Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2016-Report Summary.compressed

2016-Report Summary.compressed

Published by ppc-00, 2017-06-05 03:12:24

Description: 2016-Report Summary.compressed

Search

Read the Text Version

RSPG2016 สรปุ รายงานโครงการ สรปุ การดำเนินงาน โครงการอนรุ ักษพ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำป 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี

โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำนำ การดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปีงบประมาณ 2559 โรงเรียนสาธิตนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ดาเนินงานเพื่อสนองพระราชดารัส โดยสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ท่ีมีความหลากหลายครอบคลุมท้ังในด้านการเรียนการสอน เพื่อเพ่ิมศักยภาพนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งมีโครงการดังน้ี โครงการอนุรักษ์พันธุ์บัว โครงการวิจัยนวัตกรรมการยืดอายุใบบัวหลังการเก็บเกี่ยว และการแปรรูปเป็นชาพร้อมด่ืม ผลของกระบวนการผลิตต่อคุณภาพของชาจากกลีบดอกบัวฉลองขวัญ โอลิโกแซคคาไรด์ของบัวหลวงและคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกเพ่ือพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ โครงการวิจัยการศึกษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อการรักษาแผลในปากสุนัข-แมวท่ีทาจากสมุนไพรไทย โครงการวิจัยการพัฒนาประยุกต์ใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านกรณีศึกษา ตาบลบ่อเงิน อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โครงการวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสารสกัดบวั สายพันธบ์ วั ผนั โครงการวิจัย หัวเชื้ออัดเม็ด ราชมงคลธัญบุรีเพ่ือการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวิจัยการพัฒนาปลูกข้าวอินทรีย์และพัฒนาชุมชนด้วยหัวเชื้อราผสม ตาบลบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี การสร้างมูลค่าเพ่ิมสมุนไพรให้ชุมชน การอบรมเชิงปฏิบัติการสมนุ ไพรสชู่ ุมชนคลองเก้า จังหวดั ปทุมธานี การสร้างมูลค่าเพิ่มกับการเพิ่มศักยภาพในการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ชุมชน โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี รวมทง้ั สนิ้ 13 โครงการ ใชง้ บประมาณทัง้ สน้ิ 2, 396,041.66 บาท โครงการอนุรักษ์พนั ธกุ รรมกรรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ กันยายน 2559

สำรบญั หน้ำ 11. อนุรักษ์และปกปักพนั ธ์บวั 262. โครงการวจิ ัยนวตั กรรมการยดื อายใุ บบวั หลงั การเก็บเก่ียว 28 และการแปรรปู เป็นชาพร้อมดื่ม 303. ผลของกระบวนการผลติ ตอ่ คณุ ภาพของชาจากกลีบดอกบัวฉลองขวญั 344. โอลิโกแซคคาไรดข์ องบวั หลวงและคุณสมบัตคิ วามเปน็ พรีไบโอติก 37 เพือ่ พฒั นาเป็นผลติ ภันฑเ์ พ่ือสขุ ภาพ 395. โครงการวจิ ัยการศกึ ษาผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบเพอ่ื การรักษาแผลในปากสุนขั -แมว 42 ท่ที าจากสมุนไพรไทย 456. โครงการวิจยั การพฒั นาประยุกต์ใช้ประโยชนจ์ ากภูมิปัญญาการแพทย์พืน้ บา้ น กรณีศึกษา ตาบลบ่อเงิน อาเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวัดปทุมธานี 49 637. โครงการวจิ ยั การพัฒนาผลิตภัณฑธ์ รรมชาตจิ ากสารสกดั บัวสายพนั ธ์บัวผนั 72 848. โครงการวิจัย หัวเชื้ออดั เมด็ ราชมงคลธัญบรุ เี พื่อการพัฒนาตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1019. โครงการวิจยั การพัฒนาปลูกขา้ วอินทรยี ์และพฒั นาชุมชนดว้ ยหัวเชือ้ ราผสม ตาบลบงึ กาสาม จังหวัดปทุมธานี10. การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ สมนุ ไพรให้ชุมชน11. การอบรมเชงิ ปฏิบัติการสมนุ ไพรสชู่ ุมชนคลองเก้า จงั หวดั ปทมุ ธานี12. การสรา้ งมูลค่าเพ่ิมกบั การเพิม่ ศกั ยภาพในการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ชมุ ชน13. โครงการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นสาธิตนวัตกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี14. สรุปผลการดาเนินการของหนว่ ยทีร่ ว่ มสนองพระราชดาริ ปีงบประมาณ 2559 (อพ.สธ.-มทร.ธ)

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช อนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีความเปน็ มา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริฯ อันมีกิจกรรมตา่ งๆ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมปกปักพันธุกรรมพืช กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช กิจกรรมศูนย์ข้อมูลพนั ธกุ รรมพืช กจิ กรรมวางแผนพัฒนาพันธุ์พืช กิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มาต่ังแต่ปี ๒๕๓๔ ซ่ึงมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาบุคลากรอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพืช ให้เกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ไดเ้ ขา้ ร่วมสนองพระราชดารโิ ครงการดงั กล่าว มาตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ในโครงการพิพิธภัณฑ์บัว ซึ่งปัจจุบันอยู่ในช่วงที่ ๕ ปีที่ห้า (๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙) ของมหาวิทยาลัยและอยู่ในช่วงแผนการดาเนินงานโครงการระยะ ๕ ปีที่หก ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ในกรอบการเรียนรู้ทรัพยากร มีกิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช กรอบการใช้ประโยชน์ มีกิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธ์ุพืช และกรอบการสรา้ งจิตสานึก มกี จิ กรรมพเิ ศษสนับสนุนการอนรุ ักษพ์ ันธกุ รรมพืชวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๑. เพ่ือสนองพระราชดาริโครงการอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริฯ ๒. เพื่อรวบรวมและปลกู รักษาพันธุ์บวั ๓. เพ่อื ศึกษาการใช้ประโยชนจ์ ากบัวในดา้ นตา่ งๆ ๔. เพ่ือเป็นแหล่งศึกษา คน้ ควา้ วจิ ัย และการเรียนรูแ้ บบบูรณาการเกยี่ วกับบัว ๕. เพอ่ื ปลูกจิตสานกึ ใหม้ คี วามรกั และหวงแหนพันธกุ รรมพืช

๒ สรปุ รายงานโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจาปี ๒๕๕๙กจิ กรรมที่ ๓ กจิ กรรมปลูกรักษาพนั ธกุ รรมพืช เปน็ กจิ กรรมต่อเน่ืองจากกิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมพันธบ์ุ ัว ซ่ึงนามาปลกู ในภาชนะอา่ งปลูกเพ่ือเปน็ แหลง่ รวบรวม และการปลูกรักษาสายพันธบุ์ วั ปัจจบุ นั มพี ันธ์บุ วั จานวน ๔๑๕ สายพนั ธ์ุ โดยแบ่งได้ดงั น้ี๑. บวั วงศ์ (Nelumbonaceae) กล่มุ บัวก้านแขง็ มี ๑ สกลุ คอื ๑.๑สกลุ (Nelumbo) (ปทุมชาติ) ได้แก่กลุ่มบวั หลวง มี ๓๕ แหล่งพนั ธุ์๒. บวั วงศ์ (Nymphaeaceae) กลุ่มบวั ก้านอ่อน มี ๒ สกลุ คอื ๒.๑ สกุล (Nymphaea) (อุบลชาติ) ในสกลุ นแ้ี บ่งเปน็ ๒ กลมุ่ คอื ๒.๑.๑ อุบลชาติยนื ต้น (Hardy Waterlily) ได้แก่บวั ฝรัง่ (บวั ตา่ งประเทศ) เป็นบัวใน เขตหนาวถึงอบอุ่น มี ๑๐๐ สายพันธ์ุ ๒.๑.๒ อุบลชาตลิ ม้ ลุก (Tropical Waterlily) ไดแ้ ก่ บัวผัน บัวเผือ่ น บวั จงกลนี บัวนางกวัก บัวสาย และบวั ยักษอ์ อสเตรเลีย มี ๒๖๔ สายพนั ธ์ุ บัวอบุ ลชาติล้มลกุ แบง่ เป็น ๒ ประเภท คือ ๒.๑.๒.๑ อบุ ลชาติล้มลกุ บานกลางวัน (Tropical Day Blooming Waterlily) มีทง้ั หมด ๒๓๙ สายพันธุ์ ๒.๑.๒.๒ อบุ ลชาติล้มลกุ บานกลางคืน (Tropical Night Blooming Waterlily) ไดแ้ ก่กลุ่มบัวสายท้ังหมด มี ๒๕ สายพนั ธุ์ ๒.๒ สกลุ (Victoria) บวั วิคตอเรีย หรอื บัวกระดง้ มี ๑ สายพนั ธุ์ อยู่ในกลุม่ (Victoria amazonica) (กจิ กรรมใหม่) รวบรวมพนั ธ์ุบวั ลูกผสมต่างประเทศ จากวงเงินงบประมาณ ๓๐,๐๐๐.- บาทรวบรวมได้ ๑๕ สายพนั ธุ์บวั ฝรงั่ พนั ธ์เุ ลมอนเมอแรง บวั ฝรงั่ พันธ1์ุ 000 กลีบ บวั ฝรงั่ พันธส์ุ ยามพิง้ ค์ บวั ฝรั่งพนั ธสุ์ ยามเพอเพ้ิลบวั ฝรง่ั พนั ธเ์ุ พอรี่ดบั เบล้ิ เยลโล่ บวั ฝรงั่ พนั ธุ์ Ji ‘ cup by Jirasin บวั ฝร่ังพันธ์ชุ มพไู พรัตน์

๓กิจกรรมท่ี ๘ กจิ กรรมสร้างจิตสานกึ ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื ๑. เป็นแหล่งเรียนรู้เร่ืองบัวเพื่อการอนุรักษ์ มีหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน โรงเรียนสถาบนั การศกึ ษา จานวน ๓๐ หน่วยงาน ๒,๒๑๖ คน เข้าเยี่ยมชมและศกึ ษาเรยี นร้คู ุณประโยชนจ์ ากบวั ๒. เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีประชาชนและบุคคลท่ัวไปเข้ามาเย่ียมชมในวันราชการจานวนมากกว่า ๒,๕๗๘ คน โดยไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย ๓. ร่วมกับส่ือสิ่งพิมพ์และโทรทัศน์นาเสนอพิพิธภัณฑ์บัว โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารฯิ ๗ รายการ ๔. จดั ประชุมวิชาการ “การพฒั นาบวั ใหเ้ ปน็ พืชเศรษฐกิจ คร้ังที่ ๑๒” และการประกวดบัวผันสวยงาม เม่ือวันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชมุ รินลอบุ ล มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ๕. ให้ความอนุเคราะห์พันธบ์ุ ัว เพอื่ ศึกษาเรยี นรู้ ในโรงเรียน/หน่วยงานตา่ งๆ จานวน ๖ เรอื่ ง งบประมาณประจาปี ๒๕๕๙๑. งบประมาณแผ่นดนิ เป็นเงนิ ๑๐๗,๗๐๐.- บาท๑.๑ งานประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ให้เปน็ พืชเศรษฐกจิ ครัง้ ท่ี ๑๒” และการประกวดบัวผนั สวยงาม ระหว่างวนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เปน็ เงิน ๗๗,๗๐๐.- บาท๑.๒ โครงการรวบรวมพันธุบ์ ัวลกู ผสมตา่ งประเทศ เป็นเงนิ ๓๐,๐๐๐.- บาท๒. งบประมาณเงนิ รายไดม้ หาวทิ ยาลัยฯ เป็นเงิน ๗๖๐,๐๐๐.- บาทแผนงานอนุรักษ์ สง่ เสรมิ และพฒั นาศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรมผลผลติ ผลผลติ ผลงานทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรม เป็นเงิน ๗๘๓,๕๐๐.- บาท มีรายละเอยี ดดงั นี้๒.๑ งบบคุ ลากร- คา่ จ้างช่วั คราว ๖ อตั รา เป็นเงนิ ๗๐๑,๔๐๐.- บาท๒.๒ งบดาเนนิ การ๒.๒.๑ คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ เปน็ เงิน ๘๒,๑๐๐.- บาทค่าใชส้ อย ๓๕,๑๐๐.- บาท- เงินประกันสงั คม ๓๕,๑๐๐.- บาทคา่ วสั ดุ ๑๐,๐๐๐ + ๒๓,๕๐๐ = ๓๓,๕๐๐ บาท งบประมาณเงินรายไดม้ หาวทิ ยาลยั ฯ ๒๕๕๙๘๐๐,๐๐๐ ๗๐๑,๔๐๐๖๐๐,๐๐๐๔๐๐,๐๐๐ งบประมาณเงินรายได้๒๐๐,๐๐๐ มหาวทิ ยาลยั ฯ 2559 ๐ ๑๐๗,๗๐๐ ๓๕,๑๐๐ ๓๓,๕๐๐

๔จานวนผู้เข้าเย่ยี มชม พิพิธภัณฑ์บัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ระหว่างเดือน ตลุ าคม ๒๕๕๘ – เดอื นกันยายน ๒๕๕๙ เดือน จานวน จานวนคน สอื่ โทรทศั น์/ อื่นๆ หน่วยงาน รายการ/สัมภาษณ์ ตลุ าคม ทีเ่ ขา้ เย่ยี มชม ๒๕๘ -พฤศจกิ ายน ๘๒๙ และสิ่งพมิ พ์ - ธนั วาคม - ๑๕๔ - - มกราคม ๕ ๒๓๖ - -กุมภาพนั ธ์ ๑ ๑๗๑ - ๑ ๒ ๒๑๘ - ๒ มีนาคม ๔ ๒๖ ๒ - เมษายน ๕ ๘๕ ๒ -พฤษภาคม ๑ ๑๘๖ ๑ ๒ มิถนุ ายน ๑ ๒๐๓ - ๑กรกฎาคม ๑ ๒๙๔ - - สิงหาคม ๒ ๕๘๘ ๒ - กนั ยายน ๔ ๓,๒๔๘ คน - ๖ เรื่อง ๕ - รวม ๓๐ หน่วยงาน ๗ รายการ

กจิ กรรมเพื่อการเรียนรู้

๖ สรุปงานประชุมวิชาการ“การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจ ครั้งท่ี 12” และการประกวดบวั ผันสวยงาม ระหวา่ งวันท่ี 29 – 30 ตลุ าคม 2558 พพิ ธิ ภณั ฑบ์ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

๗ การประชุมวิชาการ “การพฒั นาบวั ใหเ้ ปน็ พชื เศรษฐกิจ ครงั้ ที่ 12” และการประกวดบวั ผันสวยงามหลักการและเหตุผล ประเทศไทยมศี ักยภาพสูงในการผลิตไมด้ อกไม้ประดับ จนสามารถเป็นสินค้าส่งออกและบางชนิดจัดอยู่ในอันดับตน้ ๆ ของตลาดโลก เช่น กล้วยไม้ เน่ืองจากประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศท่ีเอื้ออานวย ต้นทุนด้านการผลิตต่า เกษตรกรและผูป้ ลกู เลยี้ งมคี วามม่งุ ม่ันในการพัฒนาสายพันธอ์ุ ยู่ตลอดเวลา บัวประดับก็เป็นพืชอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นท่ียอมรับในต่างประเทศว่าประเทศไทยสามารถผลิต บัวประดับในระดับช้ันนาของโลก ทั้งน้ีหลังจากการจัดประชุมสัมมนาวิชาการ การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจมาแล้ว 11 ครั้ง บัวประดับของไทยได้มีการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศของโลกได้ในระยะเวลาอันส้ัน แต่ในความเป็นจริงข้อจากัดของการผลิตบัวประดับยังมีอีกมาก เช่นความรูด้ ้านเทคโนโลยี การศกึ ษาการใชป้ ระโยชน์จากสว่ นต่างๆ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพ่ิมมูลค่าและเทคโนโลยีการขยายพันธุ์ตลอดจนถึงเทคโนโลยีภายหลังการเก็บเก่ียว ความหลากหลายของรูปแบบ ตลอดจนการคุ้มครองทรัพยส์ ินทางปญั ญา ซงึ่ เปน็ ปัญหาทต่ี ้องไดร้ ับการแกไ้ ขโดยดว่ น เพอ่ื ให้ประเทศไทยได้อยู่ในสถานภาพผู้นาด้านบัวประดบั ของโลกตอ่ ไป บัวจึงเป็นพืชที่ทรงคุณค่าและมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจในประเทศไทย ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้และสร้างรายได้เพิ่มให้กับผู้ปลูกบัว ปัจจุบันประเทศไทยได้มีแผนการพัฒนาสายพันธ์ุบัวไทย วิธีการผลิตอย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานความต้องการของเกษตรกร การปลูกบัวก็จะเป็นอาชีพท่ีสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้สนใจเป็นอย่างมาก ซ่ึงการประชุมวิชาการคร้ังน้ี จะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลวิชาการที่เก่ียวกับบัว แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความร่วมมอื ในการพฒั นาบวั ให้เปน็ พืชเศรษฐกจิ ท่ีสาคัญของชาตติ ่อไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีพิพิธภัณฑ์บัวเป็นหน่วยงานที่เป็นแกนกลางของการวิจัยเพ่ือพัฒนาพันธ์ุบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย จะได้นาผลงานวิจัยสู่บุคคลภายนอก และนาประเด็นปัญหาของเกษตรกรกลับมาศึกษาเป็นปัญหาพิเศษของนักศึกษา และงานวิจัยของบุคคลากรของมหาวิทยาลัยได้ รวมท้ังเป็นการเฉลมิ ฉลองเน่อื งในวโรกาสสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5รอบ 60 พรรษา และครบรอบ 40 ปี ราชมงคลธัญบรุ ี มหาวทิ ยาลัย มอื อาชพี รวมท้ังเปน็ การเฉลิมฉลอง 200 ปีปทมุ ธานี ทัง้ นเี้ พือ่ นักวชิ าการ เกษตรกร ได้มีความรใู้ นการพฒั นาพันธ์บุ วั ใหเ้ ปน็ พชื เศรษฐกิจและได้มีการประกวดบัวผันสวยงาม กิจกรรมน้ีจึงเป็นการส่งเสริมนักวิชาการ นักปรับปรุงพันธ์ุ เกษตรกร และบุคคลทั่วไปท่ีสนใจเรื่องบวั เพือ่ เกิดให้ประโยชนต์ ่อประเทศชาติ ดา้ นการเกษตร ดา้ นการคา้ และการทอ่ งเท่ยี วตอ่ ไปวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1. ผ้เู ข้ารว่ มประชมุ วชิ าการไดร้ ับความรดู้ ้านการพัฒนาบวั และทราบถึงความก้าวหนา้ ในการพัฒนาบัว 2. ผปู้ ระกอบการ หน่วยงานของรัฐ และผู้สนใจทางดา้ นบวั นาความร้ทู ่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 3. เพื่อพฒั นานักวชิ าการ นักวิจัย นักปรับปรงุ พันธ์ุ และเกษตรกร

๘เป้าหมาย เพอื่ เป็นพนื้ ท่ีใหผ้ ทู้ ส่ี นใจ นักวิชาการ นักปรบั ปรุงพันธุ์ และเกษตรกรได้มโี อกาสแลกเปล่ียนความรู้ประสบการณ์ และปญั หาในการพฒั นาบัวของไทยให้บรรลุจุดประสงค์ที่ตง้ั ไว้ คือเพ่ือให้บัวเปน็ พืชเศรษฐกิจที่สาคัญอีกชนดิ หนงึ่วิธดี าเนนิ การ - บรรยายพิเศษ เสนอบทความ/ผลงานวิชาการ และอภิปรายแลกเปล่ยี นความร้ปู ระสบการณ์ - ศึกษาดูงาน/นทิ รรศการ - กจิ กรรมประกวดบัวผันสวยงามผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนา 60 คน - นกั วิชาการ สงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - ครู อาจารย์ - พนกั งานภาครฐั และเอกชน - เกษตรกร ผสู้ ง่ ออก นักศึกษา และผู้สนใจวนั ทแ่ี ละเวลาในการจดั ประชมุ วันท่ี 29 – 30 ตุลาคม 2558 ( 2 วนั )สถานท่ี ณ ห้องประชุมรินลอบุ ล ชัน้ 1 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 48 พระชนั ษา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี และพิพธิ ภณั ฑ์บัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีผลทีค่ าดวา่ จะได้รบัดา้ นวชิ าการ ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนาจะไดร้ บั ความรเู้ ทคโนโลยีต่างๆ ทางวิชาการเพ่ิมมากขึ้นด้านการตลาด การทาให้บวั เปน็ พืชทมี่ ีศักยภาพ ความต้องการดา้ นตลาดสูงขึ้นด้านความรว่ มมอื นกั วชิ าการจะมีความรว่ มมือในการค้นควา้ วิจัยมากข้นึดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว บวั จะได้รับความสนใจและใช้ปลกู และเชญิ ชวนใหค้ นสนใจและท่องเที่ยว มากย่งิ ขน้ึดา้ นประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าท่ดี ้านวเิ ทศน์และประชาสัมพันธข์ องมหาวทิ ยาลยั ตลอดจน นักศกึ ษา และบุคลากรมคี วามรคู้ วามเข้าใจ ดา้ นบัวมากข้ึน สามารถเผยแพรช่ ่ือเสียงใหก้ ับมหาวทิ ยาลัยได้ท่ีปรึกษาโครงการผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยม์ โน สุวรรณคา ผู้อานวยการกองอาคารสถานที่ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยภ์ ูรนิ ทร์ อคั รกุลธร หวั หนา้ ฝา่ ยพิพธิ ภณั ฑบ์ ัว กองอาคารสถานท่ี

๙ การประชาสัมพันธ์เวบ็ ไซต์ www.rmutt.ac.thการประชาสัมพนั ธ์ www.facebook.com/lotus.rmutt/ การประชาสัมพนั ธ์เวบ็ ไซต์พิพิธภณั ฑบ์ วั

๑๐ การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเ้ ปน็ พืชเศรษฐกิจ ครง้ั ที่ 12” ระหวา่ งวนั ท่ี 29 – 30 ตลุ าคม 2558 ณ ห้องประชุมรินลอบุ ล ช้ัน ๑อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ๔๘ พระชันษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารีลงทะเบยี นเข้าร่วมงานประชุมวิชาการและรบั เอกสาร ผศ.ภูรินทร์ อัครกลุ ธร กล่าวรายงานประธานเปิดงาน (นายวิรชั โหตระไวศยะ) นาวาตรหี ญิง ปริมลาภ ชูเกยี รติมน่ั คณุ ประทวน สุทธิอานวยเดชกลา่ วเปิดงาน เร่ือง คุณสมบัตทิ ่ีพึงประสงคแ์ ละเส้นทางการส่งบัวประกวดใน เรอ่ื ง การเตบิ โตของไม้นา้ ในอตุ สาหกรรมสวนประดับ เวทีโลก ผศ.ดร. ณ นพชัย ชาญศลิ ป์ คุณจิรสิน ปานวุ่น ผเู้ ขา้ ร่วมการประชุมเรอ่ื ง การปรับปรงุ พันธุ์บัวลูกผสมขา้ มสกุลยอ่ ย(ISG) เรอื่ ง บัว...ในมุมมองของคนรุน่ ใหม่ นิทรรศการ มหัศจรรย์พรรณบวั นทิ รรศการ 40 ปีราชมงคลธัญบุรี นทิ รรศการ ๖๐ พรรษา เจา้ ฟ้านกั ปฏบิ ตั ิได้รบั ความอนเุ คราะหจ์ ากอทุ ยานการเรียนรู้ นวตั กรรมสร้างชาติ สรา้ งอนาคต

๑๑งานออกแบบเสื้อผา้ จากคณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ งานออกแบบเส้อื ผา้ และถุงผา้ จากคณะ การจดั ดอกบัวอบแหง้ ศิลปกรรมศาสตร์การจดั โต๊ะอาหาร ผลติ ภณั ฑห์ ตั ถกรรม ใบบวั อบแห้งผลิตภณั ฑจ์ ากบัววทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย เซรามิกแก้วบวั เข็มกลัดดอกบวัการพับดอกบวั งานเซรามกิ ของคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ การจดั ดอกบัวจากคณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ ระบาบัวการแสดงจาก คณะศิลปกรรมศาสตร์

๑๒ กิจกรรมประกวดบัวผันสวยงามในงานประชมุ วิชาการ “การพฒั นาบวั ใหเ้ ป็นพืชเศรษฐกิจ คร้ังที่ 12”เป้าหมาย 1. กลมุ่ ผปู้ ลูกบัวประดบั จาหนา่ ย จ.ปทมุ ธานี (อ.ธัญบรุ ี,อ.ลาลูกกา,อ.คลองหลวง ฯลฯ) จานวน 15 ราย 2. กลุ่มผูป้ ลูกบัวประดบั จาหน่ายใกลเ้ คียง เชน่ นนทบุรี, นครปฐม และสุพรรณบรุ ี จานวน 10 ราย 3. จานวนบวั ท่สี ง่ เข้าประกวด 30 – 40 กระถางเง่อื นไข 1. เปน็ บัวผนั สายพนั ธ์ใุ หมท่ ไ่ี มเ่ คยประกวดและมกี ารซ้ือขายมาก่อน 2. ปลูกในภาชนะกระถาง หรือ กะละมัง ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 12 นวิ้ 3. จะต้องเปน็ บัวเพาะเลย้ี ง ไมใ่ ช่บวั ทีล่ ้วงขุดขึน้ มา 4. บวั ทส่ี ่งประกวดเน้นสวยงาม ใบสวยงาม ดอกสวยงาม สีสันดอกสวยงาม 5. ส่งบัวเข้าประกวดตั้งแต่ วันพธุ ท่ี 28 ตลุ าคม 2558 เวลา 8.00 น. – 16.30 น. 6. ตดั สินในวันศกุ รท์ ี่ 30 ตลุ าคม 2558 เวลา 15.00 น. เป็นตน้ ไป 7. บวั ทส่ี ง่ ประกวดมารับกลับไดใ้ นเย็นวันอาทิตยท์ ี่ 1 พฤศจกิ ายน 2558 หรอื ตามความเหมาะสมรางวัล ใบประกาศนียบตั รพรอ้ มโลร่ างวัล รางวัลชนะเลิศ ใบประกาศนยี บตั รพรอ้ มโลร่ างวลั รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 ใบประกาศนยี บตั รพรอ้ มโลร่ างวลั รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดับ 2 ใบประกาศนียบตั รพรอ้ มโล่รางวัล รางวัล popular voteกรรมการตดั สนิ 1.คณุ ปรมิ ลาภ วสุวตั ชเู กยี รตมิ ั่น 2.คุณชยั พล ธรรมสวุ รรณ์ 3.คุณสวัสด์ิ พมิ พ์สวุ รรณ

๑๓ ประกวดบัวผนั สวยงาม ในงานประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ้ ปน็ พืชเศรษฐกิจ ครง้ั ท่ี 12”วันท่ี 31 ตุลาคม 2558 ณ พิพิธภณั ฑบ์ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีคณะกรรมการให้คะแนนบวั ที่เขา้ ประกวดรศ.คณุ หญิงสชุ าดา ศรเี พ็ญ ผู้อานวยการสวนหลวง ร.๙ มอบรางวัลแกผ่ ู้ชนะการประกวดบวั ผูเ้ ขา้ รว่ มประชุมวชิ าการและ คณะทางานรว่ มกนั ถ่ายภาพทร่ี ะลกึ

๑๔การอภิปรายในท่ีประชุมเกี่ยวกับการจัดงานประชุมวชิ าการบวั ครงั้ ท่ี 13 ปีพ.ศ. 2559 1.ในที่ประชมุ มีข้อเสนอใหจ้ ดั งานประชุมวิชาการบัว ใน 3 หน่วยงานคอื- สวนนงนชุ พัทยา จ.ชลบุรี- สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั- มหาวิทยาลยั รามคาแหง 2. การประชมุ วิชาการอาจจะจัดในรูปแบบ ประชมุ วิชาการ 1 วนั และมกี ารเดินทางไปชมบวั ตามสวนบัวต่างๆ อีก 1 วัน ซึง่ ตอ้ งมีค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง 3. เนอื่ งจากหน่วยงานท่ถี ูกเสนอให้เป็นเจา้ ภาพในการประชุมครงั้ ตอ่ ไป ไม่มบี คุ ลากรอยู่ในทีป่ ระชมุ ดว้ ยจึงยังไม่มหี นว่ ยงานใดรับเปน็ เจ้าภาพซง่ึ ทางมทร.ธัญบุรีจะช่วยประสานหน่วยงานท่ีถูกเสนอชอ่ื เป็นเจา้ ภาพให้อาจจะมีการประสานกับคณุ ประทวน ตนั สจั จา เจา้ ของลพบุรี สวนบวั รีสอรท์ ให้ด้วย 4.ทางมทร.ธัญบรุ ี ถูกเสนอให้เป็นเจา้ ภาพในการจัดงานประชุมวิชาการบัวอีกครั้ง แตต่ ิดทีง่ บประมาณ คือการจัดงานประชุมวชิ าการบัวคร้งั ท่ี 12 น้ีได้นางบประมาณของปี 2559 มาใชแ้ ล้ว ซึง่ หากมีสปอนเซอรห์ รือมีงบประมาณใหท้ างพิพิธภณั ฑ์บวั มทร.ธัญบรุ ี กย็ ินดีทจ่ี ะเปน็ เจา้ ภาพ ในด้านสถานท่ีให้ 5.คุณหญงิ สชุ าดา ศรเี พ็ญ รองประธานมูลนธิ ิสวนหลวง ร.9 ขอเสนอเป็นเจา้ ภาพใหป้ ี 2560 เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี มูลนิธสิ วนหลวง ร.9 และหากไม่มหี น่วยงานใดเปน็ เจา้ ภาพในปี 2559 จริงๆ คงตอ้ งข้ามไป 1 ปี

๑๕คณะครูโรงเรียนจติ รลดานานักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน 120 คน เข้าเยี่ยมชมพิพธิ ภณั ฑบ์ วั ชว่ งเชา้ เรียนร้เู กย่ี วกบั บัวตา่ งๆ กลุ่มบัวอบุ ลชาติ กลุ่มบัวปทมุ ชาติ และการปลูกบวัโดยมผี ศ.ภรู ินทร์ อัครกลุ ธร นางเยาวมาลย์ นอ้ ยใหม่ และนายกฤษณะ กลัดแดง เป็นผู้บรรยายให้ความรู้ และช่วงบา่ ยกิจกรรมเรยี นรู้เรอ่ื งบัวจากคณะคหกรรมศาสตร์ ดร.สุภา จฬุ คุป์ ผศ.ไศลเพชร ศรีสุวรรณ และคณะนักศกึ ษา เปน็ ผ้ใู หค้ วามรู้ ในวันท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2558เรยี นรูเ้ ก่ยี วกบั บัวปทุมชาติ เรยี นร้เู กีย่ วกบั บวั วิกตอเรียเรียนรู้เกี่ยวกบั กลุม่ บวั อุบลชาติ เรยี นรูเ้ กี่ยวกบั การปลูกบัว เรียนรู้เกีย่ วกบั การพับดอกบัวกิจกรรมการทาสมุดจากใบบวั อัดแหง้ กจิ กรรมการทาพวงกุญแจเดคูพาจ กจิ กรรมการทาข้าวเหนยี วป้งิ ไสเ้ ผือก เมด็ บวั และน้ารากบวั

๑๖ คณะวทิ ยากรท่ีมาบรรยายพิเศษให้กับคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมเขา้ เยีย่ มชมและศึกษาประโยชนจ์ ากบวั โดยมนี ายกฤษณะ กลดั แดง นักวชิ าการเกษตร เป็นผู้บรรยายใหค้ วามรู้ เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2559 ณ พพิ ิธภัณฑบ์ วั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี คณุ ครูและนักเรยี นโรงเรียนคลองห้า ชนั้ อนบุ าลปีท่ี ๑ จานวน ๙ คน เข้าเยี่ยมชมและศึกษาเกีย่ วกับบวั โดยมีนางเยาวมาลย์ นอ้ ยใหม่ นักวชิ าการเกษตรเปน็ ผบู้ รรยายต้อนรบั ในวนั ที่ ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕59 ณ พิพธิ ภัณฑบ์ วั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี โดย ดร.พนารตั น์ ทองเพ่ิม นานักศกึ ษาสาขาชีววทิ ยาชนั้ ปีที่ ๒ จานวน ๔๐ คน เข้าเยี่ยมชมและศึกษาดงู าน ผศ.ภูรินทร์ อัครกลุ ธร และนายอศิ ราพงษ์ แคนทอง เปน็ ผู้บรรยายต้อนรับ ในวันพธุ ที่ ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๙

๑๗ ผศ.สรุ พล อนิ ทรพงษ์ นานักศึกษาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ช้นั ปที ่ี 1 จานวน 30 คน เขา้ เยี่ยมชมและศึกษาเรียนรู้ข้อมลู เกี่ยวกับบวั เพื่อใชป้ ระกอบการเรียนในวิชาวาดภาพโดยมนี ายกฤษณะ กลัดแดง และนางเยาวมาลย์ นอ้ ยใหม่ เป็นผบู้ รรยายใหค้ วามรู้ ในวนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 บคุ ลากรวิทยาลัยอาชีพพุทธมณฑล จ.นครปฐม จานวน 9 คน เข้าเยี่ยมชม และศึกษาคุณประโยชนข์ องบัว โดยมีผศ.ภรู ินทร์ อคั รกลุ ธร และนายกฤษณะ กลัดแดง เป็นผ้บู รรยายให้ความรู้ ในวนั ท่ี 29 มนี าคม 2559 คณาจารยแ์ ละนักศึกษา ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เข้ารับฟังบรรยายและศกึ ษาดูงานด้านพฤกษศาสตร์ของบวั จานวน 38 คนโดยมี นางรจุ ริ า เดชสงู เนิน หัวหน้าฝ่ายพิพธิ ภัณฑบ์ วั และนายกฤษณะ กลดั แดง นักวชิ าการเกษตร เป็นผู้บรรยาย ต้อนรบั และใหค้ วามรู้ ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2559

๑๘ คณะครโู รงเรยี นวดั เกดิ การอุดม จังหวัดปทุมธานี นานกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 120 คนเข้าเย่ยี มชมพิพิธภัณฑ์บัวและรับฟงั การบรรยายเกี่ยวกับบัว โดยมี นางรุจิรา เดชสูงเนิน หัวหนา้ ฝา่ ยพพิ ธิ ภัณฑ์บวั และนายกฤษณะ กลัดแดง นักวิชาการเกษตร เป็นผูบ้ รรยายต้อนรับและให้ความรู้ ในวนั ท่ี 22 มถิ นุ ายน 2559 คณะกรรมการบรหิ ารชมรมแมบ่ า้ นตารวจภูธรภาค 1 ชมรมแมบ่ า้ น ตารวจภธู รภาค 1 จานวน 120 คน เขา้ เย่ยี มชมและศึกษาดูงาน โดยทา่ นผ้ชู ว่ ยอธิการบดี รศ.ดร.สจุ ิระ ขอจติ ต์เมตต์ เปน็ ประธานกลา่ วเปิดงาน และมอบของท่รี ะลึกผลติ ภัณฑ์ “ดอกบัวสดอบแห้ง จากอาจารย์รจุ ิรา เดชสูงเนิน”มนางเยาวมาลย์ น้อยใหม่ นายอศิ ราพงษ์ แคนทอง และนายกฤษณะ กลัดแดง นักวชิ าการเกษตร เปน็ ผูบ้ รรยาย ให้ความรู้ ในวันท่ี 26 กรกฎาคม 2559

๑๙ คณะวิศวกรรมศาสตร์ นาผูบ้ ริหารจากสมาคมศิษย์เกา่ สถาบนั เทคโนโลยีแห่งประเทศอินเดยี ในประเทศไทยเขา้ เย่ียมชมพพิ ธิ ภัณฑ์บัว จานวน 15 คน โดยนายกฤษณะ กลัดแดง นายอิศราพงษ์ แคนทอง นักวชิ าการเกษตร เปน็ ผู้บรรยายและพาเย่ียมชมสถานที่ ในวันท่ี 20 สิงหาคม 2559 คณะครู โรงเรียนบา้ นรางมะเดอื่ จ.นครปฐม นานักเรียน จานวน 150 คน เข้าเยยี่ มชมศึกษาแหลง่ เรยี นรนู้ อกสถานท่ี โดยนางเยาวมาลย์ นอ้ ยใหม่ และนายกฤษณะ กลัดแดง นักวชิ าการเกษตร เป็นผบู้ รรยายตอ้ นรบั และให้ความรู้ ในวนั ที่ 25 สิงหาคม 2559 คณะครูโรงเรียนบา้ นวงั ทองวัฒนา จ.ปทมุ ธานี นานกั เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 30 คน เขา้ เย่ยี มชมและเรยี นรูเ้ กย่ี วกับการปลูกบัว โดยนายกฤษณะ กลดั แดง และนางเยาวมาลย์ น้อยใหม่ นักวิชาการเกษตร เป็นผู้บรรยายให้ความรู้ ในวนั ที่ 14 กันยายน 2559

๒๐ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ โรงเรยี นนวมินทราชทู ศิ กรงุ เทพมหานคร นานกั เรยี นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้นอกสถานท่ี จานวน 411 คน คณะครู 30 คนโดยนายกฤษณะ กลดั แดง นางเยาวมาลย์ นอ้ ยใหม่ และนายอศิ ราพงษ์ แคนทอง นักวชิ าการเกษตร เปน็ ผ้บู รรยายใหค้ วามรู้ ใน วันที่ 20 กันยายน 2559 คณะครูโรงเรยี นเทพสุวรรณชาญวทิ ยา จ.สมุทรสงคราม นานกั เรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จานวน 150 คน เขา้ เยยี่ มชมและเรียนรเู้ กย่ี วกบั บวั ด้านต่างๆ โดยนายกฤษณะ กลดั แดง นางเยาวมาลย์ น้อยใหม่ และนายอิศราพงษ์ แคนทอง นักวชิ าการเกษตร เปน็ ผบู้ รรยายใหค้ วามรู้ ในวันที่ 26 กันยายน 2559

กิจกรรมสือ่ รายการโทรทศั น์และสื่อส่งิ พมิ พ์

๒๒ รายการเท่ยี งรายวนั ช่วง Life Style ช่อง ONE ถา่ ยทารายการและสัมภาษณ์ ผศ.ภรู ินทร์ อคั รกุลธร และดร.ไฉน นอ้ งแสง เกย่ี วกับพิพิธภัณฑบ์ วั และผลิตภัณฑเ์ วชสาอางจากบัว ในวันท่ี 16 กมุ ภาพันธ์ 2559 ณ พพิ ธิ ภณั ฑ์บัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีออกอากาศวันจันทร์ท่ี 22 กมุ ภาพันธ์ 2559 เวลา 11.30 - 13.30 น. ทางช่อง one 31 รายการสขุ สโมสร Good Morning Family ทกุ วันจนั ทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00 – 8.00 น. ช่อง 3 Family ช่อง 13ถ่ายทารายการและสมั ภาษณ์ ผศ.ภูรนิ ทร์ อคั รกลุ ธร เกี่ยวกบั การปลูกบวั และพิพธิ ภณั ฑ์บัวใน วันท่ี 15 มนี าคม พ.ศ. 2559ณ พิพิธภณั ฑ์บัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

๒๓ รายการขา่ วเช้า 5 นาฬกิ า ThaiPBS ถ่ายทารายการและสัมภาษณ์นายกฤษณะ กลัดแดง นักวิชาการเกษตร โดยคณุ พรวดี ลาทนาดี ผปู้ ระกาศข่าวเปน็ ผู้สมั ภาษณ์ในวันที่ 17 มนี าคม 2559 ณ พิพิธภัณฑ์บัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี สือ่ มวลชนรายการ ThaiPBS Kids Club สารวจสถานท่ีเพอื่ การถ่ายทารายการเนื่องในวันวิสาขบูชา โดยมนี ายกฤษณะ กลัดแดง นักวชิ าการเกษตร เป็นผบู้ รรยายและพาชมสถานท่ีในวนั ท่ี 8 เมษายน 2559 ณ พิพิธภณั ฑบ์ ัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สื่อมวลชนรายการ ThaiPBS Kids Club ถา่ ยทารายการเน่อื งในวนั วิสาขบูชา โดยมนี ายกฤษณะ กลัดแดง นักวชิ าการเกษตรเป็นผ้บู รรยายและให้สัมภาษณ์ในวนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2559 ณ พพิ ธิ ภัณฑ์บวั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

๒๔ ถา่ ยรายการเชฟบคุ๊ VSก๊กุ อารต์ เทปพเิ ศษ ปทุมธานีออกอากาศทางชอ่ ง GMM25 วนั เสารท์ ่ี 30 ก.ค. 59 และวันเสารท์ ่ี 6 ส.ค. 59 เวลา 10.00 น. เป็นตน้ ไป ประกอบด้วย ความรเู้ ก่ยี วกบั พิพธิ ภณั ฑ์บัว อาหารจากบัว สปาบวั และการดานา รร.สาธติ นวัตกรรม บรรยายเกย่ี วกบั พิพธิ ภณั ฑบ์ ัว ความรู้เก่ียวกบั บวั ในเร่อื งต่างๆ การปลกู บวั ดูแลรักษา และการนาบัวไปใช้ประโยชน์ต่างๆ โดยนายกฤษณะ กลดั แดง (นักวชิ าการเกษตร) ถา่ ยทารายการ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2559 ณ พิพิธภัณฑ์บัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี @lotus.rmutt @rmutt.klong6 @bookartkitchen ทมี งานรายการ “เรอื่ งเล่า...จากชุมชน” ช่อง NBT (ชอ่ ง 11) ออกอากาศทุกวันเสาร์ 16:30 - 16:55 น. ถ่ายทารายการและสัมภาษณ์ความรู้เก่ยี วกับพิพธิ ภณั ฑบ์ ัว และประโยชน์จากบวั โดยนายกฤษณะ กลัดแดง และนางเยาวมาลย์ น้อยใหม่ นกั วชิ าการเกษตร เปน็ ผบู้ รรยายสรุป ในวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2559 ณ พพิ ธิ ภณั ฑบ์ วั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

๒๕รายงานวิจยั ท่ีได้รบั สนับสนนุ เงนิ งบประมาณ ปี ๒๕๕๙

๒๖ แบบรายงานความกา้ วหนา้ ของโครงการวจิ ัย1. ชื่อโครงการวิจัย นวัตกรรมการยืดอายุใบบัวหลวงหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปเป็น(ภาษาไทย) ผลิตภณั ฑช์ าพรอ้ มดืม่(ภาษาอังกฤษ) Innovative extend lotus leave after harvesting and processing products of ready to drink tea2. ประเภทของโครงการวจิ ัย  ผลผลติ ผลงานวิจัยเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้  ผลผลิต ผลงานวจิ ยั เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี3. รายชอ่ื ผู้วจิ ัย 3.1 หัวหน้าโครงการวจิ ัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อนิ ทิรา ลิจันทร์พร4. ได้รับจัดสรรงบประมาณ  เงินแผ่นดนิ เงินรายได้ ประจาปี 2559 เป็นเงนิ จานวน 500,000 บาท (หา้ แสนบาทถ้วน)5. เร่ิมทาการวิจัยเมื่อ 1 ตุลาคม 2558 ถงึ 30 กนั ยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี6. รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความก้าวหนา้ ของการวจิ ัย 6.1 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 1. เพอ่ื สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. 2. เพอื่ ศึกษาและวิจยั เทคโนโลยีหลงั การเก็บเก่ียวในกระบวนการผลิตใบบวั หลวง และ การแปรรูป 3. เพอื่ ศึกษาและวจิ ัยดา้ นการควบคมุ การปนเป้อื นของเช้ือจุลนิ ทรีย์ในการผลติ ใบบัว หลวง 4. เพอ่ื ศึกษาวธิ กี ารเก็บรกั ษา และยดื อายุการวางจาหนา่ ยและอายุการเก็บรกั ษาเพ่ือ ตลาดที่อยู่หา่ งไกลของใบบวั หลวง 5. เพื่อรวบรวมความรู้และการพัฒนาการวิจัยเทคโนโลยหี ลงั การเก็บเกย่ี ว สร้างเปน็ นวตั กรรมการผลิตใบบวั หลวง6.2 การดาเนนิ งานวิจยั ตามท่เี สนอไว้ในโครงการวจิ ัยกับงานวิจัยท่ไี ดด้ าเนินการไปแลว้ลาดบั ท่ี แผน การดาเนนิ การจริง1 เตรียมแผนงานการทดลองท่ี 1 2 และ 3 ดาเนินการแลว้2 เตรียมอุปกรณ์และสารเคมี ดาเนนิ การแล้ว3 ทาการทดลองท่ี 1 2 และ 3 ดาเนนิ การแลว้4 วิเคราะห์ผลการทดลองที่ 1 2 และ 3 กาลงั ดาเนนิ การ5 วเิ คราะห์ผลทางสถติ กิ ารทดลองท่ี1 2 และ 3 กาลงั ดาเนินการ6 เขียนรายงานและสรปุ ผลการทดลองท่ี 1 2 และ 3 กาลงั ดาเนินการ

๒๗ 6.3 ผลของการดาเนินการวจิ ัยท่ีได้ดาเนนิ การไปแล้ว (แนบตารางภาพ แผนภมู ิ หรอื บทความ ตลอดจนการเผยแพรผ่ ลการวิจัยที่ได้ดาเนินการ) 6.4 งบประมาณที่ไดจ้ ่ายไปแล้ว แยกตามหมวดรายจา่ ย (สารวจถงึ 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2559) 1. งบประมาณรวมโครงการ 500,000 บาท 2. งบประมาณที่ใช้ไป 248,691.28 บาท 2.1 งบบุคลากร 50,000 บาท ค่าตอบแทนนักวจิ ัย - บาท ค่าตอบแทนผ้ชู ว่ ยวจิ ยั 50,000 บาท 2.2 งบดาเนินการ 182,191.28 บาท ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง - บาท คา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรม - บาท คา่ จ้างพิมพ์เอกสาร - บาท คา่ ไปรษณยี ์ โทรเลข ค่าโทรศัพท์ - บาท คา่ วสั ดุอุปกรณ์ 182,191.28 บาท 2.3 งบลงทุน (ถา้ ม)ี - บาท คา่ ใช้จา่ ยในการซอื้ ครุภณั ฑ์/ส่ิงกอ่ สรา้ ง - บาท 2.4 ค่าสาธารณปู โภค 16,500 บาท จ่ายให้แกห่ น่วยงานในอตั รา 5% 16,500 บาท 3. งบประมาณทเ่ี หลือ 251,308.72 บาท 6.5 งานทีจ่ ะดาเนินการต่อไป และกาหนดเวลาดาเนินการกาหนดการ ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ. ม.ี ค เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค ส.ค ก.ย.ทาการทดลองท่ี 4วิเคราะห์ผลการทดลองที่ 1 23 และ 4วเิ คราะห์ผลทางสถิตกิ ารทดลองท1ี่ 2 3 และ 4เขียนรายงานและสรปุ ผลการทดลองท่ี 1 2 3 และ 4 6.6 คาชีแ้ จงเพิม่ เติม ไม่มี

๒๘ แบบรายงานความกา้ วหนา้ ของโครงการวิจัย1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) ผลของกระบวนการผลิตตอ่ คุณภาพของชาจากกลบี ดอกบวั ฉลองขวญั(Nymphaea ‘Chalong kwan’) (ภาษาองั กฤษ) Effect of process methods on qualities of tea from waterlily (Nymphaea ‘Chalong kwan’)2. ประเภทโครงการวิจัย ผลผลิต ผลงานวิจัยเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ ผลผลิต ผลงานวจิ ัยเพือ่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี3. รายชือ่ ผูว้ จิ ัย 3.1 หัวหนา้ โครงการวจิ ัยดร.นันทช์ นก นันทะไชย 3.2 ผูร้ ว่ มโครงการวจิ ัย ผศ.ดร.อินทิรา ลิจันทรพ์ ร ผศ.ดร.ปาลดิ า ตั้งอนุรัตน์ ผศ.อญั ชลินทร์ สิงหค์ า ผศ.ภูรินทร์ อัครกลุ ธร4. ได้รบั จดั สรรงบประมาณ  เงินแผน่ ดิน  เงินรายได้ ประจาปี 2559 เปน็ เงินจานวน 450,000 บาท (ส่ีแสนห้าหมื่นบาทถว้ น)5. เริ่มทาการวิจัยเม่ือ 1 ตลุ าคม 2558 ถึง 30 กนั ยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี6. รายละเอียดเก่ยี วกบั ผลงานความกา้ วหน้าของการวิจัย 6.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพอื่ สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. 2. เพื่อศึกษาปรมิ าณสารแอนโทไซยานิน สารฟีนอลท้ังหมด และความสามารถในการต้านอนมุ ูลอสิ ระของกลบี ดอกบัวฉลองขวัญ 3. เพ่ือศึกษาระยะเวลาการค่ัว การนวด และการหมักกลีบดอกบัวที่เหมาะสมสาหรับการแปรรูปเปน็ ชากลบี บวั 4. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้บรโิ ภคท่ีมีต่อผลติ ภัณฑ์ชาจากกลีบดอกบวั ฉลองขวญั 6.2 การดาเนินงานวิจยั ตามที่เสนอไว้ในโครงการวจิ ัยกบั งานวิจยั ที่ไดท้ าเนินการไปแล้วลาดบั ท่ี แผน การดาเนนิ การจริง1 เตรียมแผนงานการทดลองท่ี 1 และ 2 ดาเนนิ การแลว้3 ทาการทดลองท่ี 1 ดาเนินการแล้ว4 ทาการทดลองท่ี 2 กาลังดาเนินการ5 วเิ คราะห์ผลการทดลองท่ี 1 และ 2 กาลงั ดาเนินการ6 เขียนรายงานและสรปุ ผลการทดลองที่ 1 และ 2 กาลงั ดาเนินการ

๒๙ 6.3 ผลของการดาเนินการวิจยั ทไี่ ด้ดาเนนิ การไปแล้ว (แนบตารางภาพ แผนภูมิ หรือบทความ ตลอดจนการเผยแพร่ผลการวิจัยที่ไดด้ าเนินการ) 6.4 งบประมาณท่ีได้จา่ ยไปแล้ว แยกตามหมวดรายจ่าย (สารวจถงึ 27 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2559) 1. งบประมาณรวมโครงการ 450,000 บาท 2. งบประมาณทใี่ ช้ไป 191,802.68 บาท 2.1 งบบุคลากร 54,840 บาท ค่าตอบแทนนกั วิจยั ....-..... บาท ค่าตอบแทนผ้ชู ่วยวจิ ยั 54,840 บาท 2.2 งบดาเนนิ การ 122,162.68 บาท ค่าจัดทาเล่มรายงาน ....-..... บาท ค่าวัสดใุ นการวจิ ัย 122,162.68 บาท 2.3 งบลงทุน ....-..... บาท ค่าใช้จา่ ยในการซ้อื ครุภณั ฑ์/สิ่งก่อสรา้ ง ....-..... บาท 2.4 ค่าสาธารณูปโภค 14,800 บาท จา่ ยใหแ้ กห่ น่วยงานในอัตรา 5% 14,800 บาท 3. งบประมาณทเ่ี หลอื 258,197.32 บาท 6.5 งานท่จี ะดาเนนิ การต่อไป และกาหนดเวลาดาเนินการงาน/ข้นั ตอนการวจิ ัย เดอื น/พ.ศ. ต.ค.- ม.ค.- เม.ย.- ก.ค.- ต.ค.- ม.ค.- เม.ย.- ก.ค.- ธ.ค. มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค. ม.ี ค. ม.ิ ย. ก.ย.ทาการทดลองท่ี 2 วเิ คราะหผ์ ลการทดลองและ ผลทางสถติ ิเขยี นเลม่ รายงานฉบับสมบรู ณ์  6.6 คาชี้แจงเพ่มิ เตมิ โครงการวิจัยน้ีได้ดาเนินการทดลองที่ 1 การศึกษาระยะเวลาการค่ัว การนวด และการหมักกลบี ดอกบวั ท่ีเหมาะสมสาหรับการแปรรูปเปน็ ชากลีบบวั เรยี บรอ้ ยแล้ว คงเหลือการทดลองที่ 2การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ชาจากกลีบดอกบัวฉลองขวัญ การวิเคราะห์ผลการทดลอง เขียนรายงานและสรุปผล ทาให้โครงการดังกล่าวไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามปงี บประมาณเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2559 จึงขออนุมตั ขิ ยายเวลาดาเนนิ การออกไปอีก 1 ปี

๓๐แบบรายงานความกา้ วหน้าของโครงการวจิ ัย 1. ชือ่ โครงการวิจัย (ภาษาไทย) โอลิโกแซคคาไรด์ของบัวหลวงและคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกเพื่อ พฒั นาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสขุ ภาพ (ภาษาอังกฤษ) Oligosaccharides of lotus and their prebiotic properties fordevelopment of functional food products2. ประเภทโครงการวจิ ัย ผลผลติ ผลงานวิจยั เพอ่ื สรา้ งองค์ความรู้ ผลผลติ ผลงานวิจยั เพอื่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี3. รายชื่อผวู้ ิจัย ตง้ั อนรุ ตั น์ 3.1 หวั หนา้ โครงการวิจยั ดร. ปาลดิ า 3.2 ผ้รู ว่ มโครงการวิจัย4. ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณ  เงนิ แผน่ ดิน  เงินรายได้ ประจาปี 2559 เปน็ เงินจานวน 400,000 บาท (ส่ีบาทถว้ น)5. เร่ิมทาการวิจัยเม่ือ 1 ตลุ าคม 2558 ถงึ 30 กนั ยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี6. รายละเอียดเก่ยี วกับผลงานความก้าวหน้าของการวจิ ัย 6.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพอื่ สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. 2. เพ่อื ศึกษาสภาวะทเ่ี หมาะสมของกระบวนการสกัดพรีไบโอติกส์จากสว่ นต่างๆ ของ บวั หลวง 3. เพือ่ ศึกษาคณุ สมบัตขิ องพรีไบโอติกส์ทส่ี กดั ได้จากบัวหลวง 4. เพื่อศึกษากรรมวิธีการผลติ โยเกิรต์ นมถ่ัวเหลืองเสรมิ พรไี บโอติกสจ์ ากบวั หลวงท่ี สกดั ได้

๓๑6.2 การดาเนินงานวิจยั ตามที่เสนอไวใ้ นโครงการวิจยั กับงานวจิ ยั ที่ได้ทาเนินการไปแลว้1. ผลของชนิดตัวทาละลายและอัตราส่วนของตัวทาละลายที่มีผลต่อปริมาณการสกัดพรีไบโอติกส์จากเหงา้ บวั และเมล็ดบวัตารางที่ 3 ผลของชนดิ ตัวทาละลายและอัตราส่วนของตวั ทาละลายท่ีมผี ลต่อปรมิ าณการสกัดพรไี บโอติกส์จากเหง้าบวัตวั ทาละลาย อัตราส่วน % Yield 11.00a นา้ กลัน่ 1:8 6.75bเอทานอล 95 % 1:15 1.66c 1:8 0.87c 1:15หมายเหตุ a-c หมายถงึ อักษรกากบั ที่แสดงค่าความแตกตา่ งกันทางสถิติ (P ≤ 0.05)ตารางที่ 4 ผลของชนิดตวั ทาละลายและอตั ราสว่ นของตัวทาละลายทม่ี ีผลต่อปรมิ าณการสกดัพรีไบโอติกส์จากเมล็ดบวัตวั ทาละลาย อตั ราส่วน % Yield 11.29a นา้ กลนั่ 1:8 6.67bเอทานอล 95 % 1:15 1.97c 1:8 0.84d 1:15หมายเหตุ a-d หมายถึง อกั ษรกากับท่ีแสดงค่าความแตกตา่ งกันทางสถติ ิ (P ≤ 0.05)

๓๒2. ผลของอณุ หภมู ิและเวลาที่มผี ลต่อปริมาณการสกัดพรีไบโอติกส์ตารางท่ี 5 ผลของอุณหภูมิและเวลาต่อปรมิ าณสารสกดั ที่ได้ และปริมาณนา้ ตาลในการสกัดพรีไบโอ ติกส์จากเหงา้ บวัอุณหภมู ิ เวลา % Yield Total sugars Reducing Non-reducing (C) (นาที) (mg/g) sugars (mg/g) sugars (mg/g)30 60 10.19ab 257.90ef 1.68cd 256.22ef 196.37f 120 10.16ab 197.90f 1.53de 376.44bc 191.63f 180 10.48ab 377.90bc 1.46de 434.18b 511.12a50 60 10.00ab 192.90f 1.27f 431.45b 276.02de 120 10.11ab 437.90b 3.72a 335.93cd 180 10.73a 547.90a 3.78a60 60 10.08ab 432.90b 1.45de 120 9.58b 277.90de 1.88bc 180 10.43ab 337.90cd 1.97bหมายเหตุ a-f หมายถึง อักษรกากับท่ีแสดงความแตกต่างกันทางสถติ ิ (P ≤ 0.05)

๓๓ตารางที่ 6 ผลของอุณหภมู แิ ละเวลาต่อปริมาณสารสกัดท่ีได้ และปริมาณนา้ ตาลในการสกัด พรไี บโอ ตกิ สจ์ ากเมล็ดบวัอณุ หภมู ิ เวลา % Yield Total sugars Reducing Non-reducing(C) (นาที) (mg/g) sugars (mg/g) sugars (mg/g)30 60 10.55d 397.90e 2.40abc 395.50e 435.99de 120 11.07cd 437.90de 1.91d 479.30cd 425.75de 180 10.84d 481.90cd 1.93d 600.63ab 440.35de50 60 11.73bc 427.90de 2.15bcd 535.85bc 570.64ab 120 12.01b 602.90ab 2.27bcd 610.17a 180 11.75bc 442.90de 2.55ab60 60 12.18ab 537.90bc 2.05cd 120 12.12ab 572.90ab 2.26bcd 180 12.83a 612.90a 2.73aหมายเหตุ a-f หมายถึง อักษรกากับท่ีแสดงความแตกต่างกันทางสถิติ(P ≤ 0.05)3. ผลการทดสอบความสามารถในการสง่ เสริมการเจริญของแบคทเี รยี กรดแลคติก

๓๔แบบรายงานความก้าวหนา้ ของโครงการวิจัย1. ช่อื โครงการวจิ ัย (ภาษาไทย) การศึกษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อการรักษาแผลในสุนัข-แมวท่ีทาจากสมุนไพรไทยและผลติ ภัณฑ์ (ภาษาองั กฤษ) The Study of Wound Treatment Prototype-Product (in dog-cats) Madefrom Thai MedicinaI Herbs and By-Product2. ประเภทโครงการวจิ ัย  ผลผลติ ผลงานวจิ ยั เพ่อื สร้างองค์ความรู้  ผลผลติ ผลงานวจิ ยั เพือ่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี3. รายชอื่ ผู้วจิ ัย 3.1 หัวหนา้ โครงการวิจัย สพ.ญ.ดร.ปภาภัสสร์ ศรีมหาคุณวงศ์ 3.2 ผู้ร่วมโครงการวิจัย ดร.ไฉน นอ้ ยแสง4. ได้รับจัดสรรงบประมาณ  เงินแผ่นดิน  เงนิ รายได้ ประจาปี 2559 เปน็ เงนิ จานวน 293,000 บาท (สองแสนเกา้ หมืน่ สามพันบาทถ้วน)5. เริ่มทาการวจิ ัยเมือ่ 1 ตลุ าคม 2558 ถงึ 30 กนั ยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี6. รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความกา้ วหนา้ ของการวิจัย6.1 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ1. เพือ่ สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ.2. เพื่อศึกษาการออกฤทธ์ขิ องสารสกัดสมนุ ไพรต่อเชอ้ื โรคท่พี บบ่อยในบาดแผล3. เพอื่ ศึกษาการทาผลติ ภัณฑ์ใหม่จากสารสกดั สมุนไพรท่ีทดสอบได้จากข้อ 2)6.2 การดาเนนิ งานวิจยั ตามทเี่ สนอไว้ในโครงการวจิ ัยกับงานวจิ ัยทไ่ี ดท้ าเนนิ การไปแล้ว (ดังตาราง)ลาดับที่ แผน การดาเนินการจริง1 นาสมุนไพรมาสกัดสารออกฤทธิ์โดยใช้คุณสมบัติของ นาสมุนไพรมาสกัดสารออกฤทธิ์โดยใช้เฉพาะของตัวทาละลาย 4 ชนิด (น้า , hexane , ethyl คณุ สมบัตขิ องเฉพาะของตวั ทาละลาย 4 ชนดิacetate , methanol ) (น้า ,hexane ,ethyl acetate , methanol )2 นาสารสกดั สมุนไพรที่ได้มาทดสอบการออกฤทธ์ติ ่อ อยใู่ นขน้ั ส่ังซ้ือ เชื้อจลุ ชพี ในห้องปฏิบัติ 33 นาสารสกัดสมุนไพรที่มีผลต้านเชื้อจุลินทรีย์มา รอผลการทดลอง ประกอบเป็นสูตรในสัดส่วนต่าง ๆ และทดสอบการ ต้านเช้อื จลุ ชพี ในห้องปฏบิ ตั ิการ

๓๕ 6.3 ผลของการดาเนินการวิจยั ท่ีไดด้ าเนนิ การไปแลว้ ก.พ. 59 ม.ี ค.59 เม.ย. 59แผนการทดลอง1.ศกึ ษาและทาความเข้าใจโครงการวจิ ยั2. จัดหาสมนุ ไพรและศึกษาวิธวี ิจยั : ปรกึ ษาหัวหน้าโครงการและผ้รู ่วมโครงการเกยี่ วกบั วธิ กี ารทดลอง3. สารสกัดสมุนไพรโดยวิธกี ารต้มด้วยน้ากลั่น4. สารสกัดสมุนไพรโดยวธิ กี ารหมกั ดว้ ยตวั ทาละลายอนิ ทรีย์ 3ชนดิ (hexane , ethyl , acetate , methanol ) 6.4 งบประมาณท่ไี ดจ้ า่ ยไปแล้ว แยกตามหมวดรายจา่ ย (สารวจถงึ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559) 1. งบประมาณรวมโครงการ 293,000 บาท เงินอดุ หนนุ เพ่อื การวจิ ยั งวดท่ี 1 146,500 บาท 2. งบประมาณทีใ่ ชไ้ ป 98,947.10 บาท 2.1 งบบคุ ลากร 36,000 บาท ค่าตอบแทนนกั วิจัย ....-..... บาท คา่ ตอบแทนผชู้ ว่ ยวิจยั 36,000 บาท 2.2 งบดาเนินการ 56,917.10 บาท ค่าสมุนไพร 3,736 บาท ค่าวัสดุสารเคมีและเคร่ืองแกว้ ในการทดสอบ 53,211,10 บาท 2.3 งบลงทนุ ....-..... บาท 2.4 คา่ สาธารณปู โภค 6,000 บาท จา่ ยใหแ้ กห่ นว่ ยงานในอตั รา 5% 6,000 บาท 3. งบประมาณท่ีเหลือ 194,052.90 บาท 6.5 งานท่จี ะดาเนนิ งานต่อไป และกาหนดเวลาดาเนินการงาน/ขน้ั ตอนการวิจัย เดอื น/พ.ศ.2559 เดือน/พ.ศ.2560 พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย.1.สกัดสารสมุนไพรโดยวธิ กี ารหมัก(ดาเนนิ การการต่อ)2.สกดั สารสมุนไพรโดย Soxhletapparatus3.การพสิ จู นเ์ อกลกั ษณข์ องพืชสมุนไพรด้วย Thin LayerChromatography4.ทดสอบการตา้ นเชือ้ แบคทีเรียดว้ ยDisk diffusion method5.ทดสอบความเขม้ ขน้ ตา่ สุดที่สามารถต้านเชื้อแบคทีเรยี ไดด้ ้วยMIC/MBC

๓๖6.ประกอบสตู รสมุนไพรและทดสอบการต้านเช้อื แบคทเี รีย 6.6 คาชีแ้ จงเพ่มิ เตมิ เนื่องจากโครงการวิจัยนี้ดาเนินการล่าช้า เพราะต้องรองบวิจัยที่มาช้ากว่ากาหนด 9 เดือน จึงขอให้ ผชู้ ่วยวิจัยเรง่ ดาเนนิ การทาวจิ ัยทุกวนั โดยสว่ นของสมุนไพรทส่ี ามารถเตรียมสกัดได้ในเบื้องต้นให้ดาเนินการใช้ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์ ซึ่งสามารถดาเนินการได้ทุกวัน โดยให้ทาบันทึกขอ อนุญาตใช้เครื่องมือและห้องปฏิบัติการของสาขา ทั้งในและนอกเวลาราชการ หลังจากนั้นเม่ือได้เตรียม สมุนไพรแล้วเสร็จ จึงค่อยไปดาเนินการต่อท่ีห้องปฏิบัติการของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย อนึ่งระหว่าง ดาเนินการ ใหบ้ ันทึกข้อมลู และเก็บภาพทกุ ขั้นตอน เพอื่ นาไปใช้รายงานผลการดาเนนิ งานวจิ ัย

๓๗ แบบรายงานความกา้ วหน้าของโครงการวจิ ัย1. ช่อื โครงการวจิ ัย(ภาษาไทย) การพัฒนาการใชป้ ระโยชน์จากภมู ิปญั ญาการแพทย์พน้ื บ้านไทย กรณีศกึ ษา ตาบลบ่อเงินอาเภอลาดหลุมแกว้ จังหวดั ปทุมธานี(ภาษาอังกฤษ) The development in use of the Thai folk medical, case study in Tumbon BoKaeo, Lardlumkaeow, Pathumthani2. ประเภทโครงการวิจยั ผลผลิต ผลงานวจิ ัยเพือ่ สรา้ งองค์ความรู้ ผลผลิต ผลงานวิจยั เพอ่ื ถา่ ยทอดเทคโนโลยี3. รายชื่อผู้วจิ ัย3.1 หวั หนา้ โครงการวจิ ัยนางสาวกญั ญธ์ ศยา อัครศริ ิฐรตั นา4. ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณ  เงินแผ่นดิน  เงินรายได้ ประจาปี 2559เปน็ เงนิ จานวน 160,000 บาท (หนึง่ แสนหกหม่นื บาทถว้ น)5. เรม่ิ ทาการวิจัยเม่ือ 1 ตลุ าคม 2557 ถงึ 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี6. รายละเอียดเก่ยี วกับผลงานความกา้ วหนา้ ของการวจิ ัย6.1 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ1) เพ่อื ศึกษาและเก็บรวบรวมองคค์ วามร้ภู มู ิปัญญาการแพทย์พืน้ บ้าน2) เพื่อพฒั นาองค์ความรู้และต่อยอดภูมปิ ัญญาการแพทย์พืน้ บ้านใหเ้ กดิ ประโยชน์เชงิพาณชิ ยแ์ ละสาธารณะ3) เพือ่ จดั กจิ กรรมถา่ ยทอดเทคโนโลยีองคค์ วามรูภ้ ูมิปญั ญาการแพทยพ์ ืน้ บา้ นสูช่ ุมชน6.2 การดาเนินงานวจิ ัยตามทเี่ สนอไวใ้ นโครงการวจิ ยั กบั งานวิจยั ที่ไดด้ าเนินการไปแลว้ (ดงั ตาราง)ลาดับท่ี แผน การดาเนนิ การจริง1 ทบทวนวรรณกรรม ดาเนนิ การแลว้2 ติดต่อประสานงานกบั หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องใน ดาเนนิ การแลว้พน้ื ที่3 สารวจพ้ืนที่เก็บข้อมลู ดาเนินการแล้ว4 สรา้ งแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ กาลังดาเนินการ5 ตรวจสอบแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์และ กาลังดาเนินการแก้ไข6 เกบ็ ข้อมูลคร้ังที่ 1 กาลังดาเนนิ การ7 เก็บข้อมลู ครง้ั ท่ี 2 กาลงั ดาเนินการ8 เก็บข้อมลู คร้งั ที่ 3 กาลังดาเนินการ9 เก็บข้อมลู คร้งั ท่ี 4 กาลังดาเนินการ10 เกบ็ ข้อมลู ครั้งท่ี 5 กาลังดาเนินการ11 รวบรวมข้อมลู กาลงั ดาเนินการ12 วิเคราะหข์ ้อมลู กาลงั ดาเนินการ

๓๘13 สรุปโครงการ ยังไม่ไดด้ าเนนิ การ14 ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้สู่ชุมชน ยังไม่ได้ดาเนนิ การ6.3 ผลของการดาเนินการวจิ ัยที่ไดด้ าเนินการไปแลว้ (แนบตารางภาพ แผนภูมิ หรอื บทความ ตลอดจนการเผยแพรผ่ ลการวิจยั ทไี่ ดด้ าเนนิ การ) -6.4 งบประมาณที่ได้จา่ ยไปแลว้ แยกตามหมวดรายจ่าย (สารวจถงึ วันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2559)1. งบประมาณรวมโครงการ ..160,000...บาท2. งบประมาณที่ใชไ้ ป ……………….-บาท2.1 งบบคุ ลากร ………….......-บาท ค่าตอบแทนนักวจิ ัย ...................-บาท คา่ ตอบแทนผู้ช่วยวิจยั ...................-บาท2.2 งบดาเนินการ ...................-บาทคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง ..5,000.........บาทค่าใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม ...................-บาทคา่ จ้างพิมพเ์ อกสาร ...................-บาทค่าไปรษณยี ์ โทรเลข ค่าโทรศัพท์ ...................-บาทค่าวัสดอุ ปุ กรณ์ ..................-บาท2.3 งบลงทุน (ถา้ ม)ี ..................-บาทคา่ ใช้จา่ ยในการซื้อครุภัณฑ์/ส่ิงก่อสร้าง ..................-บาท2.4 ค่าสาธารณปู โภค ……………...-บาทจา่ ยใหแ้ กห่ นว่ ยงานในอตั รา 5% ..................-บาท3. งบประมาณทเ่ี หลือ .155,000...บาท6.5 งานที่จะดาเนนิ การตอ่ ไป และกาหนดเวลาดาเนนิ การ (เดอื นตลุ าคม 2559 ถงึ กันยายน พ.ศ. 2560) แผนการดาเนนิ งาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.สร้างแบบสอบถามและแบบสมั ภาษณ์ตรวจสอบแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์และแก้ไขเกบ็ ขอ้ มูลครั้งท่ี 1เกบ็ ขอ้ มูล คร้ังท่ี 2เกบ็ ขอ้ มลู คร้ังที่ 3เก็บข้อมูลคร้ังท่ี 4เกบ็ ข้อมลู ครง้ั ที่ 5รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลสรุปโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน6.6 คาชีแ้ จงเพ่มิ เติม เนื่องจากมีความล่าช้าของการได้รับเงินงบประมาณโครงการวิจัย ทาให้ต้องขยายเวลาในการทาวิจัยออกไปไม่เป็นไปตามแผนงานเดิม จงึ ได้มีการปรับแผนการดาเนนิ งานใหม่

๓๙แบบรายงานความกา้ วหน้า1. รายละเอียดเก่ียวกับโครงการวิจัยที่ 1ช่ือเร่อื ง (ภาษาไทย) การพัฒนาผลิตภัณฑธ์ รรมชาตจิ ากสารสกดั บวั สายพันธบ์ุ ัวผนั (ภาษาอังกฤษ) Development of natural products from lotus (Nymphaeaceae) extractsช่ือผวู้ จิ ัย.................ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กรวนิ ทว์ ิชญ์ บญุ พสิ ทุ ธนิ นั ท์............................................................ หนว่ ยงานที่สังกัด ......วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย............................................................ หมายเลขโทรศัพท์ ....02-592-1999.... โทรสาร .......02-592-1900..... e-mail korawinwich_b@rmutt. ac.th ไดร้ บั อนุมัติงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ....2561........... งบประมาณท่ีไดร้ บั .............1,000,000........................ บาท ระยะเวลาทาการวจิ ยั ..........1.......... ปี เร่ิมทาการวจิ ยั เมื่อ (เดือน ปี) .............ตุลาคม 2559........... ถึง (เดือน ปี) ..............กนั ยายน 2560......2. รายละเอยี ดเก่ียวกับผลงานความก้าวหนา้ ของการวจิ ัย 2.1 วัตถปุ ระสงค์ของแผนงานวจิ ัย / โครงการวิจยั - เพ่อื สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. - เพื่อทราบฤทธิท์ างชีวภาพของสารสกัดทไ่ี ด้จากสว่ นตา่ งๆ ของบัวสายพันธุ์บัวผนั - เพื่อพฒั นาผลิตภัณฑธ์ รรมชาตจิ ากสารสกัดบัวสายพันธ์ุบัวผนั 2.2 แสดงตารางเปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงานวิจัยที่ได้เสนอไว้กับงานวิจัยท่ีได้ ดาเนนิ การจริง ในรปู ของแผนการดาเนนิ งานตลอดแผนงานวิจัย / โครงการวจิ ัย วา่ มกี จิ กรรม / ข้ันตอน ปฏบิ ัตติ ามลาดบั อย่างไร แผนการดาเนินงานวจิ ยั ระยะเวลา งานวิจยั ท่ีไดด้ าเนนิ การจริง ระยะเวลา (เดือน) (เดอื น)1. ค้นควา้ และศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 1.5 ไดท้ าการค้นคว้าและศึกษาเอกสารและ 1.52. คดั เลอื กพชื /ตารบั ยาสมนุ ไพร และการสกัดและการทดสอบสารพฤกษเคมีเบอื้ งตน้ งานวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ งเพมิ่ เติม3. การศกึ ษาฤทธ์ิทางชีวภาพ 3 - ไดท้ าการตดิ ตอ่ ชาวบา้ นผปู้ ลกู บวั ผันท้ัง 34. การศกึ ษาความเปน็ พษิ ในเซลลเ์ พาะเล้ยี ง สามสายพันธ์ุ - การสกดั ตารับยาดว้ ยวิธีการต้ม/หมกั ด้วย เอทานอล - การทดสอบสารพฤกษเคมีท่เี ป็น องค์ประกอบในสารสกัดบวั ตา่ งๆ 5 -ฤทธติ์ า้ นออกซเิ ดชัน เชน่ free radical 5 scavenging activity, lipidperoxidation และ metal chelating activity 2 -ทดสอบความเป็นพิษกับเซลล์ผิวหนัง 2 -ทดสอบการกระตุ้นเมลานนิ กบั เซลล์

๔๐แผนการดาเนนิ งานวจิ ยั ระยะเวลา งานวจิ ยั ทไ่ี ด้ดาเนนิ การจรงิ ระยะเวลา (เดือน) (เดอื น) เพาะเลยี้ ง5. การพัฒนาเปน็ สุขภาพผลติ ภณั ฑ์เพือ่ สุขภาพ 3 -ผลิตภณั ฑ์ เช่น ,มาส์กหนา้ , สเปรยเ์ ส้นผม, 3 แซมพู และเซรั่ม 36. การทดสอบความคงตัวด้านเคม-ี กายภาพของ 3 -ทดสอบความคงดว้ ยการวัดความหนดื , -ผลติ ภณั ฑ์ การวดั pH และการคงตวั ตามอณุ หภมู ิ ท่ี 1 0, 4, 25 และ 45 °C 17. การทดสอบความพึงพอใจในอาสาสมัคร 2 -8. รายงานผลความก้าวหนา้ 2 - การรายงานความกา้ วหนา้ คร้ังที่ 19. ตีพมิ พผ์ ลงานวิจยั เผยแพร่ หรอื เสนอผลงาน 3 - การนาเสนอผลงานวิจัยในงานประชมุวชิ าการทัง้ ในและต่างประเทศ หรอื สทิ ธิบัตร/อนุ ASTC2016สทิ ธบิ ัตร/ถา่ ยทอดเทคโนโลยีหมายเหตุ ระยะเวลาท่ีดาเนินการวจิ ยั อย่ใู นชว่ งคาบเกยี่ วกัน 2.3 แสดงรายละเอียดของผลการดาเนินงาน พร้อมสรปุ และวเิ คราะหผ์ ลทไ่ี ด้ดาเนนิ การไปแล้ว - ได้ทาการค้นคว้าและศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ งเพิม่ เติมของบัวสายพนั ธุบ์ วั ผัน - จากการคดั เลือกบวั ผนั (Nymphaeaceae) จานวน 3 สายพนั ธุ์ ได้แก่ ฉลองขวญั ขาวมงคล และ ชมพูมะเหมย่ี ว มาทาการสกดั ดว้ ยวธิ กี ารหมักกับ 95% เอทานอล และวิธกี ารต้มในน้าเดือด จากทุกส่วนของบัวผันจานวนทงั้ หมด 15 ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ C1, C2, C3, C4, C5, K1, K2, K3, K4, K5, P1, P2, P3, P4 และ P5 ซง่ึ Cแทน บัวผนั พันธ์ุ ฉลองขวญั , K แทน บัวผันพันธุ์ ขาวมงคล และ P แทน บัวผันพันธุ์ ชมพูม่าเหม่ียว -ตรวจสอบสารพฤกษเคมีของสารสกดั ตารบั ยาสมุนไพร พบวา่ กลมุ่ ฟลาโวนอยด์เปน็ องค์ประกอบในสารสกัดตารบั ยาทกุ ตารับ -จากการศึกษาฤทธ์ิต้านออกซิเดชันของสารสกัดบัวผันพบว่า สารสกัดท้ังหมดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH (SC50) โดยสารสกัดเอทานอลจากใบและเหง้าของบัวสายพันธ์ุชมพูมะเหมี่ยว (P1 EtOH และP3 EtOH) สารสกัดเอทานอลจากเหง้าของบัวสายพันธุ์ฉลองขวัญ (C3 EtOH) สารสกัดน้าจากใบฉลองขวัญ(C1 Water) และ สารสกัดน้าจากใบและเหง้าของบัวสายพันธ์ุบัวชมพูมะเหมี่ยว (P1 Water และ P3 Water)ใหฤ้ ทธิด์ ีท่สี ดุ ซ่งึ มากกว่าวิตามินซีประมาณ 4 เท่า (p < 0.05) และยังมีฤทธิ์ยับยั้งการเกิดเปอร์ออกซิเดชันของไขมันด้วยวธิ ี Ferric-thiocyanate (LC50) โดยสารสกดั น้าจากเกสรชมพูมะเหมย่ี ว (P4 Water) มฤี ทธ์ิดีท่ีสุดซึ่งมากกวา่ วิตามนิ อีประมาณ 33 เทา่ (p < 0.05) จากการทดสอบฤทธิย์ บั ยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Modifieddopachrome (IC50) พบวา่ สารสกัดเอทานอลจากเหง้าขาวมงคล ฉลองขวัญ และชมพูมะเหม่ียว (K3E, C3Eและ P3E) มฤี ทธดิ์ ที ี่สดุ แตน่ อ้ ยกวา่ กรดโคจกิ ประมาณ 5 เท่า (p < 0.05) - จากการทดสอบความเป็นพิษในเซลล์เสน้ ผม (Follicle Dermal Papilla) ของสารสกัดบัวผันพบวา่สารสกัดไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์เส้นผม และยงั ทดสอบการกระต้นุ การเจรญิ เติบโตของเซลลเ์ ส้นผม พบวา่

๔๑สารสกดั ตม้ นา้ จากกา้ นใบของบัวสายพันธุช์ มพูมะเหมี่ยว (P5 Water) สามารถกระตุ้นการเจรญิ เติบโตของเซลล์เสน้ ผมได้ดที ี่สุด 24.94% เม่อื เทยี บกับกลุ่มควบคมุ 2.4 ระบุรายละเอยี ดท่ีได้แก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ประเมิน (ถา้ มี) .................-........................ 2.5 งบประมาณที่ไดใ้ ชจ้ า่ ยไปแลว้ นบั ตั้งแต่เรมิ่ ทาการวิจยั เป็นเงินทง้ั ส้นิ 500,000 บาท รายการ จานวนเงิน (บาท)1. งบบคุ ลากร จานวนที่ งวดที่ 1 จานวนทเี่ บกิ คงเหลอื งวด คงเหลอื ทั้ง 1) คา่ ตอบแทนนักวิจัย ได้รับอนุมตั ิ 2) ค่าจ้างผชู้ ว่ ยนักวิจัย (2 คน x 12 เดือน x 13,300 บาท) (50%) ใช้ แรก โครงการ 100,0002. งบดาเนนิ งาน 319,200 - - 0 100,000 1) คา่ ตอบแทน ใชส้ อย และวัสดุ 292,600 292,600 0 26,600 2) คา่ สาธารณูปโภค (5%) 550,800 30,000 177,400 205,612.6 1787.4 375,187.4 00 30,000 0รวมงบประมาณท่ีเสนอขอแต่ละปี 1,000,000 500,000 498,212.6 1787.4 501,787.4 2.6 งานตามแผนงานวจิ ยั / โครงการวจิ ัยทจี่ ะทาตอ่ ไป- การพฒั นาเปน็ สุขภาพผลติ ภณั ฑ์เพื่อสุขภาพ- การทดสอบความคงตัวด้านเคมี-กายภาพของผลติ ภณั ฑ์- การทดสอบความพึงพอใจในอาสาสมคั ร- รายงานผลความก้าวหนา้- ตพี มิ พผ์ ลงานวิจัยเผยแพร่ หรือเสนอผลงานวิชาการท้งั ในและตา่ งประเทศ หรือสิทธบิ ัตร/อนุ สทิ ธบิ ัตร/ถ่ายทอดเทคโนโลยี 2.7 คาชแ้ี จงเก่ียวกบั ปัญหา/อปุ สรรคและวิธกี ารแกไ้ ข (ถา้ มี) ............................-.........................................

๔๒ แบบรายงานความกา้ วหน้าแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย1. รายละเอียดเก่ียวกับแผนงานวิจัย/โครงการวิจยั ช่ือเรือ่ ง (ภาษาไทย) ภาษาไทย เทคโนโลยที างชีวภาพ “หวั เช้ืออัดเม็ด ราชมงคลธญั บุรี” เพ่ือการพฒั นาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ภาษาองั กฤษ) Rajamangala Thanyaburi Fungal pellets Biotechnology for Sufficiency Economy Philosophy Implementaion for Community Development ชอ่ื ผู้วจิ ยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สกุ าญจน์ รัตนเลศิ นุสรณ์ สาชาวชิ าชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โทร 02 5494177-9 โทรสาร 02-5493596 e-mail : [email protected]ได้รับอนมุ ัตงิ บประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 งบประมาณท่ีได้รบั 478,800 บาท ระยะเวลาทาการวิจัย 1 ปี เรม่ิ ทาการวจิ ยั เม่ือ ตุลาคม 2558 ถงึ กันยายน 25592. รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความกา้ วหนา้ ของการวิจยั 2.1 วัตถุประสงค์ของแผนงานวิจัย/โครงการวจิ ัย 1. เพอื่ สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. 2. เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพชนิดเช้ือราและการเก็บรักษาเช้ือรา บริเวณป่าชาย เลนหลังแนวก้นั คลนื่ ไม้ไผอ่ ายุ 7 ปี 3. เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการชักนาการเจริญเติบโตต้นไม้เบิกนา บริเวณป่าชายเลนหลังแนว ก้ันคลืน่ ไมไ้ ผ่อายุ 7 ปี ดว้ ยเทคนคิ ทางชีวภาพ 4. เพื่อตรวจติดตามทางชีวภาพ บรเิ วณปา่ ชายเลนหลังแนวกั้นคล่ืนไมไ้ ผอ่ ายุ7 ปี ท่ีทาการ ฟ้ืนฟู ดว้ ยเทคนิคทางชีวภาพ 5. เพอ่ื ถ่ายทอดเทคโนโลยีการฟื้นฟูป่าชายเลนหลงั แนวกัน้ คลื่นไม้ไผ่อายุ 7 ปี ดว้ ยเทคนคิ ทางชวี ภาพให้กับชุมชน หมู่บา้ น 6. จดั ทาฐานขอ้ มลู พ้นื ฐานเกยี่ วกับการฟ้นื ฟูดนิ เลนหลงั แนวกั้นคลนื่ ไม้ไผอ่ ายุ 7 ปี ตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งผ่าน Website ของมหาวทิ ยาลัยฯ สาหรับเผยแพร่ความรใู้ ห้กบั นกั วจิ ยั และนกั วิชาการ นาไปใชป้ ระโยชน์แบบย่ังยืน

๔๓ 2.2 แสดงตารางเปรียบเทยี บผลการดาเนนิ งานตามแผนการดาเนนิ งานวจิ ัยทไี่ ดเ้ สนอไว้กับงานวิจัยท่ีได้ดาเนินการจริง ในรูปของแผนการดาเนินงานตลอดแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย ว่ามีกิจกรรม/ข้ันตอนปฏิบัติตามลาดบั อย่างไรแผน การดาเนินการ1.การเตรยี มฝักและการเพาะกลา้ ไม้ ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพเช้ือราดินเลน2.การตรวจติดตามทางชีวภาพก่อนการฟื้นฟูป่า ก่อนและหลังการฟื้นฟูป่าชายเลนหลังแนวก้ันชายเลนหลงั แนวกนั้ คลนื่ คลน่ื ด้วยเทคนิคทางชวี ภาพ3.การเพาะกล้าไม้และฝกั ดว้ ยหัวเชอ้ื ราปฏปิ กั ษ์ ศึกษาประสิทธภิ าพการเจริญเตบิ โตต้นกลา้ ไม้เบิกและวดั การเจริญเตบิ โตกลา้ ไม้ นา บริเวณป่าชายเลนหลังแนวกั้นคล่ืนด้วย4.การตรวจติดตามทางชีวภาพก่อนการฟื้นฟูป่า เทคนคิ ทางชีวภาพชายเลนหลังแนวกั้นคล่ืน5.การปลูกป่าชายเลนและศึกษาเจริญเติบโตกล้า ศึกษาประสทิ ธภิ าพการเจริญเติบโตไม้ บริเวณป่าไม้ บรเิ วณป่าชายเลน ชายเลนหลงั แนวกนั้ คลน่ื ดว้ ยเทคนคิ ทางชีวภาพ6.การตรวจติดตามทางชีวภาพหลังการฟื้นฟูป่าชายเลนหลังแนวก้นั คลน่ื7. วิเคราะห์เปรียบเทียบการเจริญเติบโตกล้าไม้ดว้ ยหวั เชอ้ื ราปฏิปกั ษอ์ ัดเมด็8.การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยเทคนิคทางชีวภาพด้วยหวั เชื้อราอัดเม็ด9.การนาเสนอผลงานวิจยั สู่สาธารณะชน การนาเสนอผลงานวิจัยสู่สาธารณะชน 2.3 แสดงรายละเอียดของผลการดาเนนิ งาน พร้อมสรุปและวิเคราะห์ผลที่ได้ดาเนินการไปแล้ว [ทงั้ นี้ ใหแ้ นบ บทความ ผลงานความก้าวหน้าทางวิชาการของแผนงานวจิ ัย/โครงการวิจัย ระหว่างทีท่ าการวจิ ัยที่เคย พมิ พใ์ นวารสารทางวิชาการแลว้ หรือบทความท่จี ะนาไปเผยแพรท่ างสื่อมวลชนได้ (ถา้ มี)] 2.3.1 การศึกษาวิจยั 1. เกบ็ ตัวอย่างดินเลนบริเวณป่าชายเลน 2. ศึกษาลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาของเช้ือราปฏิปักษ์ การแพร่กระจายและจาแนกชนิดของเชื้อราปฏิปักษ์จากดนิ เลน บริเวณป่าชายเลนด้วยวธิ ี soil plate และ dilution plate 3. ศึกษาการเกบ็ รักษาหวั เชือ้ บริสุทธขิ์ องเชอื้ ราปฏิปกั ษจ์ ากดินเลน ในพาราฟนิ เหลว2.3.2 รายละเอียดเพ่ิมเติม เกี่ยวกับผลงานความก้าวหนา้ ทางวชิ าการระหว่างดาเนินการวิจยั2.3.2.1. ตพี ิมพบ์ ทความลงในวารสารRattanaloeadnusorn Sukhan 2015. Antagonistic Fungal Trichoderma for CommunityDevelopment based Sufficiency Economy Philosophy, international conference onscience and technology TICST Rajamangala University of Technology Thanyaburi,Thailand on November 4-6,20152.3.2.2 นิทรรศการเผยแพรง่ านวจิ ัย

๔๔ 1. การบริหารการพัฒนาชมุ ชนโคกขามด้วยเทคนคิ ทางชวี ภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง วันที่ 8 มีนาคม 2558 ศนู ย์เรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ิการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและชายฝงั่ ทะเล ตาบลโคกขาม อาเภอเมือง จังหวดั สมทุ รสาคร 2.4 ระบรุ ายละเอยี ดที่ได้แกไ้ ขปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะของผู้ประเมนิ (ถ้ามี) ไม่มี 2.5 งบประมาณที่ได้ใช้จ่ายไปแลว้ นับต้งั แตเ่ ริม่ ทาการวิจัยเปน็ เงินท้งั สน้ิ 415,033.22 บาท 2.6งานตามแผนงานวจิ ยั /โครงการวิจยั ทีจ่ ะทาต่อไป 1. แยกเช้ือราบริเวณปากแม่นา้ ทา่ จีน จังหวัดสมทุ รสาคร 2. การทดสอบประสทิ ธภิ าพของเชอ้ื ราปฏิปักษ์จากดินในการยับย้ังในห้องปฏิบัตกิ าร การ ตรวจสอบยีน 3. ศกึ ษาวธิ ีการผลติ หวั เชือ้ ราปฏิปกั ษโ์ ดยใช้วสั ดเุ หลือใช้ 4 ศกึ ษาประสทิ ธิภาพการเพาะกล้าไม้ป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อราอัดเม็ด “ราชมงคลธัญบุรี”บริเวณ เรือนเพาะกล้าไม้ บริเวณศูนย์เรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและชายฝ่ังทะเล สาหรับนา กลา้ ไม้ไปใช้ในการฟน้ื ฟูปา่ ชายเลน บริเวณดินเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่ให้สมดุลธรรมชาติรวดเร็ว ข้นึ 5. ศึกษาประสิทธภิ าพการชักนาการเจรญิ เติบโตตน้ ไม้ปา่ ชายเลน หลังแนวกัน้ คล่ืนไมไ้ ผ่ ดว้ ยเทคนิคทางชีวภาพหวั เช้ือราอัดเมด็ “ราชงคลธัญบุรี” 6. ตรวจติดตามทางชีวภาพและกายภาพ บริเวณป่าชายเลนหลงั แนวกั้นคลนื่ ไมไ้ ผ่หลงั การฟ้ืนฟดู ว้ ยเทคนคิ ทางชวี ภาพ 7. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการฟ้ืนฟูป่าชายเลนหลังแนวก้ันคลื่นไม้ไผ่ ด้วยเทคนิคทางชีวภาพ “หัวเช้อื ราอดั เม็ด”ราชมงคลธัญบุรี และการพัฒนาส่ิงแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหก้ ับชมุ ชน หมู่บา้ น และกรมทรพั ยากรธรรมชาติและชายฝั่งทะเล กระทรวงทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ ม 8. จัดทาฐานข้อมลู พน้ื ฐานเกีย่ วกบั การฟน้ื ฟดู ินเลนหลงั แนวก้นั คลืน่ ไมไ้ ผแ่ ละการพฒั นาชุมชนด้วยเทคนิคทางชีวภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน Website ของมหาวิทยาลัยฯ สาหรับเผยแพร่ความรู้ใหก้ บั นกั วจิ ัยและนักวิชาการ นาไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งย่ังยืน2.7 คาชแ้ี จงเกยี่ วกับปัญหา/อปุ สรรค และวิธีการแก้ไข (ถ้ามี) ไม่มี

๔๕ แบบรายงานความก้าวหนา้ แผนงานวิจยั /โครงการวจิ ัย1. รายละเอยี ดเกี่ยวกับแผนงานวิจยั /โครงการวจิ ัย ช่อื เรอ่ื ง (ภาษาไทย) การพฒั นาการปลูกข้าวอนิ ทรีย์และพัฒนาชุมชนดว้ ยหวั เชื้อราผสม ตาบลบงึ กาสามจงั หวดั ปทมุ ธานี (ภาษาอังกฤษ) ช่อื ผู้วจิ ยั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อัชฌาณทั รตั นเลศิ นสุ รณ์ สาชาวชิ าสถติ ประยกุ ต์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี โทร 02 5494138-9 โทรสาร 02-5493596 e-mail : [email protected]ได้รบั อนุมัตงิ บประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 งบประมาณที่ไดร้ ับ 149,500 บาท ระยะเวลาทาการวิจยั 1 ปี เร่ิมทาการวิจยั เมื่อ ตุลาคม 2558 ถึง กนั ยายน 25592. รายละเอียดเกี่ยวกับผลงานความกา้ วหนา้ ของการวิจยั 2.1 วัตถปุ ระสงค์ของแผนงานวจิ ยั /โครงการวิจัย 1. เพือ่ สนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ. 2. เพื่อศึกษาต้นแบบจาลองพัฒนาการปลกู ข้าวอนิ ทรียด์ ว้ ยนวตั กรรมชีวภาพจากเชือ้ ราปฏปิ ักษ์ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. เพ่อื จดั ตั้งศูนยเ์ รียนรู้และปฏบิ ตั กิ ารอาชพี ฯการพัฒนาการปลกู ข้าวอินทรยี ์ด้วยนวตั กรรมชีวภาพจากเช้อื ราปฏปิ กั ษ์ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพ่ือจัดทาฐานข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนด้วยเทคนิคทางชีวภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน Website สาหรับเผยแพร่ความรู้ให้กับนักวิจัยและนักวิชาการ ชุมชน นักเรียนนักศกึ ษานาไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างย่ังยนื 2.2 แสดงตารางเปรยี บเทียบผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงานวิจัยท่ีได้เสนอไว้กับงานวิจัยท่ีได้ดาเนินการจริง ในรูปของแผนการดาเนินงานตลอดแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย ว่ามีกิจกรรม/ข้ันตอนปฏิบัติตามลาดับ แผน การดาเนนิ การ ต้นแบบจาลองพฒั นาการปลูกขา้ วอนิ ทรียด์ ว้ ย ตน้ แบบจาลองพัฒนาการปลูกขา้ วอินทรีย์ นวตั กรรมชวี ภาพจากเช้อื ราปฏิปกั ษต์ ามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตน้ แบบศูนยเ์ รยี นรแู้ ละปฏิบตั ิการอาชีพฯการ ตน้ แบบศูนยเ์ รยี นรแู้ ละปฏิบัติการอาชีพฯ พฒั นาการปลูกขา้ วอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมชวี ภาพ จากเชอ้ื ราปฏปิ ักษ์ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนด้วย Website แผ่นพับ ชุดความรู้ สาหรับเผยแพร่ เทคนิคทางชีวภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้ให้กับนักวิจัยและนักวิชาการ ชุมชน ผ่าน Website สาหรับเผยแพร่ความรู้ให้กับ นกั เรียน นกั ศึกษานาไปใชป้ ระโยชน์ นกั วจิ ัยและนกั วชิ าการ ชุมชน นักเรียน นักศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook