Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book Model

E-Book Model

Published by ppc-00, 2017-07-12 05:19:10

Description: E-Book Model

Search

Read the Text Version

ตน้ แบบโมเดลการบริการวิชาการสู่ชมุ ชนเพอื่ การพฒั นาการปลกู ปา่ ชายเลนและการเกษตรอินทรีย์ รว่ มกับนวตั กรรมหวั เช้ือจุลนิ ทรียน์ าโนตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย ผศ.ดร.สกุ าญจน์ รัตนเลิศนสุ รณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

ตน้ แบบโมเดลการบริการวิชาการสู่ชมุ ชนเพอื่ การพฒั นาการปลกู ปา่ ชายเลนและการเกษตรอินทรีย์ รว่ มกับนวตั กรรมหวั เช้ือจุลนิ ทรียน์ าโนตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนสุ รณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี



คำนำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีการส่งเสริมกิจกรรมด้านการบริการวิชาการแก่สังคมและได้ดาเนินการจัดโครงการบริการวิชาการอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยอาจารย์ นักศึกษาและเจ้าหน้าท่ี มาร่วมกิจกรรมกับชุมชนในพื้นท่ีใกล้เคียงเพื่อบริการวิชาการถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการบริการวิชาการแก่ชุมชนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีร่วมกับเครือข่ายตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วม ส่งผลให้อาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าท่ีได้นาองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์แก้ปัญหาและผลกระทบได้ตรงกับความต้องการของชุมชน และแลกเปล่ียนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี knowledge managements (KM) ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน และแนวทางส่งเสริมการพัฒนามหาวทิ ยาลัยตามพันธกิจ วิสัยทัศน์ อันมงุ่ ส่อู งคก์ รแห่งการเรียนรู้แบบครบวงจร สุกาญจน์ รัตนเลศิ นุสรณ์

กติ ติกรรมประกำศ แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี(Best practice) เกย่ี วกับการบริการวชิ าการแกช่ มุ ชนตามตน้ แบบโมเดลการบรกิ ารวิชาการแก่ชุมชนด้วยนวตั กรรมและเทคโนโลยีหัวเชือ้ จลุ นิ ทรยี ์นาโน จนกระท่ังสามารถรวบรวมองค์ความรแู้ ละแนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี(knowledge managements(KM) สาเร็จด้วยดนี นั้ ผูเ้ ขียนตอ้ งขอขอบคุณเครอื ข่ายของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ได้แก่ ชุมชน หน่วยงานภาครัฐบาล หน่วยงานเอกชน อบต. อนื่ ๆ ท่ีให้ความร่วมมือและแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ่วมกันเพ่ือพฒั นาชมุ ชนให้ตรงกับความต้องการของชุมชนและประชาสมั พนั ธ์ขยายผลการนาต้นแบบโมเดลฯไปดาเนินการให้กวา้ งขวางมากยง่ิ ข้ึน สุกาญจน์ รัตนเลิศนสุ รณ์

สำรบัญ รำยกำร หน้ำท่ีคานากติ ตกิ รรมประกาศ 1ต้นแบบโมเดลการบริการวิชาการสชู่ ุมชน เพ่อื การพัฒนาการ 16ปลูกป่าชายเลนและการเกษตรอินทรยี ์ร่วมกับนวัตกรรมหัว 40เช้ือจลุ นิ ทรียน์ าโนตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย-ที่มาและความต้องการชมุ ชน-ต้นแบบโมเดลการบริการวิชาการสู่ชมุ ชนตามปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียงและแผนยทุ ธศาสตร์ประเทศไทยแบบมีสว่ นรว่ ม-ผลสัมฤทธ์ิการบรกิ ารวิชาการ(out came)

ต้นแบบโมเดลกำรบรกิ ำรวชิ ำกำรสูช่ มุ ชน เพ่ือกำรพัฒนำกำรปลกูป่ำชำยเลนและกำรเกษตรอินทรยี ์รว่ มกบั นวัตกรรมหัวเช้ือจลุ นิ ทรีย์นำโนตำมปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศำสตรป์ ระเทศไทย เรียบเรยี งโดย ผศ. ดร. สุกำญจน์ รตั นเลศิ นสุ รณ์ สำขำชีววทิ ยำ คณะวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บุรี1. ทม่ี ำและควำมต้องกำรชุมชน จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการชุมชนบึงกาสาม หมู่ 7ตาบลบงึ กาสาม อาเภอหนองเสอื จังหวัดปทุมธานี พบวา่ สภาพดนิ มสี ภาพเป็นดินกรดหรือดินเปร้ียว มีค่า pH 3-4 เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยเคมีสาหรับการปลูกข้าวและกาจัดโรคข้าวและศัตรูแมลง ได้แก่ โรคใบไหม้ เนื่องจากเชื้อราPyricularia grisea Sacc. โรคเมล็ดด่าง เน่อื งจากเชื้อรา Curvularia lunata( Wakk) Boed. Cercosopra oryzae I. Miyake Helminthosporiumoryzae Bred de Haan. Fusarium semitectum Berk&Rev. Trichocinispadwickii Ganguly Sarocadium oryzae โรคกาบใบเน่า เนื่องจากเชื้อราSarocladium oryzae โรคกาบใบแห้ง โรคขอบใบแห้ง เป็นต้น ภาพท่ี 1ข้าวเปลือกมีสารปนเป้ือนไม่ได้มาตรฐานข้าวอินทรีย์ (organic Thailand)ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 500 - 850 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตต่อไร่เฉลี่ย 4,970บาท (เกษตรอาเภอหนองเสือ, 2559) ตอ่ มา ระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2558 สุกาญจน์และคณะสารวจสภาพพน้ื ที่และวจิ ัยต่อยอดเก่ียวกับ ความหลากหลายทางชีวภาพบนทรัพยากรธรรมชาติน้าและดนิ เศษซากพืช(Litter fall) มลสารโลหะหนัก ได้แก่ แคดเมียม ปรอท ตะกั่วปนเป้ือนในดินและน้า พบความหลากหลายทางชีวภาพเช้ือรา บริเวณแปลงนาของเกษตรกรก่อนการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนจานวน 7 สกุล ได้แก่ 1

Aspergillus, Cretomiun, Gliocladium, Mucor, Rhizopus, Penicillium,Trichoderma และพบว่าปริมาณมลสารโลหะหนักที่ปนเปื้อนในดินและน้าสาหรับการทานาเกินค่ามาตรฐานกรมพัฒนาท่ีดิน 2556 (สุกาญจน์ และคณะ2558) และจากการสารวจปี พ.ศ 2504 พบว่าประเทศไทยมีพ้นื ทปี่ า่ ชายเลนประมาณ 3 ล้านไร่ (สนิท 2542) โดยจัดเป็นพ้ืนที่ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้าท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ประมาณ 20,000 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ป่าชายเลนฝ่ังตะวันออก ประมาณ 2,000 ตารางกิโลเมตร (500 ไร่) และป่าชายเลนฝั่งตะวันตก ประมาณ 15,000 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ 2540 พ้ืนท่ีป่าชายเลนบริเวณปากแมน่ า้ ท่าจนี ลดลงเหลอื ประมาณ 1,000 ไรเ่ ท่านัน้ (วัฒนาและคณะ 2540)และจากสารวจพ้ืนที่ป่าชายเลน ปี พ.ศ 2547 กรมทรัพยากรชายฝั่งทะเลพบว่าพ้ืนท่ีป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้าท่าจีนท้ังสองฝั่งมีพื้นท่ีป่าชายเลนเหลอื เพยี ง 1% เท่าน้ันหรือประมาณ 20 ไร่ เนื่องจากเกษตรกรนาพนื้ ทีป่ า่ ชายเลนไปประกอบอาชีพ ได้แก่ การทานากุ้ง การทานาเกลือ การประมงโรงงานอุตสาหกรรมและชายฝั่งทะเล ฝ่ังตะวันออก ปากแม่น้าท่าจีน ถูกกัดเซาะโดยกระแสลมและกระแสนา้ กระแสคลืน่ ประมาณ 17 เมตรตอ่ ปี (ประสาร 2554)ส่งผลให้เกษตรกรชาวนากุ้ง นาเกลือ ประมง อื่นๆไม่สามารถประกอบอาชีพการทานากุ้งได้ต่อไป ส่วนที่พอจะประกอบอาชีพได้ก็เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ลดน้อยลง ต้นทุนคอ่ นขา้ งสงู ทาให้เกษตรกรจงึ ปล่อยพ้ืนทน่ี ากุง้ ใหเ้ กิดการรกร้างว่างเปล่า ต่อมา ปี พ.ศ. 2540 สนิทและคณะ ได้ศึกษาสภาพพื้นท่ีป่าชายเลนและทาการปลูกป่าชายเลนโดยไม่ใช้หัวเช้ือจุลินทรีย์ บริเวณปากแม่น้าท่าจีนฝ่ังตะวันตก อาเภอบางหญ้าแพรก จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ังทะเลและบาบัดคุณภาพน้าสาหรับการประกอบอาชีพ พบว่าปี2550 ชุมชนมีพ้ืนที่ป่าชายเลนที่สมบูรณ์ สามารถบาบัดคุณภาพดินและน้าและแหล่งเรียนรู้ของประชาชนท่ัวไป ส่วนพ้ืนท่ีป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้าท่าจีน ฝั่งตะวันออก ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร นาโดยผู้ใหญ่บ้าน 2

นายวรพล ดวงจันทร์และคณะ ศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์ป่าชายเลนและชายฝ่ังทะเลได้ทาการปลูกป่าชายเลน บริเวณนากุ้งร้างโดยไม่ใช้หัวเช้อื จุลนิ ทรยี ์ ต้งั แต่ ปี 2545-2555 ต่อมาปี พ.ศ. 2550 สุกาญจนแ์ ละคณะ ได้ศึกษาการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์เดี่ยว Trichodermaเปรียบเทียบกับการปลูกโดยไม่ใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ พบว่าพืชโกงกางใบใหญ่โกงกางใบเลก็ แสมขาว และแสมทะเล มีการเติบโตของราก ขนาดลาตน้ (GBH)ความสูงและจานวนใบดีกว่าการปลูกป่าชายเลนโดยไม่ใช้หัวเชื้อจลุ นิ ทรีย์เดี่ยวTrichoderma 2-3 เท่า หลังจากน้ันสุกาญจน์และคณะได้ตรวจติดตามและวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพและชีวภาพ เกี่ยวกับปริมาณธาตุอาหารหลักและรอง ความหลากหลายทางชีวภาพจลุ ินทรยี ์ในดินเลน การรอดตายปรากฏว่ามีปริมาณเพิ่มข้ึน แต่ปริมาณโลหะหนัก ได้แก่ ปรอท ตะกั่วแคดเมียมในดินเลนและน้าลดลง (สุกาญจน์และคณะ, 2553 สุกาญจน์และคณะ, 2555) เกษตรกรหลงั แนวการปลูกป่าชายเลนสามารถสูบน้าไปประกอบอาชีพการทานาเกลือได้ผลผลิตเกลือท่ีได้มาตรฐานค่าระดับความเค็มมากว่า92 เปอร์เซ็นต์ สารปนเปื้อนต่ากว่าค่ามาตรฐาน(สหกรณ์นาเกลือกรุงเทพ,2555) ต่อมา ปี 2555-2559 สกุ าญจนแ์ ละคณะร่วมกบั เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ชุมชน หมู่บ้านตาบลโคกขาม โรงเรียนพันท้ายนรสิงห์วิทยา บริษัทเอกชน กรมทรัพยากรธรรมชาติและชายฝ่ังทะเล กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม หน่วยงานสนับสนุนจากต่างประเทศ อ่ืนๆดาเนินการสร้างแนวไม้ไผ่รูปสามเหลย่ี ม เพ่ือดักดินตะกอนดินเลนและป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ังทะเล ฝั่งตะวันออก ปากแม่นา้ ท่าจนี ตาบลโคกขาม จงั หวดัสมุทรสาคร และดาเนินการฟ้ืนฟูดินตะกอนเลนที่ทับถม หลังแนวไม้ไผ่ด้วยการปลูกต้นกล้าไม้เบิกนา เช่น โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata)โดยไม่ใช้เทคนิคทางชีวภาพนวัตกรรมหัวเช้ือราอัดเม็ดตามสิทธิบัตรของสุกาญจน์ ปี พ.ศ. 2555 และหัวเชอื้ ชีวภาพอดั เมด็ ตามสิทธบิ ตั รของสุกาญจน์ ปีพ.ศ. 2557 จากจุลินทรีย์ผสม ได้แก่ เช้ือรา แบคทีเรีย แอกติโนม้ัยซิส อื่นๆ 3

