 2. ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ บอกรายละเอียดของหนังสือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบ หมาย 4. ครูและนักเรียนประเมินผลการทำงานในกรณีที่เป็นครูให้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการปฏิบัติงานในกรณี นักเรียนร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติงานในกลุ่มตนเองโดย บอกขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลที่ได้รับ และการพัฒนางานในโอกาสต่อไป

เทคนิคการสอน แบบปฏิบัติการหรือการทดลอง เป็นวิธีการสอนที่ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนลงมือปฏิบัติหรือ ทำการทดลองค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ทำให้เกิด ประสบการณ์ตรง ขั้นตอนในการสอนแบบปฏิบัติการหรือการทดลอง 1. ขั้นตอนกล่าวนำ 2.ขั้นตอนเตรียมดำเนินการ 3.ขั้นตอนเสนอผลการทดลอง 4.ขั้นตอนอภิปรายและสรุปผล

จัดทำโดย น า ง ส า ว อ า รีย า ป ร ะ ยู ร เ ลิ ศ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ อุ ต ร ดิ ต ถ์ ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์ ส า ข า น า ฏ ศิ ล ป์ ร หั ส นั ก ศึ ก ษ า 6 3 0 3 1 8 2 0 1 1 0


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook