อาศยั อานาจตามความในมาตรา 3 ข้อ 1 ประกาศนเี้ รยี กวา่ “ประกาศ และมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญตั ิ กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง กาหนด การจดั การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร ประเภทและหลกั เกณฑของคนพิการ ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2552” พ.ศ. 2551 รฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงออก ประกาศกาหนดประเภทและ หลักเกณฑของคนพกิ ารทาง การศกึ ษา ไว้ดังต่อไปน้ี
ข้อ 2 ประเภทของคนพกิ าร มีดงั ตอ่ ไปน้ี (1) บุคคลท่ีมี (2) บุคคลท่ีมคี วาม (3) บคุ คลที่มคี วาม ความบกพร่อง บกพรอ่ งทางการได้ยิน บกพร่องทาง ทางการเหน็ สตปิ ัญญา
ขอ้ 2 ประเภทของคนพกิ าร มดี ังต่อไปนี้ (ต่อ) (4) บุคคลท่ีมีความ (5) บคุ คลท่ีมีความ (6) บคุ คลท่ีมคี วาม บกพร่องทางรา่ งกาย บกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องทางการพดู และ หรอื การเคล่ือนไหว หรือ ภาษา สุขภาพ
ขอ้ 2 ประเภทของคนพิการ มีดังต่อไปนี้ (ต่อ) (7) บุคคลท่ีมีความ (8) บคุ คลออทสิ ตกิ (9) บคุ คลพิการซอ้ น บกพรอ่ งทางพฤตกิ รรม หรอื อารมณ์
ข้อ 3 การพิจารณาบคุ คลท่ีมีความบกพร่องเพอื่ จัดประเภทของคนพิการ ให้มีหลกั เกณฑ์ ดังต่อไปน้ี (1) บคุ คลท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ ได้แก่ บุคคลท่ีสญู เสยี การเห็นตง้ั แตร่ ะดบั เลก็ นอ้ ยจนถึงตาบอดสนิท ซ่ึงแบ่งเปน็ 2 ประเภทดังน้ี (1.1) คนตาบอด หมายถงึ บคุ คลที่ (1.2) คนเห็นเลอื นราง หมายถงึ สูญเสียการเหน็ มาก จนต้องใช้สือ่ สมั ผัสและ บุคคลท่ีสญู เสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่าน สือ่ เสียง หากตรวจวัดความชดั ของสายตา อักษร ตวั พิมพขยายใหญด่ ว้ ยอปุ กรณ ขา้ งดเี มอ่ื แกไ้ ขแล้ว อยู่ในระดบั 6 สว่ น 60 เครื่องชว่ ยความพกิ าร หรือเทคโนโลยสี ่ิง (6/60) หรือ 20 สว่ น 200 (20/200) อานวยความสะดวก หากวัดความชัดเจน จนถงึ ไม่สามารถรับรู้เรื่องแสง ของสายตาข้างดเี ม่ือแกไ้ ขแลว้ อย่ใู นระดบั 6 ส่วน 18 (6/18) หรอื 20 สว่ น 70 (20/70)
(2) บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ได้แก่ บคุ คลท่ีสูญเสียการไดย้ นิ ตัง้ แตร่ ะดบั หูตงึ น้อยจนถงึ หหู นวก ซ่ึงแบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ (2.1) คนหหู นวก หมายถึง บุคคลท่ี (2.2) คนหตู ึง หมายถึง บคุ คลทีม่ ี สูญเสียการได้ยนิ มากจนไมส่ ามารถเข้าใจ การไดย้ นิ เหลืออยู่เพยี งพอทจี่ ะไดย้ นิ การพูด การพดู ผา่ นทางการไดย้ ินไม่วา่ จะใสห่ รอื ไม่ ผ่านทางการไดย้ นิ โดยทัว่ ไปจะใสเ่ ครื่องช่วย ใส่เคร่อื งชว่ ยฟงั ซึง่ โดยทว่ั ไปหากตรวจ ฟงั ซ่งึ หากตรวจวดั การไดย้ ินจะมีการ การไดย้ ินจะมกี ารสูญเสียการไดย้ นิ 90 สญู เสียการได้ยนิ น้อยกวา่ 90 เดซิเบลลง เดซิเบลขนึ้ ไป มาถึง 26 เดซิเบล
(3) บุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลที่มคี วามจากัดอย่างชดั เจนในการปฏิบัตติ น (Functioning) ในปจั จุบัน ซงึ่ มลี ักษณะเฉพาะ คอื ความสามารถทางสติปัญญาตา่ กวา่ เกณฑเฉลยี่ อย่างมี นยั สาคัญร่วมกับความจากดั ของทักษะการปรับตวั อกี อยา่ ง น้อย 2 ทกั ษะจาก 10 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ การสื่อความหมาย การ ดูแลตนเอง การดารงชีวติ ภายในบ้านทกั ษะทางสังคม/การ มีปฏิสมั พันธกับผอู้ นื่ การร้จู กั ใชท้ รพั ยากรในชมุ ชน การ รูจ้ ักดแู ลควบคมุ ตนเอง การนาความรมู้ าใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลาวา่ ง การรักษาสขุ ภาพอนามยั และ ความปลอดภยั ท้งั น้ี ไดแ้ สดงอาการดังกลา่ วกอ่ นอายุ 18 ปี
(4) บุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สุขภาพ ซึ่งแบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี (4.1) บคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทาง (4.2) บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งทาง รา่ งกาย หรอื การเคลื่อนไหว ไดแ้ ก่ บุคคลท่มี ี สุขภาพ ได้แก่ บคุ คลท่ีมีความเจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั อวยั วะไมส่ มส่วนหรือขาดหายไป กระดกู หรือ หรอื มีโรคประจาตัวซ่งึ จาเป็นต้องได้รับการ กลา้ มเนือ้ ผิดปกติ มอี ุปสรรคในการ รักษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง และเป็นอุปสรรคต่อ เคล่อื นไหว ความบกพรอ่ งดังกลา่ วอาจเกดิ การศกึ ษา ซ่งึ มีผลทาใหเ้ กดิ ความ จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบ จาเป็นต้องได้รับการศกึ ษาพิเศษ กล้ามเนอื้ และกระดูก การไมส่ มประกอบ มาแต่ กาเนิด อุบัติเหตแุ ละโรคตดิ ต่อ
(5) บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ (6) บุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางการพูด ได้แก่ บคุ คลทมี่ ีความผิดปกติในการทางานของ และภาษา ไดแ้ ก่ บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งในการ สมองบางสว่ นทแ่ี สดงถงึ ความบกพรอ่ งใน เปลง่ เสยี งพดู เชน่ เสยี งผิดปกติ อตั รา กระบวนการเรียนรูท้ ี่อาจเกดิ ขึน้ เฉพาะ ความเร็วและจังหวะการพดู ผดิ ปกติ หรือบุคคล ความสามารถด้านใดดา้ นหนึ่งหรอื หลายดา้ น ทมี่ ีความบกพรอ่ ง ในเรอื่ งความเขา้ ใจหรือการ คอื การอ่าน การเขยี น การคิดคานวณ ซึ่งไม่ ใชภ้ าษาพดู การเขยี นหรอื ระบบสัญลกั ษณอืน่ ท่ี สามารถเรียนรู้ในด้านที่บกพรอ่ งได้ ทง้ั ท่มี รี ะดบั ใชใ้ นการติดตอ่ สอื่ สาร ซงึ่ อาจเกี่ยวกับรปู แบบ สติปัญญาปกติ เน้อื หาและหน้าทีข่ องภาษา
(7) บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ ไดแ้ ก่ บคุ คลท่ีมพี ฤตกิ รรมเบ่ียงเบน ไปจากปกตเิ ปน็ อยา่ งมาก และปญั หาทางพฤติกรรมน้นั เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซ่ึงเปน็ ผลจาก ความบกพรอ่ งหรอื ความผดิ ปกติทางจติ ใจหรอื สมองในสว่ นของการรับรู้ อารมณหรือ ความคดิ เช่น โรคจิตเภท โรคซึมเศรา้ โรคสมองเส่อื ม เปน็ ต้น (8) บคุ คลออทสิ ตกิ ไดแ้ ก่ บุคคลทีม่ ีความผิดปกติของระบบการทางานของสมองบางส่วน ซึง่ สง่ ผลตอ่ ความบกพรอ่ งทางพฒั นาการดา้ นภาษา ด้านสงั คมและการปฏิสัมพันธทาง สังคม และมีขอ้ จากัดด้านพฤติกรรม หรือมคี วามสนใจจากดั เฉพาะเร่ืองใดเร่อื งหน่ึง โดยความ ผิดปกตินน้ั คน้ พบได้กอ่ นอายุ 30 เดอื น (9) บุคคลพกิ ารซ้อน ไดแ้ ก่ บคุ คลท่ีมสี ภาพความบกพร่องหรอื ความพิการมากกว่าหนึง่ ประเภทในบคุ คลเดยี วกัน
นางสาววมิ ลสิริ ขยอมดอก นางสาวณิชนันท์ พศิ ผล นายเกรียงไกร เหลา่ สักสาม ช้นั ปที ่ี 3 หมู่ 1 ชัน้ ปีท่ี 3 หมู่ 1 ช้ันปที ่ี 3 หมู่ 1 รหสั นกั ศกึ ษา รหัสนักศึกษา รหสั นักศึกษา 621720001001-9 621720001002-7 621720001028-2
ไม่มแี ขน เพ่ือโอบกอด นัน้ ตาบอด มองไมเ่ ห็น ไม่มขี า แสนลาเคญ็ พูดไมเ่ ปน็ ...ไมไ่ ด้ยนิ มิเปน็ ไร ขอมใี จ ท่ีกล้าแกรง่ อยา่ ออ่ นแรง จงเขม้ เข็ง แกร่งดั่งหิน ชวี ติ เธอ หาด้อยค่า เพยี งเศษดิน หากชวี ติ ไมห่ มดสนิ้ ดน้ิ กันไป ฉนั ยงั มี อ้อมแขน ประคองเสมอ ให้ฉนั แทน ดวงตาเธอ จะได้ไหม เปน็ สองขา ยามเธออยาก ไปทีใ่ ด พดู ไม่ได้ ใหห้ ัวใจ เราพูดกัน
กฎหมายและ พระราชบญั ญัตทิ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ เดก็ พกิ าร
Search