ระยะปลูกห่าง 0.5 x 0.5 เมตร พบว่าการเจริญเติบโตไม้เบิกนาโดยไม่ใช้เทคนคิ ชวี ภาพหลังแนวไม้ไผ่ บรเิ วณดินเลนที่ทับถมนาน 9 ปี (ระหวา่ ง 2549-2556) ปากแม่น้าท่าจีน ฝ่ังตะวันออก จังหวัดสมุทรสาคร มีอัตราการรอดของต้นไม้น้อยกว่า 30 -40 เปอร์เซ็นต์ การเจริญเติบโตจานวนใบ ความสูง และขนาดลาต้น (GBH) อายุ 3 ปี ค่อนข้างช้า ทรัพยากรดินและน้า มีปริมาณสารอาหารหลักและรองและเสริมต่า pH 3-4 มีเช้อื ราก่อโรคกับพืช ไดแ้ ก่เชื้อรา Fusarium sp. ก่อโรคใบจุด เช้ือรา Polyporus sp. เห็ดห้ิงชนิดPhellinus sp. ทาลายเนื้อไม้ตะบูนขาวเกิดโพรงในลาต้น (สุกาญจน์และคณะ2557 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง 2554) ในขณะท่ีการปลูกป่าชายเลนด้วยต้นกล้าไม้ท่ีใช้เทคนิคทางชีวภาพหัวเช้ือจุลินทรีย์ผสม ปรากฏว่าการเติบโตของระบบรากเป็นกระจุกจานวนมาก แขนงรากมีความแข็งแรง ปลายรากมีเส้นใยเชื้อราปฏปิ ักษ์เกาะท่ีปลายรากมากกวา่ 10 7 cfu/gm. ต้นกล้าไม่เกิดโรค การรอดตายหลังปลูก 95-100 เปอร์เซ็นต์ การเติบโตรวดเร็วและระยะเวลาได้ป่าชายเลนที่สมดุลธรรมชาติภายใน 5-6 ปี ในขณะการฟ้ืนฟูปกติโดยไม่ใช้นวัตกรรมหัวเชื้อชีวภาพต้องใช้เวลานาน 10-15 ปี (Lacambra2013 สกุ าญจน์และคณะ 2553 สุกาญจนแ์ ละคณะ 2555 สกุ าญจน์และคณะ2557) เน่ืองจากการเติบโตพืชที่ปลูกด้วยนวัตกรรมหัวเช้ือราอัดเม็ดและหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด การเติบโตเก่ียวกับ จานวนใบ ความสูง(H) ขนาดลาต้น(GBH) ดีกว่าปกติ 2-6.3 เท่า การรอดตายมากกว่า 95-100 เปอร์เซ็นต์สภาพดินเลนสามารถปรบั สภาพจากดินกรดเป็นสภาพดินท่เี ป็นกลาง pH 7 (สุกาญจน์และคณะ, 2553 สุกาญจน์และคณะ, 2555 สุกาญจน์และคณะ2557 Rattanaloeadnusorn, 2015 Rattanaloeadnusorn, 2016)นอกจากนี้การเปล่ียนแปลงจานวนและชนิดความหลากหลายทางชวี ภาพชนิดเชื้อราบนดินเลน ก่อนทาการฟื้นฟูด้วยหัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด/หัวเชื้อราอัดเมด็ด้วยเช้ือจุลินทรีย์ผสม บริเวณดินตะกอนเลนหลังแนวไม้ไผ่ ตาบลโคกขามจังหวัดสมุทรสาคร พบเชื้อราบนดินเลนก่อนการฟ้ืนฟูด้วยเทคนิคทางชีวภาพ 4

หัวเชื้อราอัดเม็ด/หวั เช้ือชีวภาพอัดเม็ดจานวน 13 ชนิด (สุกาญจน์, 2550) แต่หลังการปลูกป่าชายเลนด้วยเทคนิคทางชีวภาพพบเช้ือราบนดินเลน 43 ชนิด(สุกาญจน์ และคณะ, 2555 สุกาญจน์ และคณะ, 2557) ในขณะที่บริเวณพ้นื ที่ปา่ ชายเลนธรรมชาติ บริเวณปากแม่นา้ ท่าจีน จงั หวดั สมุทรสาคร พบเชื้อรามากกว่า 50 ช นิด ได้แก่ Aspergillus, Trichoderma, Penicillium,Fussarium (โสภนา, 2544 Sukhan, 2001 สุกาญจน์และคณะ, 2553 สุกาญจน์และคณะ, 2557) พร้อมกันนี้นักวิจัยได้ออกแบบและสร้างแนวคิดต้นแบบโมเดลการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ สาหรับทดแทนการปลูกป่าชายเลนโดยไม่ใช้เทคนิคทางชีวภาพ เพ่ือเพ่ิมพื้นที่ป่าชายเลนของประเทศให้รวดเรว็ ขึ้น ลดการปลกู ซ่อมแซมหลังการปลูกป่าชายเลน เพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มคุณภาพของส่ิงแวดล้อม ตอ่ มา ปี พ.ศ. 2558-2559 สุกาญจน์และคณะได้นาต้นแบบโมเดลการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลนิ ทรยี ์ ไปขยายผลการพัฒนาการปลูกป่าชายเลนดว้ ยเทคนิคทางชวี ภาพร่วมกับนวัตกรรมหัวเชื้อราอัดเม็ดตามสิทธิบัตรหัวเช้ือราอัดเม็ด พ.ศ. 2555และนวตั กรรมหัวเชือ้ ชวี ภาพตามสิทธิบตั ร พ.ศ.2557 ดาเนนิ การเพาะต้นกล้าไม้ ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) โกงกางใบเล็ก(Rhizophora apiculata) พังกาหัวสุ่มดอกแดง (Bruguiera sexangula)โปรงแดง (Ceriops tagal) ถั่วขาว (Bruguiera cylindrical) ตะบูนขาว(Xylocarpus granatum) แสมขาว (Avicenniea alba) และแสมทะเล(Avicennia marina) บริเวณพื้นท่ีนากุ้งร้าง ตาบลขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมศึกษาวิจัย (data base areas) และการตรวจติดตามและวิเคราะห์ พบว่าการเติบโตพืชเหล่านั้นเกี่ยวกับจานวนใบ ความสูง (H)ขนาดลาต้น (GBH) ดีกว่าการปลูกแบบไม่ใช้เทคนิคทางชีวภาพ 4.3 เท่า การรอดตายมากกว่า 95-100 เปอร์เซ็นต์ สภาพดินเลนสามารถปรับสภาพเป็นกลาง pH 7 และที่สาคัญสามารถกาจัดโลหะหนักปนเป้ือนในดินเลนได้ประมาณ 97.6 เปอรเ์ ซ็นต์ ซึ่งให้ผลการศกึ ษาในทิศทางเดียวกบั การศึกษาของ 5

ต้นแบบโมเดลการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ (สุกาญจน์และคณะ,2558 Rattanaloeadnusorn et al. 2014) ปี พ.ศ.2555-2557 คณะนักวิจัยร่วมกับเครือขา่ ย RMUTT Engagements ประกอบดว้ ย 10 คณะ 1 วทิ ยาลยัของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ชมุ ชนโคกขาม ภาครฐั สานกั งานส่งเสริมและเรียนรู้ป่าชายเลนที่ 2 สมุทรสาคร กรมอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝ่ังทะเล และเอกชน สถานประกอบการบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ CPF บริษัท ไบโอเวลธ์ จากัด บรษิ ทั ซิโกไ้ ฮ ไบโอเทค จากัด ดาเนนิ การศกึ ษาวิจยั ตอ่ ยอด(R&D)บริการวชิ าการแก่ชุมชนถ่ายทอดเทคโนโลยีชวี ภาพและนวัตกรรมการเพาะต้นกล้าไม้และพัฒนาปลูกไม้เบิกนาป่าชายเลน ได้แก่ โกงกางใบใหญ่(Rhizophora mucronata) โกงกางใบเล็ก(Rhizophora apiculata) แสมขาว (Avicenniea alba) และแสมทะเล (Avicennia marina) ด้วยเทคนิคทางชีวภาพด้วยนวัตกรรมหัวเชือ้ ชีวภาพอัดเม็ดและหวั เช้อื อัดเม็ดตามต้นแบบโมเดลการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ ชุมชนโคกขาม สมุทรสาครเพื่อแก้ปัญหาและผลกระทบของชุมชน บริเวณนากุ้งร้าง และบริเวณดินตะกอนเลนท่ีทับถม หลังแนวไม้ไผ่ นานประมาณ 9 ปี ตาบลโคกขาม จังหวัดสมทุ รสาคร ดงั ไดก้ ล่าวมาแล้วข้างต้น พรอ้ มกันนี้เครือข่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตจากป่าชายเลน การทานาเกลือ การประมงและวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็ง พัฒนาศักยภาพด้านการตลาดของชุมชน แหล่งเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพ้ืนท่ีตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมกันน้ีนักวิจัยทาการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเช้ือราและเก็บรักษาเชื้อราบริสุทธ์ิ และศึกษาวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับคุณสมบัติเช้ือราปฏิปักษ์สกุล Trichoderma สกุล Aspergillus สกุลPenicillium สกุล Cretomium สกุล Mucor สกุล Gliocladium อ่ืนๆได้แก่ลั ก ษ ณ ะ ท า ง สั ณ ฐ า น วิ ท ย า ( Morphology) ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ชี ว เ ค มี(biochemistry) antagonistic test ประสิทธิภาพการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้ 6

(degradation) สารประกอบ lignocelluloses แอมโมเนียม ฟอสเฟตโพแทสเซียม อื่นๆในรูปท่ีไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตให้กลายเป็นธาตุอาหารหลกั ธาตุรองและธาตุเสริม ได้แก่ คาร์บอน ไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต (P)โพแทสเซียม (K) แมกนีเซียม (Mg) แคลเซียม (Ca) โบรอน (Br) ซิลิกา (Si)สังกะสี (Zn) อ่ืนๆ ให้อยู่ในรูปท่ีเหมาะต่อการเจริญเติบโตพืชและดาเนินการผลิตหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโน สารสกัดจุลินทรีย์ สารชีวภาพจุลินทรีย์เด่ียวและผสมชนิดผง สารละลายและชนิดเม็ด ในระดับ Pilot scale สาหรับสถานประกอบการนาไปพัฒนาคุณภาพการผลิตหัวเชื้อจุลนิ ทรยี ์นาโนและผลิตภัณฑ์จากหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนในระดับอุตสาหกรรม (industry scale) ได้แก่สารชีวภาพนาโนเม็ด สารสกัดจุลินทรีย์นาโน สารชีวภาพควบคุมโรคพืชสารชีวภาพควบคุมศัตรูแมลง สารชีวภาพกาจัดกลิ่น สารชีวภาพกาจัดวัชพืชสารปรับปรุงดิน อ่ืนๆ สาหรับการใช้ประโยชน์พัฒนาการปลูกป่าชายเลนและการเกษตรอนิ ทรีย์พชื และสัตว์เล้ยี งและสัตว์น้าแบบครบวงจร เพอ่ื ช่วยเร่งการเติบโต สร้างภูมคุ้มกัน ควบคุมโรคจากจุลินทรีย์ ปรับสภาพส่ิงแวดล้อม เพ่ิมผ ล ผ ลิ ต ล ด ต้ น ทุ น ล ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร เ ลี้ ย ง แ ล ะ ก า ร ป ลู ก อ่ื น ๆ(Rattanaloeadnusorn, 2016 Park, et al., 2016) พรอ้ มศึกษาวจิ ยั เชิงพื้นที่(CSR) และแปรรูปด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีและตรวจติดตามและวิ เ ค ร า ะ ห์ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ใ ช้ น วั ต ก ร ร ม แ บ บ มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี RMUTT Engagement ได้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี หนว่ ยงานภาครัฐบาล ไดแ้ ก่ วช. สภาวิจัยแห่งชาติ สวทช. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยงานภาคเอกชน บรษิ ทั เอกชนท้งั ในและต่างประเทศ ได้แก่ บริษัท ไบโอเวลธ์ จากดับริษัท ไทยยูเนียน จากัด และ HENRITEX Malaysia ชุมชน ได้แก่ ชุมชนโคกขาม จงั หวดั สมทุ รสาคร ศนู ย์เรียนรูแ้ ละปฏบิ ตั ิการฟน้ื ฟูป่าชายเลนด้วยเทคนิคทางชีวภาพ ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอาชีพด้วยเทคนิคทางชีวภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ อุทยาน 7

วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพันท้ายนรสิงหว์ ิทยา ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครอบต. โคกขาม ชุมชนบึงกาสาม อาเภอหนองเสอื จังหวัดปทุมธานี อบต. บงึ กาสาม ชุมชนบึงบา อบต. บึงบาเกษตรอาเภอหนองเสือ กรมพัฒนาท่ีดินเขต1ปทุมธานี กรมการข้าว การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ธนาคารเพื่อการเกษตร อ่ืนๆ ร่วมกันบริการวิชาการแก่ชุมชนตามต้นแบบโมเดลการปลูกป่าชายเลนด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ และต้นแบบโมเดลการเกษตรอินทรีย์ด้วยหัวเช้ือจุลินทรีย์และต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรมด้วยหัวเช้ือจุลินทรีย์ ดังภาพท่ี 8-9 พร้อมกันน้ีได้ดาเนินการวิจัยเชิงพ้ืนที่ (CSR) เพื่อพัฒนาตัวเตมิ (binder) ตวั carrier จากวสั ดุเหลอื ใชช้ ุมชนที่แสดงถึงอตั ลกั ษณ์ของพื้นท่ีและเหมาะสมต่อการเร่งผลผลิตของพืชแต่ละชนิด ได้แก่ ข้าว ปาล์มน้ามัน ผัก ผลไม้ ยางพารา ป่าชายเลน ป่าบก และการพัฒนาชีวภัณฑ์นวัตกรรมที่ได้มาตรฐาน Q ตามกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2556 และมาตรฐานสารชีวภาพกรมวิชาการ สาหรับการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมและการผลิตแบบ SMEs ชุมชนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ สาหรับนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการเพาะต้นกล้าและฟ้ืนฟูป่าชายเลนของชุมชนและประเทศไทย บริเวณนากุ้งร้าง ดินเลนงอกใหม่และบริเวณดินเลนทับถมใหม่ให้คืนสมดุลธ รรมช าติ (Rattanal oeadnus or n et al . 201 4Rattanaloeadnusorn 2015) นอกจากน้ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์สาหรับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์และก่ึงเกษตรอินทรีย์ (หัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนร่วมกับปุ๋ยเคมี) ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ ชุมชนโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร (สุกาญจน์และคณะ, 2555 2557) ชุมชนบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี ชุมชนบึงบา จังหวัดปทุมธานี (สุกาญจน์และคณะ, 2557 สุกาญจน,์ 2559) ชุมชนบอ่ ทอง จังหวดั ปราจีนบุรี รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียรัฐ Johor ประเทศมาเลเซยี (Ratanaloeadnusorn et al. 2015 สกุ าญจน์และคณะ, 2557) และเกษตรกรอินทรีย์ของจังหวัดต่างๆท่ัวทุกภาคของประเทศไทย พบว่าเกษตรกรที่ทาการพัฒนาการปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ตาม 8

ต้นแบบโมเดลด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ ได้แก่ การปลูกข้าว ผักบุ้งจีน กวางตุ้ง ผักสลัดแบบไม่ใช้ดิน Hydroponic ปาล์มน้ามัน มะนาว อ่ืนๆ ทดแทนการปลูกด้วยปุ๋ยเคมีหรือใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี นาน 3-4 ปี ปรากฏว่า สภาพดินกรดที่มีค่าpH 3-4 มีการปรบั สภาพเป็นกลาง pH7 ปริมาณธาตุอาหารหลกั และรองและเสริมเพ่ิมมากขึ้นจากปกติ 84.33 เปอร์เซ็นต์ (Rattanaloeadnusorn et al.2014) ชว่ ยชักนาการเตบิ โตของพชื เพมิ่ ขน้ึ เพ่มิ ผลผลติ ดกี ว่าปกติ 2-3 เท่า ลดต้นทุน 2 เท่า ลดปริมาณการใช้หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดจากปริมาณปกติ 2-3เท่า ส่งผลให้เกษตรกรมีกาไรเพ่ิมข้ึนกว่าการปลูกด้วยการใช้ปุ๋ยเคมี 5 ถึง 6เท่า (สุกาญจน์ 2554, เจษฏาและสุกาญจน์, 2556 สุกาญจน์, 2559Rattanaloeadnusorn et al. 2016) นอกจากน้ีนักวิจัยจึงดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตด้วยเทคโนโลยีท้องถิ่นและพัฒนาศักยภาพด้านการตลาดแบบมีส่วนร่วม เพ่ือช่วยเกษตรกร ลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพิ่มกาไรรายได้ ปรับสภาพดิน และปรับสภาพแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนบรรลุตามเป้าหมายของการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจุบัน สุกาญจน์ร่วมกับสถานประกอบการพัฒนานวัตกรรมหัวเช้ือจุลินทรีย์เดี่ยว ได้แก่ หัวเช้ือรา สิทธิบัตร พ.ศ. 2557 หัวจุลินทรีย์ผสมได้แก่ หัวเช้ือราอัดเม็ด สิทธิบัตร พ.ศ. 2555 และหัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดสิทธิบัตร พ.ศ. 2557 ภาพที่ 2 เป็นนวัตกรรมหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเด่ียวและหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนผสมเข้มข้น (single Nano-Microorganism andMixed Nano- Microorganism) จ า ก ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์เชือ้ รา แบคทีเรีย แอกติโนมั้ยซิสและแอกโตมั้ยคลอไรซาอื่นๆ ภาพที่ 3 สาหรับนาไปใชป้ ระโยชน์พัฒนาการเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยแบบครบวงจร และเพ่ิมคุณภาพของอาหารเสริมพืชและอาหารเสริมสัตว์เลี้ยงและสัตว์น้า ดังนี้ คือ 1.) การช่วยเร่งการย่อยสลายเศษซาก 2.) การควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคและการเพิ่มภูมิคุ้มกันพืชและสัตว์ 3.) การชักนาการ 9

เจริญเตบิ โต 4.) การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารหลักรองและเสริมและเพิ่มผลผลิต5.) ช่วยกาจัดโลหะหนัก 6.) ช่วยปรับสภาพดินและน้า อ่ืนๆ ทาให้เกษตรกรไทยและต่างประเทศสามารถแก้ปัญหาและผลกระทบได้อย่างมีประสิทธิภาพ(สุกาญจน์ และคณะ, 2555, สุกาญจน์และคณะ, 2557 Park, et al., 2016)หลังจากนั้น สุกาญจน์และคณะศึกษาวิจัยต่อยอดร่วมกับสถานประกอบการแบบ Talents Mobility นานวัตกรรมหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเดี่ยวและหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนไปใช้ประโยชน์และพัฒนาการผลิตในระดับอุตสาหกรรมและระดับ pilot scale ดังน้ี 1.) การเพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน ได้แก่ ปุ๋ยเคมี (chemical fertilizer) ปุ๋ยอินทรีย์ (organicfertilizer) ปุ๋ยชีวภาพ (biological fertilizer) เพื่อเพ่ิมการชักนาการเติบโตเพ่ิมผลผลิต ลดการสูญเสียให้กับดินน้า ลดปริมาณการใช้ปุ๋ย ลดต้นทุน เพิ่มกาไรและรายได้ รักษาสภาพแวดล้อม 2.) การแปรรูปวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมท่ีก่อให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเดี่ยวและหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนผสม เพ่ือผลิตและแปรรูปเป็นสินค้าใหม่ท่ีก่อให้เกิดมูลค่าเพ่ิมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมแก่โรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ สารละลายหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน (Nano-Microorganism solution) หัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนผง (Nano-Inoculants Microorganism Powder) หัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนเม็ด (Nano-Microorganism Tablets) สารสกัดจุลินทรีย์นาโน สารชีวภาพกาจัดโรคพืชและศัตรูแมลงบนสารตัวเติมอินทรีย์ชีวภาพที่ผ่านกระบวนการหมักร่วมกับตัวเร่งหัวเช้ือจุลนิ ทรีย์นาโนตามมาตรฐาน Q ของกรมพัฒนาท่ีดิน2556 สาหรับการพัฒนาการปลูกพืชด้วยหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนผสมร่วมกับปุ๋ยเคมีและสารเคมีของเกษตรกรท่ัวทุกภาคของประเทศไทยและเกษตรกรต่างประเทศ ส่งผลให้เกษตรกร ลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพิ่มรายได้ เพิ่มกาไรเพ่ิมคุณภาพชีวิต ความเข้มแข็ง รักษาสภาพแวดล้อม อื่นๆ เนื่องจากหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโน ช่วยเร่งการย่อยสลาย ชะลอการสูญเสียสารประกอบหรือธาตุอาหารหลักธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริมในรูปสารประกอบท่ี 10

เหมาะสม ทาให้พืชสามารถดูดซึมไปใช้ในเติบโตได้ทันที ส่งผลให้ต้นพืชแตกใบอ่อนใหม่รวดเร็วข้ึน เพิ่มการสังเคราะห์แสง เร่งการแตกตาดอกและติดผลผลติ ดกตลอดท้งั ปี เกษตรกรลดตน้ ทนุ การใส่ปุย๋ จากปกติ 1 ใน 3 ส่วน เพิ่มรายได้จากผลผลิตที่เพ่ิมขึ้น 30-100 เปอร์เซ็นต์ ปรับสภาพดินให้เหมาะสมและเป็นกลาง เพ่ิมประสิทธิภาพการควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคและการเพ่ิมภูมิคุ้มกันพืช อื่นๆ (สุกาญจน์, 2559 Frank, 2005 Park, et al., 2016) จากผลการดาเนินการบริการวิชาการแก่ชุมชนของนักวิจัยและเครือข่ายเกษตรกรชมุ ชนแบบมสี ่วนร่วมในการนาต้นแบบโมเดลการพัฒนาการบริการวิชาการแก่ชุมชน และโรงงานอุตสาหกรรมด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ out put แก่เครือข่ายทุกภาคส่วน จนเป็นท่ีประจักษใ์ นระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ภาพท่ี 4-7 ดังนั้นนักวิจัยจึงประชาสัมพันธ์เผยแพร่การบริการวิชาการแก่ชุมชนด้วยต้นแบบโมเดลการพัฒนาการปลูกป่าชายเลน การเกษตรอินทรีย์ การจัดการส่ิงแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรมด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ประเทศไทยแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย เพื่อทาให้เกษตรกรชุมชนสามารถเพิ่มผลผลิตเพ่ิมรายได้จากผลผลิตที่เพ่ิมขึ้นและการแปรรูป ลดต้นทุน ลดปัญหาส่ิงแวดล้อม อันสร้างความเข้มแข็งด้านส่ิงแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและอนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรมแบบยง่ั ยืน 11

ภาพที่1 การสารวจสภาพปัญหาและผลกระทบพ้ืนที่ กอ่ นการบรกิ ารวิชาการถา่ ยทอดนวตั กรรมและเทคโนโลยีหัวเชือ้ จลุ นิ ทรยี ์นาโนภาพท่ี 2 สิทธิบตั รหวั เช้ือราอัดเม็ด หวั เชอ้ื ราและหวั เชอ้ื ชวี ภาพอดั เม็ดเพื่อพัฒนาการปลูกปา่ ชายเลนและเกษตรอนิ ทรีย์แบบไมใ่ ชด้ ินและยกแปลงผักและผลไม้ 12

ภาพท่ี 3 หัวเชอ้ื จุลินทรียน์ าโนและสารสกดั จุลินทรีย์นาโนเพอ่ื การพฒั นาการปลูกปา่ ชายเลนและเกษตรอินทรยี ์ ลดต้นทนุ เพ่ิมการเตบิ โต เพม่ิ ผลผลติ เพิ่มรายได้กาไร และปรบั สภาพแวดล้อมภาพท่ี 4 สารชีวภาพบงึ กาสามรว่ มกับหัวเชือ้ จลุ นิ ทรยี ์นาโนตามมาตรฐาน Qกรมพฒั นาที่ดนิ พ.ศ 2556 เพื่อการพฒั นาการปลกู ข้าวอินทรยี ์แบบครบวงจร 13

ภาพท5ี่ สนิ คา้ ชมุ ชนโคกขาม ได้แก่ สารชีวภาพโคกขามและถา่ นไบโอชาจากวัสดุเหลือใชร้ ่วมกับหวั เชือ้ จลุ ินทรยี ์ สาหรับการเกษตรและปลูกป่าชายเลนวัสดุดูดกลิ่น ความชืน้ และรังสีภาพท6ี่ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ การบรกิ ารวชิ าการพัฒนาชุมชนดว้ ยหวัเชอื้ จุลินทรียน์ าโน 14

ภาพที่ 7 รางวลั ระดับชาตแิ ละนานาชาตขิ องนักวจิ ยั และเกษตรกรชมุ ชน 15

2. ต้นแบบโมเดลกำรบริกำรวชิ ำกำรสู่ชุมชนตำมปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียงและแผนยุทธศำสตรป์ ระเทศไทยแบบมีส่วนรว่ ม อันดับแรกก่อนการบริการวิชาการแก่ชุมชนต้องดาเนินการสารวจความต้องการ ปัญหาและผลกระทบของชุมชน หลังจากน้ันคณะนักวิจัยและเครือข่ายจึงดาเนินการวางแผนงานการบริการวิชาการแก่ชุมชนและขยายพนื้ ท่กี ารบรกิ ารวชิ าการถ่ายทอดเทคโนโลยีชวี ภาพและนวัตกรรมตามต้นแบบโมเดลการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยหัวเชอื้ จุลินทรีย์นาโนแบบครบวงจรแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย โดยการวางแผนงานโครงการและกิจกรรมต้ังแต่กิจกรรมต้นนา้ กจิ กรรมกลางนา้ และกิจกรรมปลายนา้ เพือ่ สร้างอตั ลักษณ์ของพืน้ ที่ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดบั ท้องถิ่น และสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยและเครือข่าย ภาพที่ 4-5 ต่อมาจึงดาเนินการบริการวิชาการแก่ชุมชนผ่านโครงการกิจกรรม 3 กลุ่มคือ 1.) กิจกรรมตน้ น้ำ ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนร่วมกับสารชีวภาพบึงกาสามทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี หรือกิจกรรมการพัฒนาการปลูกข้าวด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนร่วมกับสารชีวภาพบึงกาสามร่วมกับปุ๋ยเคมี เพ่ือช่วยเกษตรกรลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพ่ิมรายได้และกาไรให้กับเกษตรกร 2-4 เท่าจากการรวบกลุ่มเกษตรกรเป็นแปลงใหญ่ 2.) กิจกรรมกลำงน้ำ ได้แก่กิจกรรมการแปรรูปข้าวเปลือกให้กลายเป็นข้าวกล้องหรือข้าวขาวด้วยเทคโนโลยีเคร่ืองสีข้าวชุมชน การแปรรูปข้าวและวัสดุเหลือใช้ เช่น ลูกข้าวฟาง เป็นผลติ ภณั ฑ์สปาความสวยงาม อาหาร อาหารเสริม อื่นๆ การออกแบบสติกเกอร์ ถุงและกล่องบรรจุภัณฑ์ และเทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์แบบสุญญากาศ การขอใบรับรอง GAP (Good Agricultural Practice) หรือorganic Thailand 3.) ปลำยน้ำ ได้แก่ กิจกรรมการดาเนินการจาหน่ายข้าวอินทรีย์และผลิตภัณฑ์ที่ได้ตามมาตรฐานกรมวิชาการเกษตร ปราศจากโลหะหนักปนเปื้อน ท้ังในและต่างประเทศ และพัฒนาศักยภาพการตลาดอย่างมืออาชีพร่วมกับบริษัทจาหน่ายสินค้าต่างประเทศและในประเทศ อันนาไปสู่การ 16

พัฒนาชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจ และสนับสนุนให้ชุมชนมีการรักษาและพัฒนาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชุมชนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ต้นแบบโมเดล (Model) การพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนผสมร่วมกับสารชีวภาพบึงกาสาม ปทุมธานีบนพ้ืนฐานของความพอประมาณ ภูมคุ้มกันและมีเหตุและผลสอดคล้องตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 และแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกจิแห่งชาติฉบับท่ี 12 (2560-2564) พร้อมกันนี้นักวิจัยศึกษาวิจัยเชิงพ้ืนที่แบบมีส่วนร่วม CSR(Community Social Research) or CSV(Community Social Value) และพัฒนานวัตกรรม R&D (Research and Development) ให้เหมาะสมกับปัญหาและผลกระทบของพ้ืนท่ี อันนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ out came แก่เครือข่ายทุกภาคส่วนน้ัน ได้แก่ นักวิจัย นักศึกษา ชุมชน สถานประกอบการมหาวิทยาลัยฯ เครือข่ายนานวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนไปดาเนินการแปรรูปตามต้นแบบโมเดลการพัฒนาและจัดการชุมชนแบบย่ังยืนตามลาดับขน้ั ตอน 8 ขน้ั ตอนดังน้ี ภาพท่ี 8-10 ข้ันตอน1 การสารวจพ้ืนที่ชุมชนก่อนการบริการวิชาการและการรวบรวมข้อมูลวิจัยต่อยอดเชิงพ้ืนที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพจุลินทรีย์ พืช สัตว์ รายได้ กาไร ต้นทุน และสภาพส่ิงแวดล้อม ด้วยเคร่ืองมือได้แก่ แบบสอบถาม การลงพ้ืนที่และดาเนินการด้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์(scientific process) การรวบรวมและบรู ณาการข้อมลู ขั้นตอน2 การออกแบบต้นแบบโมเดลการพัฒนาและจัดการพัฒนาชุมชนด้วยนวัตกรรมชีวภาพและเทคโนโลยี การกาหนดแผนงานการบริการวิชาการสู่ชมุ ชนและสรา้ งอัตลกั ษณ์ชุมชน ความรับผิดชอบของเครอื ข่าย ดัชนีชี้วัดผลสาเร็จ 17

ข้ันตอน3 การบริการวิชาการสู่ชุมชนตามต้นแบบโมเดลการพัฒนาและจัดการพัฒนาชุมชนด้วยนวัตกรรมชีวภาพและเทคโนโลยีและการตรวจติดตามและการวเิ คราะห์ผลร่วมกับเครือข่าย ขั้นตอน4 การศึกษาวิจัยต่อยอดร่วมกับเครือข่ายฯ ชุมชน สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนทุนการดาเนินการศึกษาวิจัยและพัฒนาจากแหล่งทุนภายนอก ได้แก่ สกอ. สกว. สวทช. อพสธ.วช. พวอ. Talents mobility อืน่ ๆ ข้ันตอน5 การพัฒนากระบวนการผลิตและแปรรูปผลผลิตในระดับpilot scale และ Industry scale การขอใบรับรองตามมาตรฐาน GAP และการพัฒนาศกั ยภาพด้านการตลาด ข้ันตอน6 การพัฒนาและขยายพื้นที่การปลูกปา่ ไม้และเกษตรอินทรยี ์ร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนและผลิตภัณฑ์แปรรูปของชุมชน เพ่ือลดต้นทุนเพ่ิมผลผลติ เพิ่มรายได้ กาไร และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม ขั้นตอน7 การตรวจตดิ ตามและการวเิ คราะหห์ ลังการบริการวิชาการสู่ชมุ ชน เพื่อกาหนดแผนงานการบริการวิชาการที่ตรงกับความต้องการชุมชนให้ได้ผลสัมฤทธ์ิ ผลสาเรจ็ out come แกเ่ ครือข่ายทกุ ภาคสว่ น ขั้นตอน 8 การศึกษาวิจัยและพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ(R&D) เพื่อลดระยะเวลา ลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพิ่มรายได้กาไร รักษาสภาพแวดล้อม อ่ืนๆ เพื่อการปลูกป่าไม้และการเกษตรอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี อันนาไปสู่การพัฒนาชุมชนด้านส่ิงแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมแบบย่ังยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 18

ภาพท่ี 8 ต้นแบบโมเดลการพัฒนาและจดั การชมุ ชนบึงกาสามดว้ ยหวัเชื้อจุลินทรยี ์นาโนแบบยัง่ ยนื อาเภอหนองเสอื จงั หวดั ปทุมธานี 19

ภาพที่ 9 ตน้ แบบโมเดลการพัฒนาและจัดการชมุ ชนโคกขาม ด้วยหวั เชื้อจลุ นิ ทรีย์นาโนแบบยัง่ ยนื ตาบลโคกขาม จังหวดั สมุทรสาคร 20

ภาพท่ี 10 การแปรรปู ข้าวอินทรยี ์เป็นสินคา้ ระดับ SMEs ชมุ ชนและการเพิ่มศกั ยภาพการตลาดชุมชน จะเห็นว่า การบูรณาการศึกษาวิจัยต่อยอดเชิงพ้ืนที่ การบริการวิชาการ การถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีหวั เชื้อจุลนิ ทรีย์นาโน และการแปรรูปผลผลิตชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างต่อเน่ืองตามต้นแบบโมเดลการพัฒนาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และปฏิบัติการพัฒนาและจัดการชุมชนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีของชุมชน 21

หนว่ ยงาน นักเรยี น นักศกึ ษา มหาวิทยาลยั ฯ อันนาไปส่กู ารพัฒนาส่ิงแวดล้อมสังคม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพที่ 11 ดงั นี้ แหล่งเรียนรู้/การอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อมศิลปวัฒนธรรม การบริการวิชาการแก่ชุมชน ถา่ ยทอดตน้ แบบโมเดลฯ การวิจยั ตอ่ ยอดแบบมีส่วน ร่วมกบั เครือขา่ ยและการเรียนรู้ เป้าหมายการ บริการวชิ าการตาม ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งภาพท่ี 11 การบรู ณาการวจิ ยั สู่การบริการวชิ าการ การเรยี นการสอน การอนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและยุทธศาสตร์ประเทศไทยและแผนพฒั นาสงั คมและเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2664) อนันาไปส้เู ปา้ หมาย ผลสัมฤทธ์ิ out came แกเ่ ครือข่ายทุกภาคสว่ น 22

2.1.กำรศกึ ษำวิจัยต่อยอด 1.1.1 กำรศึกษำวิจัยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพเชื้อรำและนวัตกรรมหัวเช้ือจุลินทรีย์นำโนเพ่ือกำรพัฒนำกำรฟื้นฟูป่ำชำยเลนและกำรเกษตรอนิ ทรยี ์ Kongkamol S. (2001) ไดท้ าการศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพของเช้ือราดินเลนบนซากใบโกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสมทะเลและแสมขาวบริเวณปากแม่น้าท่าจีน ฝั่งตะวันออก ตาบลโคกขาม และฝั่งตะวันตก ตาบลบางหญ้าแพรก จังหวัดสมุทรสาคร พบเช้ือราดินเลน 49 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นเ ชื้ อ ร า Subdivision Deuteromycotina genus เ ช่ น Aspergillus sp. ,Trichoderma sp. และ Penicillium sp. และศึกษาประสิทธิภาพการย่อยสลายเศษซากใบ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก แสมทะเลและแสมขาว พบว่าเศษซากใบแสมขาวถูกย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์เชื้อราดีทีสุด รองลงมา ได้แก่เศษซากใบแสมทะเล ใบโกงกางใบเล็ก และใบโกงกางใบใหญ่ ตามลาดับ โดยพ้ืนท่ีป่าชายเลนฝ่ังตะวันออก ตาบลโคกขาม ใช้ระยะเวลาในการย่อยสลาย 6เดือน ส่วนพ้ืนที่ป่าชายเลนฝ่ังตะวันตก ตาบลบางหญ้าแพรก ใช้ระยะเวลาในการย่อยสลาย 8 เดือน ดินเลนมีสารประกอบของธาตุอาหารหลักรองและเสริมสาหรับการเติบโตมากขึ้น ส่งผลให้ได้พ้ืนที่ป่าชายเลนที่สมดุลธรรมชาติภายในระยะเวลา 10-15 ปี (Lacambra, 2013 สนิท, 2542 สนิทและคณะ,2547 อรวรรณ, 2553) สาหรับเป็นแหล่งบาบัดน้าเสีย ป้องกันการกัดเซาะชายฝง่ั ทะเล แหลง่ เรยี นรู้ของชุมชน เพิม่ ความหลากหลายทางชีวภาพพชื สัตว์หนา้ ดิน สัตวน์ ้าเพม่ิ ขนึ้ (สถาบันส่งิ แวดลอ้ มไทย, 2552 สนิท, 2542) สุกาญจน์ (2550) ได้ทาการศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพเชื้อราดินเลน การร่วงหล่นเศษซากพืช(litter fall) และการย่อยสลายเศษซากใบโกงกางใบเล็กและแสมขาว(Decompose) ปากแม่น้าท่าจีน บริเวณบริเวณฝัง่ตะวันตก ตาบลบางหญ้าแพรก จังหวัดสมุทรสาคร พบความหลากหลายทางชีวภาพเช้ือราท่ีช่วยในการย่อยสลายใบโกงกางใบเล็กและใบแสมขาว จานวน 23

33 ชนิด โดยจัดเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ 19 ชนิด เช่น Aspergillus niger,Gliocladium sp., Rhizopus sp., Trichoderma sp. และ Penicillium sp.อื่นๆ นอกจากน้ีศึกษาคุณสมบัติทางชีวเคมี ได้แก่ การหล่ังเอนไซม์ Laccase,peroxidase, lignase, protease ปริมาณการสร้างน้าตาลรีดิวซ์ กรดอะมิโนการปรบั สภาพ pH (จริ เดช 2545) พบวา่ เชื้อราปฏปิ ักษม์ ปี ระสทิ ธิภาพสูง และอนรุ ักษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพเช้ือราเพ่อื ศึกษาในระดับสูงต่อไป สุกาญจน์และคณะ (2552) ได้วิจัยต่อยอดการผลิตหัวเชื้อราสดสายพันธุ์เด่ียวสกุล Trichoderma จานวน 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ T. hamatum T.hazianum T. viride บนตัวเติมจากธรรมชาติ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการเพาะต้นกล้าพืชป่าชายเลนเบิกนา ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก แสมขาว แสมทะเล ตะบูนขาว อ่ืนๆ ร่วมกับสถานีส่งเสริมและเรียนรู้ป่าชายเลนท่ี 7 อาเภอยสี่ าร จังหวัดสมุทรสงคราม บ่มบริเวณโรงเรอื นท่มี ีน้าท่วมถึง ปรากฏว่า การเติบโตต้นกล้าเกี่ยวกับ ความสูง ขนาดลาต้น และจานวนใบตน้ กลา้ พืชเบกิ นาท่ีใสห่ ัวเช้อื ราสด T. viride มกี ารเติบโตความสงู ขนาดลาต้นและจานวนใบ ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ต้นกล้าไม้เบิกนาท่ีใส่หัวเช้ือราสดเด่ียวสายพันธ์ุ T. hazianum และ T. hamatum ตามลาดับ ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษาของ Frank, 2005 ที่ใช้เชื้อปฏิปักษ์ชักนาการเติบโตและสร้างภมู คิ ุ้มกันพืช สุกาญจน์และคณะ (2553) วิจัยต่อยอดร่วมกับศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนและชายฝ่ัง ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร นาต้นกล้าไม้เบิกนาท่ีเพาะร่วมกับหัวเชื้อราสดสายพันธ์ุเดี่ยวๆสกุล Trichoderma ทั้ง 3 สายพันธ์ุ อายุ 6 เดือน ทาการปลูกด้วยเทคนิคชีวภาพ บริเวณนากุ้งร้าง ฝั่งตะวันออก ปากแม่น้าท่าจีน ตาบลโคกขามจังหวัดสมุทรสาคร พบว่าการเติบโต ความสูง ขนาดลาต้น จานวนใบ เป็นไปในทิศทางเดียวกับการเติบโตของต้นกล้า 2-3 เท่า คือ ต้นโกงกางใบใหญ่โกงกางใบเล็ก แสมขาว แสมทะเล ตะบูนขาว ท่ีปลูกร่วมกับหัวเชื้อราสด T. 24

viride มกี ารเติบโตความสูง ขนาดลาต้น และจานวนใบ ดที ส่ี ดุ รองลงมาได้แก่ต้นไม้เบิกนาที่ใส่หัวเชื้อราสดเดี่ยวสายพันธุ์ T. hazianum และ T.hamatum ตามลาดับ ซ่ึงผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษาของ Frank,2005 ที่ใช้เชอ้ื ปฏปิ กั ษ์ชักนาการเติบโตและสรา้ งภมู ิคุ้มกนั พชื สกุ าญจนแ์ ละคณะ (2554) ศึกษาวิจยั ตอ่ ยอดการผลิตหัวเช้ือราเด่ียวและผสมจากเช้ือราปฏิปักษ์สกุล Trichoderma และจุลินทรีย์ปฏิปักษ์แบคทีเรีย แอกติโนม้ัยซิส บนตัวเติมอินทรีย์จากชุมชนท่ีได้ผ่านกระบวนการทางชีวภาพให้อยู่ในรูปสารประกอบที่เหมาะสมสาหรับการรักษาเช้ือรา ในรูปอัดเม็ด สาหรับยืดอายุการคงสภาพและนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการเพาะและปลูกป่าชายเลน บริเวณนากุ้งร้าง ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครพบว่าการเติบโตพืชเบิกนาป่าชายเลนความสูง ขนาดลาต้น จานวนใบดีกว่าการปลูกป่าชายเลนโดยไม่ใช้หัวเชื้อราผสมอัดเม็ด 4.3 เท่า การอดตายมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ การปรากฏรากค้ายันด้วยหัวเชื้อราผสมอัดเม็ดจะปรากฏ หลงั การปลูก 8 เดอื น ในขณะที่การปลกู โดยไม่ใช้หัวเชอื้ ราผสมอัดเม็ดจะปรากฏรากคา้ ยันหลงั การปลกู 15 เดอื น สุกาญจน์ (2555) ขอย่ืนจดสิทธิบัตร หัวเช้ือราอัดเม็ด ปี พ.ศ. 2555พร้อมขยายกาลังการผลิตหัวเชื้อราผสมอัดเม็ดในระดับ pilot scale ตามมาตรฐานกรมพัฒนาท่ีดิน พ.ศ. 2556 สาหรับนาไปใช้ในการพัฒนาการเพาะและปลูกป่าชายเลนร่วมกับหัวเช้ือราผสมอัดเม็ด บริเวณดินตะกอนเลน หลังแนวไมไ้ ผ่ชะลอคลื่น ตาบลโคกขาม จงั หวดั จงั หวดั สมทุ รสาคร สุกาญจน์ (2555) ได้ทาการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเชื้อราดินเลนหลงั การปลกู โกงกางใบใหญ่และแสม บริเวณนากงุ้ รา้ ง ตาบลโคกขาม อาเภอเมือง จังหวดั สมุทรสาคร พบความหลากหลายทางชวี ภาพเช้ือราหลังการปลูกโกงกางใบใหญแ่ ละแสมจานวน 43 ชนิด และศกึ ษาคุณสมบัติเชื้อราเกี่ยวกับสัณฐานวิทยาและชีวเคมี คุณสมบัติการชักนาการเติบโต การเพ่ิมภูมิคุ้มกันพืชการควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรค การเร่งการย่อยสลายอินทรียสาร 25

การกาจัดปริมาณโลหะหนัก การปรับสภาพดินเลน การเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารหลักรองและเสริม อ่ืนๆ นอกจากนี้นักวิจัยได้นาเช้ือราปฏิปักษ์ท่ีมีประสิทธิภาพดีดาเนินการผลิตเป็นนวัตกรรมหัวเช้ือจุลินทรีย์ผสมและเด่ียวในรูปเม็ด ผง สารละลาย ได้แก่ หัวเช้ือราผสมอัดเม็ด หัวเชื้อราผง จากความหลากหลายทางชีวภาพเช้ือราเดี่ยวของเช้ือราปฏิปักษ์ในรูปเม็ดและผง และหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดจากจุลินทรีย์ปฏปิ ักษ์ผสมของเชื้อรา แบคทีเรียและแอกติโนมัยซิสตามมาตรฐานกรมพัฒนาท่ีดิน พ.ศ. 2556 สาหรับการพัฒนาการเพาะและปลูกพืชป่าชายเลนร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์ทดแทนการปลูกพืชป่าชายเลนโดยไม่ใช้หัวเช้ือจุลินทรีย์ พบว่าต้นไม้เบิกนาป่าชายเลนร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์ผสมของจุลินทรีย์ราแบคทีเรียและแอกติโนมัยซิสในรูปหัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดมีประสิทธิภาพเร่งการเติบโตพืชเบิกนาดีที่สุด รองลงมา ได้แก่หัวเช้ือราผสมอัดเม็ด หัวเชื้อราเด่ียว หัวเช้ือแบคทีเรียผสม และหัวเชื้อแอกติโนมัยซสิ ตามลาดบั เนอื่ งจากจุลินทรีย์ผสมหล่ังสารชักนาการเติบโตและสร้างภูมิคุ้มกัน ได้แก่ กรดซาลิไซลิก ซ่ึงเม่ือใช้เทคนิค Fourier transformedinfrared spectroscopy ศึกษาการสะสมของสารในกระบวนการชีวเคมีท่ีเก่ียวข้องกับ กลไกการส่งเสริมการเจริญเติบโต พบกลุ่มไขมัน ชนิด C-Hstretching (~3,000-2,800 cm-1 ) กลุ่ม ไขมันชนิด C=O ester (~1,740cm-1 ) และกลุ่ม amide I (~1,700-1,600 cm -1 ) มีปริมาณเพ่ิมสูงขึ้น แต่ใ น ก ลุ่ ม ค า ร์ โ บ ไ ฮ เ ด ร ต ช นิ ด C- H bonding, C- O stretching แ ล ะpolysaccharide (~1,450-1,350 cm -1 , ~1,246 cm -1 และ ~1,200-900cm -1 ) พบวา่ มีปรมิ าณลดตา่ ลง จึงทาให้ประสิทธิภาพของเช้ือปฏิปกั ษใ์ นการควบคุมโรคเน่าเชื้อแบคทีเรีย Erwinia carotovorapv. Carotovora sp.และเพ่ิมการเติบโตและภูมิคุ้มกัน (Park, et al. 2016 ชานนทร์, 2557)นอกจากนี้เช้ือจุลินทรีย์ปฏิปักษ์หลั่งเอนไซม์โปรติเอส กรดอะมิโน ฮอร์โมนน้าตาลรีดิวซ์ ได้ในปริมาณสูง (จิรเดช 2545 สุกาญจน์และคณะ 2555 Park,et al. 2016) 26

นอกจากนี้ นักวิจัยร่วมกับเครือข่ายภาครัฐบาล เอกชน ชุมชน คณะวิชาชพี ตา่ งๆของมหาวิทยาลยั ฯไดถ้ ่ายทอดตน้ แบบโมเดลการพฒั นาชุมชนโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครร่วมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเช้ือราผสมอัดเม็ดและหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดเพ่ือการปลูกป่าชายเลนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งแบบมสี ว่ นร่วม สุกาญจน์ (2557-2559) ขอยื่นจดสิทธิบัตร หัวเช้ือรา หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด พ.ศ 2557 และศึกษาวิจัยร่วมกับสถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาและวิจัยต่อยอดสิทธิบัตร หัวเชื้อราผสมอัดเม็ด พ.ศ.2555 หัวเชือ้ ราและหวั เช้ือชีวภาพอัดเม็ด พ.ศ. 2557 ใหม้ ีประสทิ ธิภาพสูงข้ึนและเหมาะต่อการนาไปใช้ประโยชน์และพัฒนาการผลิตในระดับโรงงานอุตสาหกรรมของสถานประกอบการ ภายใต้เครื่องหมายการค้ายี่ห้อ ธัญ หรือTHUN ไดแ้ ก่ หวั เชือ้ จลุ ินทรีย์นาโนชนดิ ผงและชนิดเม็ด สารชีวภาพนาโนชนิดเม็ด สารสกัดจุลินทรีย์นาโน สารชีวภาพกาจัดโรคพืช สารชีวภาพกาจัดศัตรูแมลงและเพ่ือการพัฒนาการปลูกป่าและเกษตรอินทรีย์ ท่ีได้ตามมาตรฐาน Qของกรมพัฒนาท่ดี ิน พ.ศ. 2556 พรอ้ มศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพของเชื้อราดินเลนหลังการปลูกโกงกางใบใหญ่และแสมร่วมกับหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด บริเวณดินตะกอนเลน หลังแนวไม้ไผ่ชะลอคล่ืน 7 ปีและ 9 ปี ปากแม่น้าท่าจีน ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร พบความหลากหลายทางชีวภาพเชื้อราท้งั หมด 13 ชนิดหลงั การปลูกร่วมกับหัวเช้ือชวี ภาพอัดเม็ด การแปรรูปวสั ดปุ ่าชายเลน ไดแ้ ก่ เศษใบไมท้ ่ีร่วงหล่น (litter fall) น้าและดินเลนให้อยู่ในรูปสารประกอบที่เหมาะสมสาหรับรากพืชดูดไปใช้ในเร่งการเติบโตอย่างรวดเรว็ ขึ้น ทาใหพ้ ืชปา่ ชายเลนมีการเติบโตของราก ขนาดลาต้น ความสูง มวลชีวภาพดกี วา่ การปลกู ป่าชายเลนโดยไม่ใชห้ วั เชอื้ จุลินทรยี น์ าโน 6.3 เท่า นอกจากนี้ นักวิจัยร่วมกับเครือข่ายภาครัฐบาล เอกชน ชุมชน คณะวิชาชีพต่างๆของมหาวิทยาลัยฯได้ขยายพ้ืนที่การถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการพัฒนาชุมชนโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัว 27

เชื้อจุลินทรีย์นาโนเพ่ือการปลูกป่าชายเลนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแล ะยุทธศาสตร์ชาติไทย 4.0 บริเวณนากุ้งร้าง ชุมชนขนอม จังหวัดน ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช ( สุ ก า ญ จ น์ แ ล ะ ค ณ ะ , 2 5 5 9 สุ ก า ญ จ น์ , 2559Rattanaloeadnusorn, 2012-2016) สุกาญจน์ (2557-2559) นักวิจัยนาหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนราแบคทเี รียและแอกติโนมัยซิสพัฒนากระบวนการแปรรูปมูลไก่ไข่และแกลบร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโน โรงงานอุตสาหกรรมเลี้ยงไก่ไข่ ประเทศมาเลเซีย สาหรับการผลิตสารชีวภาพชนิดผงและอัดเม็ด ท่ีได้ตามมาตรฐานกรมพัฒนาที่ดินพ.ศ. 2556 สาหรับการการพัฒนาการปลูกผักกวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ผลไม้ ข้าวปาล์มน้ามัน พืชไร่ มันสาปะหลัง อ้อย ส้ม มะนาว อื่นๆ อันสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับโรงงานเพ่ิมข้ึน 10 เท่าและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโรงงาน กลุ่มเกษตรกรลดต้นทุนการผลิต 1 ใน 3 หลังจากพัฒนาการปลูกพืชด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับสารชีวภาพที่ผลิตจากมูลไก่ไข่ด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มผลผลิต30-100 เปอรเ์ ซ็นต์ เพมิ่ รายได้และกาไร 30-100 เปอร์เซ็นต์ เนือ่ งจากการลดปริมาณการใส่ปุ๋ยเคมีลง 30 เปอร์เซ็นต์แต่ใส่สารชีวภาพที่ผลิตจากมูลไก่ไข่ด้วยหัวเชอื้ จลุ ินทรยี ์นาโนทดแทน ปรากฏว่าผลผลิตเพม่ิ ขนึ้ ปรับสภาพดนิ ร่วนซุยขึน้ พร้อมกันน้ี นักวิจัยร่วมกับเครือข่ายภาครัฐบาล เอกชน ชุมชน คณะวิชาชีพต่างๆของมหาวิทยาลัยฯได้ถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการพัฒนาชุมชนบงึกาสาม ปทุมธานี ร่วมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเพ่ือการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ชาติไทย 4.0 และศึกษาวิจัยเปรียบเทียบการพัฒนาการปลูกข้าว ปาล์มน้ามันผกั บงุ้ จนี กวางต้งุ มะนาว ลาไย ด้วยปุ๋ย 4 ชนิด ไดแ้ ก่ 1.) การปลูกพชื ร่วมกับหัวเชอ้ื จุลนิ ทรยี ์และสารสกัดจุลินทรยี ์นาโน 2.) ปยุ๋ เคมีรว่ มกบั หวั เช้ือจลุ ินทรีย์3.) ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์ และ4.)ปุ๋ยเคมี พบว่าเกษตรกรท่ีเพาะปลูกร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์และสารสกัดจุลินทรีย์นาโน สามารถลด 28

ต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพิ่มรายได้และกาไรดีท่ีสุด 50-100 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่ ปุ๋ยเคมีร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ตามลาดับ (สุกาญจน์และคณะ, 2558 อัชฌาณัทและคณะ, 2559 สุกาญจน,์ 2559 Rattanaloeadnusorn, 2012-2016) นอกจากน้ี นักวิจัยศึกษาวิจัยต่อยอดร่วมกับโรงงานผลิตน้ามันปาล์มของบริษัท สยามโมเดิร์นจากัด จังหวัดกระบ่ี เพ่อื นาหวั เชอื้ จุลินทรยี น์ าโนแปรรูปวัสดุเหลือใช้จากการกระบวนการผลิตน้ามันปาล์มให้เกิดมูลค่าเพ่ิม สร้างรายได้เพ่ิมแก่โรงงานอุตสาหกรรม 10 เท่า จากการจาหน่ายสินค้าแปรรูปให้กับกลุ่มเกษตรกรรอบๆโรงงานนาไปพัฒนาการปลูกปาล์มน้ามันให้ได้ผลผลิตเพ่ิมข้ึน 30-100 เปอร์เซ็นต์ ท่ีสาคัญแก้ปัญหาสภาพแวดล้อมดิน น้าและอากาศรอบๆโรงงาน และถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารแปรรูปตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและยุทธศาสตรช์ าตไิ ทย 4.0 สุกาญจน์และคณะ 2560-ปัจจุบัน ศึกษาวิจัยต่อยอดกระบวนการผลิตหัวเชื้อรานาโนเดี่ยวๆ แบคทีเรียนาโนเดี่ยวๆ แอกติโนมัยซิสนาโนเดี่ยวหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนผสมบนตัวเติม carrier ตัวจับ binder อินทรีย์ในรูปที่เหมาะสม ในระดับ pilot scale และ industry scale สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมนาหวั เชอื้ จุลนิ ทรยี ์ผสมนาโน และหัวเชื้อจุลินทรียน์ าโนเดยี่ วๆไปใชใ้ นการเรง่ การเติบโตและสร้างภูมิคุ้มกันและควบคุมโรค ปรบั สภาพแวดล้อมสาหรับการพัฒนาการปลูกพืชและเพาะเล้ียงสัตว์ และสัตว์น้า ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ให้มีต้นทุนการผลิตลดลง แต่ได้ผลผลิตเพ่ิมมากขึ้น และรักษาสภาพแวดล้อม พร้อมกันนี้นักวิจัยร่วมกับเครือข่ายภาครัฐบาล เอกชน ชุมชน คณะวิชาชีพต่างๆของมหาวิทยาลัยฯได้ขยายพื้นที่การถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการพฒั นาชุมชนรว่ มกับนวัตกรรมและเทคโนโลยหี วั เช้ือจลุ ินทรยี ์นาโน ใหก้ ับพืน้ ที่ชุมชนบึงบา จังหวัดปทุมธานี และพ้ืนที่ชุมชนจังหวัดสุราษฎรธานี เพ่ือการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ชาติไทย 29

4.0 และนักวิจัยศึกษาวิจัยต่อยอดและถ่ายทอดเทคโนโลยีร่วมกับโรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ ภาครัฐบาล ชุมชนเครือข่ายฯพัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ เพ่ือการจัดการส่ิงแวดล้อมแบบ zero wastesเพ่ือลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพ่ิมรายได้ เพ่ิมกาไรและรักษาสภาพแวดล้อมแก่เครือข่ายทุกภาคส่วน สาหรับการพัฒนาเกษตรอินทรยี ์และการปลกู ป่าไม้ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและยทุ ธศาสตร์ชาตไิ ทย 4.02.2 กำรศึกษำวจิ ัยตอ่ ยอดเพ่ือกำรปลูกปำ่ ชำยเลนดว้ ยเทคโนโลยี Roslan H. (2010) ศึกษาการฟื้นฟูป่าชายเลนในมาเลเซีย บริเวณหลังแนวเข่ือนหินท่ีมีการท้ิงหินกันคล่ืนและเร่งการตกตะกอนดินเลน แล้วนาต้นกล้าอายุ 6 เดือนที่เพาะชาในใยมะพร้าวลงปลูกในพื้นที่วิจัย พบว่าพืชมีอัตราการรอด 30 และมีค่าใชจ้ ่ายท่ีสงู สาหรบั การเพาะตน้ กล้าไม้ในใยมะพร้าวและเม่ือนาไปลงปลูกในพ้ืนที่กลับมีอัตราการรอดท่ีต่าไม่คุ้มกับค่าใช้จ่ายท่ีเสียไป ดังน้ัน ควรทาการเพาะต้นกล้าพืชสาหรับการฟ้ืนฟูโดยใช้ดินเลนผสมใยมะพรา้ วน่าจะเหมาะสมและดีกวา่ เฉพาะใยมะพร้าวอย่างเดียว Toe T. A. (2013) ศึกษาการฟื้นฟูป่าชายเลนในพม่า บริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้าอิระวดี ปรากฏว่าพันธ์ุไม้ป่าชายเลนมีการฟื้นตัว พบว่าพืชท่ีมีระบบรากค้าจุน(prop root) ในสายพันธุ์ Rhizophoraceae ได้แก่พังกาหัวสุม (B. sexangula) และโกงกางใบเล็ก (Rhizophoraceaeapiculata) มีความอ่อนไหวต่อการถูกรบกวนของธรรมชาติ ในขณะเดียวกันถ้าทาการฟ้ืนฟูโดยไม่ใช้พืชสายพันธุ์ Rhizophoraceae ได้แก่แสมจะพบว่ามีความความยืดหยุ่นและมีความทนทานต่อกระแสคล่ืนและกระแสลมได้ดกี ว่า Hai R. (2009) ศึกษาการฟื้นฟูป่าชายเลนในสาธารรัฐประชาชนจีนด้วยสายพันธ์ุพืช Sonneratia apetala ท่ีนามาจากต่างถ่ิน และสายพันธุ์โกงกางในท้องถิ่น K. candel พบว่าสายพันธุ์โกงกางในท้องถ่ิน K. 30

candel จะเจริญเติบโตดีกว่าสายพันธ์ุต่างถ่ิน (S. apetala) เพราะสายพันธุ์โกงกางมีการเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนเค็ม ต้นสูง ระบบสืบพันธุ์ท่ีดีและการปรับให้เข้ากับโครงสร้างป่าชายเลนและแหล่งที่อยู่อาศัยได้ดีกว่า S.apetala นอกจากนี้นักวิจัยได้ศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณการจัดเก็บคาร์บอนในชีวมวลระหว่างโครงสร้างของการปลูกป่าชายเลนเชิงเด่ียวและป่าชายเลนผสม โดยใช้พืช 2 ชนิด ได้แก่ S. caseolaris และ S. apetalaพบว่ามีการแข่งขันการเติบโตทีร่ ุนแรงระหว่างพืชสองชนิด โดยท่ี S. apetalaอายุ 25 เดือน มอี ตั ราการเจริญเตบิ โตได้อยา่ งรวดเร็วกว่า S. caseolaris และพบว่าการจัดเก็บคาร์บอนในชวี มวลตา่ กว่าเม่ือทาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว แต่จะมกี ารจดั เกบ็ คาร์บอนในชวี มวลสูงในการปลูกพชื ป่าชายเลนผสม ดังนน้ั ควรทาการฟื้นฟูด้วยการปลุกพืชป่าชายเลนผสม เพื่อเพิ่มการจัดเก็บคาร์บอนในชีวมวลให้มากข้ึน Park, et al. 2016 ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเร่งการเติบโตและสร้างภูมิคุ้มกันการควบคุมโรคของปลาด้วยหัวเช้ือจุลินทรีย์ 5 ชนิดได้แก่ 1.) หัวเชือ้ ราและแบคทีเรียผสม 2.) หัวเช้อื ราผสม 3.) หวั เชอื้ แบคทีเรียผสม 4.) หัวเชือ้ ราเด่ยี ว 5.) หัวเชือ้ แบคทเี รียเด่ยี ว รว่ มกบั อาหารหมกั จากวัสดุเหลือใช้โรงงานแปรรูปปลา จานวน 10 9 cfu/gm พบว่าหัวเชื้อราและแ บ ค ที เ รี ย ผ ส ม เ ร่ง ก า รเ ติ บโ ต แ ล ะ ส ร้า ง ภูม คุ้ ม กั น เพ่ิ ม ข้ึ น ก ว่า ไ ม่ ไ ด้ใช้หัวเช้ือจุลินทรีย์มีค่า 70 เปอร์เซ็นต์ การรอดตายเพิ่มขึ้น 90 เปอร์เซ็นต์ รองลงได้แก่ 1.) หัวเชื้อราผสม 2.) หัวเชื้อแบคทีเรียผสม 3.) หัวเช้ือราเดี่ยว 4.) หัวเชื้อแบคทีเรียเดี่ยว ตามลาดับ เน่ืองจากเช้ือจุลินทรีย์ผสมหล่ังสารโปรตีนได้แก่ เอนไซม์โปรติเอส กรดอะมิโน ฮอร์โมน น้าตาลรีดิวซ์ เร่งการย่อยสลายอินทรียสารให้อยู่ในรูปท่ีเหมาะสมสาหรับรากพืชดูดนาไปใช้ในการเติบโตสร้างภูมคุ้มกัน ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม จึงทาให้ปลามีการเติบโตและสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี ลดระยะเวลาการเพาะเลี้ยงปลาลง ลดต้นทุนค่าอาหารเพิ่มรายได้จากการเพ่ิมผลผลิต 31

สุกาญจน์และคณะ (2555) ศึกษาการพัฒนาการเพาะและปลูกพืชป่าชายเลนเพื่อการฟ้ืนฟูป่าชายเลนด้วยเทคนิคทางชีวภาพหัวเชื้อราอัดเม็ดบริเวณนากุ้งร้าง ปากแม่น้าท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ตั้งแต่ปี 2550 ถึงปัจจุบัน และศึกษาประสิทธิภาพการทางานร่วมกันของเช้ือราปฏิปักษ์ในการชักนาการเจริญเติบโตต้นกล้า การควบคุมเช้ือราก่อโรค การเร่งการย่อยสลายสารอินทรียสารและอนินทรียสารให้กลายเป็นธาตุอาหารหลัก อ่ืนๆ หลังจากนัน้ จึงทาการเพาะและปลูกป่าตน้ กล้าไม้ด้วยหวั เชือ้ ราอัดเมด็ ได้แก่ ต้นโกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) โกงกางใบเล็ก แสมขาว แสมทะเลตะบูนขาว บริเวณนากุ้งร้าง ปากแม่น้าท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร และศึกษาวิจัยเพื่อตรวจติดตามดัชนีการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพและกายภาพได้แก่ อัตราการเจริญเติบโต ปริมาณธาตุอาหารหลัก การร่วงหล่นเศษซากการย่อยสลาย และปริมาณโลหะหนักท่ีปรากฏในพื้นที่ดินป่าชายเลน บริเวณนากุ้งร้าง ปากแม่น้าท่าจีน เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตดว้ ยหัวเชื้อราอัดเม็ด พบว่าการรอดตายของต้นกล้าไม้สกุลโกงกาง สกุลแสม สกุลตะบูน สูงมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ ลาต้นและรากของพันธ์ุไม้ป่าชายเลนสามารถดกั จบั ตะกอนเลน การเจรญิ เตบิ โตของรากค้ายันใชเ้ วลาเพยี ง 8 เดือนการเจริญเติบโตความสูง ขนาดลาต้นและจานวนใบ ดีกว่าการไม่ใช้หัวเชื้อราอัดเมด็ ประมาณ 2-3 เท่า สุกาญจน์และคณะ (2557) ได้ทาการศึกษาวิจัยการเพาะและปลูกป่าชายเลนร่วมกับนวตั กรรมหัวเชือ้ ชีวภาพอัดเม็ด บริเวณนากุ้งรา้ ง ปากแม่น้าท่าจีน ตาบลโคกขาม สมุทรสาคร และตรวจตดิ ตามเกี่ยวกับดัชนีทางชีวภาพและกายภาพและวิเคราะห์ข้อมูลทางคณิตศาสตร์เชิงซ้อน เพื่อสร้างโมเดลการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove of restoration Model) สาหรบั การคาดคะเนถึงแนวโน้มการเติบโตและการทางานของโครงสร้างในระบบนิเวศป่าชายเลน (Structure and Function of Ecosystem) บริเวณนาก้งุ ร้างร่วมกบัหวั เชื้อราอดั เมด็ ซึง่ การปลูกโกงกางใบใหญ่ร่วมกับหัวเชือ้ ราอดั เมด็ ตามโมเดล 32

การฟื้นฟูระบบนิเวศป่าชายเลน มีประโยชน์คือลดระยะเวลาในการฟื้นฟูป่าชายเลนให้เหลือเพียง 5-6 ปี และลดจานวนคร้ังการตรวจติดตามป่าชายเลนจากที่ต้องตรวจติดตามป่าชายเลนตลอดท้ังปีให้เหลือเพียง 2-3 ครั้ง โดยนกั วิจยั เพียงนาคา่ ดชั นีความสูง(H) ของพชื ที่วัดได้ ไปแทนคา่ ในสมการหามวลชีวภาพ ก็จะทาให้ทราบข้อมูลการเติบโตต้นโกงกางใบใหญ่ และคาดคะเนชว่ งระยะเวลาการเข้าสู่สถานภาพสมดุลธรรมชาติ สาหรับนาพ้ืนที่ป่าชายเลนหลังการฟื้นฟูเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของความหลากหลายพืชสัตว์น้าและจุลินทรีย์เพ่ิมมากข้ึน เพ่ิมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ในการดารงชีพของมนุษย์และการป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ังทะเล อื่นๆ และออกแบบต้นแบบโมเดลการปลกู ปา่ ชายเลนโคกขามด้วยหวั เชื้อจลุ นิ ทรยี ์ สุกาญจน์และคณะ (2558) ศึกษาวิจัยการเพาะและปลูกปา่ ชายเลนร่วมกับนวัตกรรมหัวเช้ือชวี ภาพอัดเมด็ บรเิ วณนากุ้งร้าง อาเภอขนอม จงั หวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ต้นโกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก แสมทะเล พังกาหัวสุ่มดอกแดง ถ่ัว โปรงแดง ตะบูนขาว ตะบูนดา อื่นๆ สามารถเติบโตดีกว่าไม่ใช้หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด 4.3 เท่า อัตราการรอดตายมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ปรับสภาพดินเลนให้เหมาะสมต่อการเติบโต ลดปริมาณโลหะหนักในดินตะกอนเลนหลังการปลูกพืชร่วมกับหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด 30-50 เปอร์เซ็นต์พบวา่ การเตบิ โตและการเปลีย่ นแปลงทางชวี ภาพและกายภาพนากุ้งรา้ งชุมชนขนอมหลังการปลูกพืชตามต้นแบบโมเดลฯโคกขามมีผลในทิศทางที่สอดคลอ้ งกัน ค่าความถกู ต้อง R2 มากกว่า 90 เปอรเ์ ซ็นต์ บุญรุ่งและสุกาญจน์ (2559) ศึกษาการเติบโตของต้นโกงกางใบใหญ่ร่วมกับการใช้หวั เชื้อชวี ภาพอัดเมด็ ตามสิทธบิ ัตร 2555 และ 2557 บริเวณดินตะกอนเลนหลังแนวไม้ไผช่ ะลอคลื่น ระยะปลกู ห่าง 1 x 1 เมตร ปากแม่น้าท่าจนี ตาบลโคกขาม อาเภอเมือง จังหวดั สมุทรสาคร พบวา่ เปอร์เซ็นต์การเตบิ โตต้นโกงกางใบใหญ่ร่วมกับการใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดตามสิทธิบัตร 2557ได้แก่ ความสูง ขนาดลาต้น (GBH) และจานวนใบ อายุ 1 ปี เติบโตดีกว่าการ 33

ปลูกโกงกางใบใหญ่ท่ีไม่ใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดร่วมด้วย มีค่า +18.72 ,+18.68 และ +162.44 ตามลาดบั รากค้ายันปรากฏภายใน 8 เดอื น อัตราการรอดเพ่ิมจาก 33 เปอร์เซ็นต์เป็น 100 เปอร์เซ็นต์เนื่องจากเส้นใยเชื้อราปฏิปักษ์ ที่เกาะบริเวณปลายรากเร่งการย่อยสลายอินทรีย์สารในดินตะกอนเลนส่งผลให้ดิน ตะกอนเลนมีเปอร์เซ็นต์ปริมาณธาตุอาหารหลัก ได้แก่ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมเพ่ิมขึ้น มีค่า +57.62, +1.80 และ+15.39 ตามลาดับ เปอร์เซ็นต์โลหะหนักปนเปื้อนลดลงมีค่า -183.21 ดินตะกอนเลนมีสภาพเป็นกลาง ดังนั้นจึงควรพัฒนาการปลูกต้นโกงกางใบใหญ่ร่วมกับการใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด หลังดักตะกอนดินตะกอนเลนด้วยแนวไม้ไผ่ ทดแทนพัฒนาการปลูกต้นโกงกางใบใหญ่โดยไม่ใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดร่วมด้วย ภาพที่ 21 เนื่องจากเชื้อราปฏิปักษ์ท่ีเกาะปลายรากค้ายันจะช่วยเร่งการย่อยสลายอินทรียสารในดินเลนให้กลายเป็นธาตุอาหารหลักรองและเสรมิในรูปที่เหมาะสมต่อการเร่งการเติบโตของกระจุกรากค้ายันและการเติบโตเกี่ยวกับความสูง ขนาดลาต้นและจานวนใบ ได้มากกว่ าปกติ 30-80เปอร์เซน็ ต์ (Rattanaloeadnusorn, 2015) การรอดตน้ โกงกางใบใหญร่ ่วมกับการใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดมีค่ามากกว่า 90-100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจะเห็นว่าการเติบโตโกงกางใบใหญ่ร่วมกับการใช้หัวเชื้อราอัดเม็ดบริเวณดินตะกอนเลนหลังแนวไม้ไผ่ชะลอคลืน่ ระยะปลูก 1x1 เมตร บริเวณปากแม่นา้ ท่าจีน ตาบลโคกขาม อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร มีการเติบโตเก่ียวกับความสูง ขนาดลาต้นและจานวนใบดีกว่าการปลูกโกงกางใบใหญ่โดยไม่ได้ใช้หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด (สุกาญจน์, 2558) ซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษาการปลูกโกงกางใบใหญ่บรเิ วณหลงั เขือ่ นท่ีกั้นดว้ ยก้อนหิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (Roslan,2010) และการศึกษาการปลูกโกงกางใบใหญ่แต่ไม่ใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ดหลังแนวไม้ไผ่ชะลอคลื่น ปากแม่น้าท่าจีน ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาครพบว่าการเติบโตโกงกางใบใหญ่และการรอดต้นโกงกางใบใหญ่มีค่าเพียง 33เปอร์เซ็นต์เท่าน้ัน (สุกาญจน์, 2557) การเจริญเติบโตต้นโกงกางใบใหญ่ 34

ร่วมกับการใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด บริเวณหลังแนวไม้ไผ่ชะลอคล่ืนดีกว่าเนื่องจากเช้ือจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่เกาะตรงปลายรากสามารถดักจับสารอาหารและดูดธาตุอาหารได้ดีกว่ามีแนวไม้ไผ่ชะลอคล่ืน มากกว่ า 2 เท่า(Rattanaloeadnusorn, 2015) ประกอบกับต้นโกงกางใบใหญ่ร่วมกับการใช้หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดมีการเติบโตของระบบรากดีกว่าและมีเชื้อราปฏิปักษ์เกาะท่ีปลายราก (สังเกตจากการย้อมสีเส้นใยราก และตัดตามขวางราก x-section) ดังน้ันจึงทาให้รากค้ายันสามารถดูดสารประกอบธาตุหลักรองและเสริมในรูปทีเ่ หมาะสมผ่านระบบราก ส่งผลใหพ้ ืชมกี ารเติบโตของต้นโกงกางใบใหญม่ ีจานวนใบ ความสูง ขนาดลาตน้ มากกว่าต้นโกงกางใบใหญ่ท่ีไม่ใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด นอกจากน้ีการศึกษาของ Rattanaloeadnusorn, 2016 และPark, et al. 2016 พบว่าเช้ือจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ผสมหลายสกุลในนวัตกรรมหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดมีประสิทธิภาพในการเร่งการย่อยสลายอินทรียสารให้กลายเป็นสารประกอบทเี่ หมาะสมสาหรับพชื ช่วยชกั นาการเตบิ โตชว่ ยควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยปรับสภาพดินและน้าให้เหมาะสมต่อการเตบิ โต ลดปรมิ าณโลหะหนักปนเปือ้ น สุกาญจน์และคณะ (2559) ศึกษาการเติบโตพืชป่าชายเลนเบิกนาร่วมกับหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนและสารสกัดจุลินทรีย์นาโน พบว่าพืชเบิกนาสามารถเติบโตดีกว่าไม่ใช้หัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด 6.3 เท่า อัตราการรอดตาย100 เปอร์เซ็นต์ ปรบั สภาพดินเลนใหเ้ หมาะสมต่อการเตบิ โต ลดปรมิ าณโลหะหนักในดินตะกอนเลนหลังการปลูกพืชร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนและสารสกดั จุลินทรีย์นาโน 30-50 เปอรเ์ ซน็ ต(์ สกุ าญจน์, 2559) เนือ่ งจากเช้ือจลุ นิ ทรีย์ผสมหลั่งสารโปรตีน ได้แก่ เอนไซม์โปรตีเอส กรดอะมิโน ฮอร์โมน น้าตาลรีดิวซ์ เร่งการย่อยสลายอินทรียสารให้อยู่ในรูปที่เหมาะสมสาหรับรากพืชดูดนาไปใช้ในการเติบโต สรา้ งภมู คุ้มกนั ปรบั สภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสม จึงทาให้ปลามีการเติบโตและสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี ลดระยะเวลาการปลูกพืชลงคร่ึงหนึ่งของระยะเวลาเดิม ลดต้นทุนค่าปุ๋ย เพิ่มรายได้จากการเพิ่มผลผลิต พร้อมกัน 35

นี้ พชรและสุกาญจน์ 2559 ได้ตรวจติดตามมวลชีวภาพและปริมาณคาร์บอนเครดิตจากดัชนีความสูงของพืชป่าชายเลนท่ีปลูกด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์ บริเวณนากุ้งร้าง ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร พบว่าค่ามวลชีวภาพและปริมาณคารบ์ อนเครดติ มากกว่าการปลูกพชื โดยไมใ่ ช้หัวเชอ้ื ชีวภาพ 50 เปอร์เซน็ ต์2.2.3 กำรบรกิ ำรวชิ ำกำรถำ่ ยทอดนวัตกรรมหัวเชื้อจุลนิ ทรียน์ ำโนสู่ชุมชน สุกาญจน์ (2555-2559) ร่วมกับคณะวิชาชีพ 10 คณะ 1 วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและเครือข่ายฯภาครัฐบาล เอกชนชมุ ชน โรงเรียน อน่ื ๆ ดาเนินการบริการวิชาการถ่ายทอดการเพาะและปลูกพืชเบิกนาป่าชายเลนร่วมกับนวัตกรรมหัวเชื้อราอัดเม็ด หัวเชื้อรา และหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด 2 in 1 บริเวณนากุ้งร้าง และดินตะกอนเลนหลังแนวไม้ไผ่ตาบลโคกขาม อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ระยะห่าง 1x 1 เมตร จานวน20,000 ต้นต่อปี พบว่าชุมชนมีพ้ืนที่ป่าชายเลนท่ีสมดุลธรรมชาติเพิ่มข้ึน 12ไร่ภายในระยะเวลา 5 ปี (สุกาญจน์, 2559) จากปกติต้องใช้ระยะเวลาในการปลูกป่าชายเลนนาน 10-12 ปี (สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย, 2552 Lacambra,2013 สนิท, 2542 อรวรรณ, 2553) ส่งผลทาให้คุณภาพน้าและดินเลนหลังแนวปลูกป่าชายเลนด้วยเทคนิคชีวภาพร่วมกับหัวเช้ือหัวเช้ือราอัดเม็ด หัวเช้ือรา และหัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด 2 in 1 นาน 5 ปี มีปริมาณสารโลหะหนักปนเป้ือน ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม ทองแดงต่ากว่าค่ามาตรฐานกรมควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม เกษตรกรชาวนาเกลือหลังแนวป่าชายเลนท่ีปลูกด้วยหัวเชื้อหัวเช้ือราอัดเม็ด หัวเชื้อรา และหัวเช้ือชีวภาพอัดเม็ด 2 in 1สามารถผลติ เกลือทะเลท่ีมคี วามเคม็ สูงกวา่ 92 เปอร์เซ็นต์ ปราศจากสารโลหะหนักปนเปื้อน เพ่ิมมูลค่าเพ่ิมแก่ชาวนาเกลือ ต่อมากลุ่มเกษตรชาวนาเกลือกรงุ เทพฯ ตาบลโคกขามและพนั ทา้ ยนรสิงห์ รว่ มกับนกั วิจัยรวบรวมวัสดุเหลือใชจ้ ากการทานาเกลือ การประมง โรงงานอตุ สาหกรรม และป่าชายเลน ได้แก่ข้ีแดดนาเกลือ เกล็ดปลา เปลือกกุ้ง เศษซากใบไม้ที่ร่วงหล่น อ่ืนๆ เพ่ือทาการ 36

แปรรูปวัสดุเหลือใช้เหล่านั้นร่วมกับหัวเชื้อหัวเชื้อราอัดเม็ด หัวเช้ือรา และหัวเชอื้ ชีวภาพอัดเม็ด 2 in 1 เป็นสารชีวภาพโคกขามอดั เมด็ และสารสกัดชีวภาพเพอื่ พัฒนาการเพาะและปลูกป่าชายเลนด้วยสารชวี ภาพโคกขามร่วมกบั หัวเช้ือหวั เช้ือราอัดเม็ด หวั เช้อื รา และหัวเช้อื ชวี ภาพอดั เมด็ 2 in 1 ส่งผลใหก้ ารรอดพืชป่าชายเลนเบิกนาสูงมากกว่า 95-100 เปอร์เซ็นต์ และได้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและชายฝ่ัง เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการเพาะและปลูกป่าชายเลนด้วยหวั เช้ือหวั เช้ือราอัดเม็ด หัวเชอ้ื ราและหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ด 2 in 1 บริเวณนากุ้งร้างและดินตะกอนเลน ตาบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลน การสร้างมูลค่า รายได้ เพิ่มจากการแปรรูปวัสดุเหลือใช้เป็น SMEs ชุมชน ได้แก่ สารชีวภาพโคกขามอัดเม็ด ถ่านไบโอชา น้ายาสระผม ชาพืชสมุนไพร น้าหมักชีวภาพเพื่อสุขภาพยาหม่อง อ่ืนๆ สาหรบั จาหนา่ ยให้กับหน่วยงานสถานีสง่ เสริมการเรียนรู้ป่าชายเลน หน่วยงานเอกชน และเกษตรกร นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปลูกปา่ ชายเลนการเพาะปลูกผักสวนครัวสาระแน่แบบไม่ใช้ดิน(hydroponic) ทดแทนการใช้สารละลาย A และสารละลาย B การปลูกผักแบบยกแปลง ได้แก่ ถั่วฝักยาวผักบุ้งจีน กวางตุ้ง (สุกาญจน์และคณะ 2555) การปลูกข้าว ไม้ผล ได้แก่ทบั ทิม ส้มโอ (สกุ าญจนแ์ ละคณะ 2558) เนือ่ งจากเชื้อราปฏิปักษ์ในนวัตกรรมช่วยเร่งการชักนาการเติบโตของพืชดีกว่าปกติ 2-3เท่า เกษตรกรได้ผลผลิตอนิ ทรีย์เพิม่ ข้ึน กรอบ หวาน เนอ้ื แนน่ สามารถเก็บรักษาไว้ไดน้ านกว่าปกติ สุกาญจน์ (2559-ปัจจุบัน) ร่วมกับคณะวิชาชีพ 10 คณะ 1 วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและเครือข่ายฯภาครัฐบาล เอกชนชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการบริษัทเจริญโภคภัณฑ์แห่งมหาชน จากัด(CPF) อน่ื ๆ ดาเนนิ การบรกิ ารวิชาการถา่ ยทอดการเพาะและปลกู พืชเบิกนาป่าชายเลนร่วมกับนวัตกรรมหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโน และพัฒนาการแปรรูปด้วยเทคโนโลยีระดับท้องถ่ิน ได้แก่ ถังหมัก เตาเผาถ่านไบโอชาแบบไร้ออกซิเจน 37

เครือ่ งอดั เม็ด เคร่ืองอบแหง้ เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ SMEs ชมุ ชนตามมาตรฐานได้แก่ สารชีวภาพโคกขามอัดเม็ด ถ่านไบโอชา น้ายาสระผม ชาพืชสมุนไพรน้าหมักชีวภาพเพื่อสุขภาพ ยาหม่อง อ่ืนๆ และการขอใบรับรอง GAP ของผลิตภัณฑ์ เพ่ือจาหน่ายและนาไปใช้เป็นส่วนประกอบในการเพ่ิมคุณภาพสนิ คา้ ของโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตปุ๋ยชีวภาพและปยุ๋ อนิ ทรีย์ การพัฒนาการปลูกป่าชายเลนร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนและสารชีวภาพโคกขาม ดินเลนงอกใหม่ ตาบลบางหญ้าแพรก จังหวัดสมุทรสาคร ทาให้ชุมชนและเครือข่ายมีพื้นท่ีป่าชายเลนสาหรับการใช้ประโยชนเ์ พ่ิมขึ้นภายใน 5 -6 ปี การพัฒนาการปลูกพืชผัก ผลไม้ ข้าวร่วมกับหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนและสารชีวภาพโคกขามพร้อมกันน้ี เครือข่ายชุมชนร่วมกันจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเพ่ือพัฒนาศักยภาพการตลาด อบรม และถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการพัฒนาการปลูกป่าชายเลนด้วยเทคนิคทางชีวภาพและพัฒนาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจฉบับที่ 12 (2560-2564) และยุทธศาสตร์ชาติพร้อมประชาส้มพันธ์เผยแพร่ต้นแบบโมเดลสู่สาธารณะชนในรูป ชุดความรู้แผ่นพับ หนังสือ บทความวิจัย ส่ือวิดิโอ ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ Face bookและ line อ่นื ๆ สุกาญจน์ (2558-2562) ร่วมกับคณะวิชาชีพ 10 คณะ 1 วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและเครือข่ายฯภาครัฐบาล เอกชนชมุ ชน โรงเรยี น สถานประกอบการบริษัทไบโอเวลธ์ จากัด บรษิ ัท ซีโก้ไฮไบโอเทค จากัด ถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน หัวเช้ือราสารสกัดจุลินทรีย์นาโน และสารชีวภาพนาโนควบคุมโรคพืชและศัตรูแมลงอื่นๆ เพื่อพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ นาหว่านและนาดา บริเวณพื้นที่ดินกรดสูง(pH 3-4) ชุมชนบึงกาสาม ตาบลบึงกาสาม อาเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ทาให้ข้าวเติบโตดีกว่าปกติ กอใหญ่ ใบกว้าง ลาต้นตรง แข็งแรงเกษตรกรได้ผลผลิตเพิ่มข้ึน 30-100 เปอร์เซ็นต์ นาดาไรเบอรร่ีได้ได้ผลผลิตข้าว 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ นาหว่านข้าวหอมมะลิปทุมธานี 1200-1500 38

กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดข้าวสมบูรณ์ ไม่มีโรค ลดต้นทุนการใช้ปุ๋ย 1 ส่วน 3 ส่วนจากเดิม 4790 บาทเหลือเพียง 1,700-2,500 บาท ลดการเกิดโรคแมลง เพ่ิมรายได้และกาไรจากการจาหน่ายข้าวอินทรีย์ท่ีได้มาตรฐาน GAP สามารถจาหน่ายให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย สุกาญจน์และคณะ (2559-ปัจจุบัน) ร่วมกับคณะวิชาชีพ 10 คณะ 1วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและเครือข่ายฯภาครัฐบาลเอกชน ชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการบริษัท ไบโอเวลธ์ จากัด บริษัท ซีโก้ไฮไบโอเทค จากัด ถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนเข้มข้น สารสกัดจุลินทรีย์นาโน และสารชีวภาพนาโนควบคุมโรคพืชและศัตรูแมลง อ่ืนๆ เพื่อพัฒนาการปลูกปาล์มน้ามัน ผักสวนครัว ได้แก่ ผักบุ้งจีนกวางตุ้ง ผลไม้ ได้แก่ มะนาว ทุเรียน ส้ม พืชไร่ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสาประหลัง ไม้ดอก อ่ืนๆ พบว่าเกษตรกรได้ผลผลิตเพ่ิมขึ้น 30-100 เปอร์เซ็นต์รายได้และกาไร 30-50 เปอร์เซ็นต์ ลดต้นทุนการผลิต 30-50 เปอร์เซ็นต์หลังจากการพัฒนาการปลูกพืชเศรษฐกิจด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนร่วมกับสารชีวภาพนาโนและสารสกัดจุลินทรีย์นาโน รองลงมา ได้แก่ การพัฒนาการปลกู พืชร่วมกบั ปุ๋ยเคมี และปุย๋ อนิ ทรยี ์ ตามลาดบั (สุกาญจน์, 2559 อชั ฌาณัทและคณะ, 2559 Rattanaloeadnusorn, 2016) จึงทาให้เกษตรกรไทยและต่างประเทศส่ังซื้อหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเข้มข้นและผลิตภัณฑ์แปรรูปเพ่ือพัฒนาการเกษตรอย่างแพร่หลาย พร้อมกันน้ีนักวิจัยได้ตรวจติดตามและวเิ คราะห์ข้อมูลหลงั การปลูกพชื ของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง สกุ าญจน์และคณะ (2559-ปจั จบุ ัน) ร่วมกับคณะวิชาชพี 10 คณะ 1วทิ ยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรแี ละเครือข่ายฯภาครัฐบาลเอกชน ชุมชน โรงเรยี น สถานประกอบการบริษัท ไบโอเวลธ์ จากดั บรษิ ัท ซโี ก้ไฮไบโอเทค จากดั ถ่ายทอดนวตั กรรมและเทคโนโลยหี วั เชอ้ื จุลินทรียน์ าโน 39

เขม้ ข้น สารสกดั จุลนิ ทรีย์นาโน และสารชีวภาพนาโนควบคุมโรคพชื และศัตรูแมลง อื่นๆ พฒั นาการปลูกป่าชายเลนและอนุรักษ์ ไดแ้ ก่ แสมขาว ลาแพนเหงือกปลาหมอ ชะคราม ตามตน้ แบบโมเดลฯ บริเวณดนิ เลนงอกใหม่ ฝง่ัตะวันออก ปากแมน่ ้าทา่ จนี อาเภอบางหญา้ แพรก จงั หวดั สมทุ รสาคร และพฒั นาการปลูกผักสวนครัว มะระจีน พริกขีห้ นู อื่นๆตามต้นแบบโมเดลฯบรเิ วณ อาเภอบางหญา้ แพรก จงั หวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ พฒั นาการปลูกพชื ป่าเตง็ รงั ตามต้นแบบโมเดลฯ จังหวัดลพบรุ ีแบบมีส่วนร่วมกับเครอื ขา่ ยCPF ชมุ ชนและมหาวทิ ยาลยั ฯ3. ผลสัมฤทธ์ิกำรบริกำรวิชำกำร(out came) ผลการดาเนินการบริการวิชาการฯปรากฏผลสัมฤทธิ์(out came) ที่ได้จากการดาเนินการฯ ประโยชนท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ดังน้ี1. มหำวิทยำลัย โดยมีแม่เครือข่ายคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับอกี 9 คณะ 1 วทิ ยาลัย ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริการวิชาการและถา่ ยทอดใน 2 แบบ คือ 3.1 การบริการวิชาการถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยี 2 แบบได้แก่ 3.1.1 การถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมแบบให้เปล่าโดยการอบรมการผลิตสารชีวภาพบึงกาสามด้วยนวัตกรรมหัวเช้ือจุลินทรีย์การผลิตหัวเช้ือชีวภาพควบคุมโรคพืชและศัตรูแมลง การอบรมการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยสารชีวภาพบึงกาสามผสมหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน และการติดตามเป รี ย บ เทีย บ การ ป ลู กข้าว อิน ทรีย์ ด้วย ส าร ชีวภาพบึ งกาส ามผส มด้วยหั วเชอื้ จลุ นิ ทรยี น์ าโน การปลกู ดว้ ยปุ๋ยอินทรยี ์ การปลูกด้วยปุ๋ยเคมี เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุน รายได้จากการปลูกข้าวและการแปรรูปข้าวเป็นผลติ ภัณฑ์อน่ื ๆ ปรากฏว่ากลมุ่ เกษตรกรบงึ กาสาม สามารถลดต้นทนุ จาก 4,970 บาทต่อไร่ (สานักงานเกษตรอาเภอหนองเสือ) เหลือเพียง 2,760-2,185 บาท 40

(อัชฌาณัทและคณะ, 2559) เพ่ิมผลผลิตจาก 850 กิโลกรัมต่อไร่เป็น 1,000กิโลกรัมต่อไร่ (อัชฌาณัทและคณะ, 2559 สุกาญจน์ 2559) เพ่ิมรายได้แก่เกษตรกรจาก 8,500 บาทต่อเกวียนเป็น 35,000-40,000 บาทต่อเกวียนหลังจากกลุ่มเกษตรกรแปรรูปข้าวเปลือกเป็นข้าวกล้องด้วยเคร่ืองสีข้าวชมุ ชนและบรรจุถุงข้าวแบบสุญญากาศเพื่อการเก็บรักษาได้นานขึ้น พร้อมจาหน่ายใหก้ บั ตลาดท้งั ในและตา่ งประเทศ 2. การถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมแบบสรา้ งรายไดแ้ ก่มหาวิทยาลัยฯ จากการถ่ายทอดต้นแบบโมเดลการบริการวิชาการแก่ชุมชนโรงงานอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้มหาวิทยาลัยฯจาหน่ายหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนสารชีวภาพนาโน สารสกัดจุลินทรีย์นาโน อ่ืนๆ สาหรับชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมนาไปเป็นตัวเร่งและส่วนประกอบการผลิตสารชีวภาพจากวัสดุฟาง วัสดุเหลือใช้ ขยะอินทรีย์ชุมชน ฯลฯ ที่มีคุณภาพสารชีวภาพและมีความเป็นอัตลักษณ์เหมาะต่อการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ และแตกต่างและจากสารปรับปรุงชีวภาพของกรมพัฒนาท่ีดิน 2556 ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพในท้องตลาดทั่วๆไป 1.2.การบูรณาการศาสตร์ของคณะวชิ าชีพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับคณะวิชาชีพต่างๆบูรณาการศาสตร์ร่วมกับเครือข่าย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของการบริการวิชาการแก่ชุมชนตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดังน้ี 1 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยรี ว่ มกบั วิทยาลัยแพทย์แผนไทย การแปรรปู ข้าวอนิ ทรยี ์เปน็ ผลติ ภัณฑช์ มุ ชนน้าหมกั ไวท์ น้าไซเดอร์เพ่ือสุขภาพ สเปรย์ตะไคร่หอม ยาสระผมผสมอัญชันอบรมการแปรรูปครีมบารุงผิวจากข้าวอนิ ทรีย์ 2.คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละคณะครุ ุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม 41

ร่วมสร้างโรงเรือนอาคารศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการฯ ร่วมกับชุมชนบึงกาสามเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้และปฏิบัติการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยหวั เชือ้ จุลินทรีย์นาโนและสารชวี ภาพบึงกาสามแกช่ ุมชนอื่นๆ โดยการนาของกลุม่ เกษตรกรนายเล็กพวงต้นและทีมงาน นอกจากน้ีเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีรายวิชาต่างๆ กรณีศึกษาต้นแบบการพัฒนาการเกษตรอินทรีย์ด้วยหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนแบบครบวงจร ประเทศไทย 4.0 3. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ช่วยออกแบบโรงเรือนอาคารศนู ยเ์ รยี นรู้และปฏบิ ตั ิการฯ 4. คณะคหกรรมและเทคโนโลยี ร่วมอบรมการแปรรูปข้าวกล้องอินทรีย์ สาหรับสะดวกในการรับประทานในช่วงการลงแขกเก่ียวข้าวการหว่านปุ๋ย การเกี่ยวข้าว เพ่ือประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์ข้าวอินทรีย์ชุมชนบงึกาสามที่ได้มาตรฐานขา้ วอินทรีย์ สาหรับจาหน่ายในตลาด 5. คณะเทคโนโลยีการเกษตร การพฒั นาเทคโนโลยสี าหรบัการเกษตร แบบ smart farmer การตรวจสภาพธาตอุ าหารดินก่อนการหว่านการดานา การปลูกขา้ วอินทรียด์ ้วยสารชวี ภาพบึงกาสามผสมกับหัวเชอ้ื จลุ นิ ทรยี น์ าโน ได้แก่ เคร่ืองหว่าน เครอ่ื งฉีดพ่น เครือ่ งเกย่ี วขา้ ว เครื่องกาจดั หญ้า เครื่องดานา เคร่อื งสูบนา้ ด้วยพลังงานศักย์ เครื่องบดและผสมเครือ่ งอบแหง้ อุณหภูมิต่า อ่ืนๆ 6. คณะศิลปกรรมศาสตร์ ออกแบบสติกเกอรผ์ ลิตภณั ฑ์สารชีวภาพบึงกาสาม บรรจุพันธุ์จากกระดาษที่ทาจากฟางข้าวโดยไม้ใช้สารเคมี การขึ้นแบบพิมพ์ถ่านไบโอชาเพื่อผลิตเป็นสินค้าจาหน่าย เพิ่มมูลค่าและรักาสภาพแวดล้อม 7.คณะเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน ออกแบบแผน่ พบั การผลิต 42

สารชีวภาพด้วยหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโนเพื่อการปลูกข้าว การทาส่ือประชาสัมพันธ์วิดีโอ ทีวีสะเก็ดข่าว ช่อง 35 ช่อง 22 ช่อง PBS หนังสือพิมพ์ไทยรฐั บา้ นเมอื ง 8. คณะบริหารธรุ กจิ อบรมการทาบญั ชีครวั เรอื น การตลาดจากการรวมกลมุ่ เกษตรชุมชนแปรข้าวเปลือกเป็นข้าวกล้อง ขา้ วขาวและบรรจุภัณฑ์แบบสุญญากาศ เพื่อจาหน่ายในท้องตลาดทดแทนการจาหน่ายในรูปขา้ วเปลอื ก 9. คณะศิลปศาสตร์ อบรมการจีบผ้าเพ่ือการจดั อบรมนิทรรศการของศูนย์เรียนรู้ฯ และประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวเชิงนิเวศชุมชนแบบครบวงจร ได้แก่ อตั ลักษณ์ชุมชนอินทรยี ต์ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1.3 สิทธบิ ตั รนวตั กรรมหัวเชื้อชีวภาพ 2559 1.4 เคร่ืองหมายการค้ายีห้อ ธัญ THUN ผลิตภัณฑ์หัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนและผลติ ภัณฑแ์ ปรรูปเพ่ือการเกษตรแบบครบวงจร 1.5 โรงงานต้นแบบการผลิตหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนเพื่อการเกษตร(Pilot scale) ร่วมกับสถานประกอบการ เพ่อื การผลติ จาหนา่ ยใหก้ ับเกษตรกรท้ังของประเทศไทยและต่างประเทศในการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีและพัฒนาศักยภาพการตลาดสาหรับการพัฒนาชุมชนในยุคประเทศไทย 4.0 เพื่อลดต้นทุน เพ่ิมรายได้ เพ่ิมการแปรรูป เพิ่มการแบ่งปันแบบครบวงจร อันก่อให้เกิดการนางานวิจัยไปต่อยอดการผลิตในเชงิ พาณชิ ย์ การนาไปใชป้ ระโยชน์ในการเกษตรขา้ วอินทรีย์ อันสรา้ งรายได้แก่มหาวิทยาลัยฯ นักวิจัย นักศึกษา การสร้างงานอ่ืนๆ นอกจากน้ีใช้เป็นแหล่งเรียนรู้วจิ ยั ของนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีและระดบั ปริญญาโทแบบครบวงจร2. นกั วจิ ยั และนกั ศึกษำ 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook