ห น ้ า | 36 1.6 การจําแนกภูมิภาคของทวีปยโุ รป ภูมภิ าคของยุโรปจําแนกได้ 6 ภูมิภาค คอื 1. ภูมิภาคยุโรปตะวันตก (Western Europe) ได้แก่ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ และไอร์แลนด์เหนือ, สาธารณรัฐไอร์แลนด์, สาธารณรัฐฝรั่งเศส, ราชรัฐลักเซมเบิร์ก, ราชอาณาจักร เบลเยี่ยม และราชอาณาจักร เนเธอรแ์ ลนด์ 2. ภูมิภาคยุโรปเหนือ (Northern Europe) ได้แก่ ราชอาณาจักรนอร์เวย์, ราชอาณาจักร เดนมาร์ก, ราชอาณาจกั รสวีเดน, สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ และสาธารณรัฐไอซ์แลนด์ 3. ภูมิภาคยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ (South-eastern Europe) ได้แก่ สาธารณรัฐ ประชาชน ฮังการี, สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย, สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย, สาธารณรัฐ ประชาชนบัลแกเรีย และสาธารณรฐั ประชาชนแอลเบเนีย 4. ภูมิภาคยุโรปใต้หรือยุโรปเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Europe) หรือ (Southern Europe) ได้แก่ ราชอาณาจกั รสเปน, สาธารณรัฐโปรตุเกส, สาธารณรัฐอติ าลี, สาธารณรัฐ เฮลเลนกิ (กรซี ) และสาธารณรัฐตรุ กี 5. ภูมิภาคยุโรปกลาง (Central Europe) ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมนี ตะวันออก), สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมนีตะวันตก), สมาพันธรัฐสวิส, สาธารณรฐั ออสเตรีย, สาธารณรัฐประชาชนโปแลนดแ์ ละสาธารณรฐั สังคมนิยมเชโกสโลวะเกีย
ห น ้ า | 37 6. สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในยุโรป ( Union of Soviet Socialist Republic in Europe) หมายเหตุ ยงั ไมร่ วมรฐั อสิ ระตา่ งๆ ในทวปี ยโุ รป รูปที่ 35 การแบ่งเขตภมู ิภาคทวปี ยุโรป
ห น ้ า | 38 ภาคสรปุ ลักษณะที่ตั้งและรูปร่างของทวีปยุโรป มีส่วนสําคัญต่อการเสริมสร้างให้มีความเจริญ ก้าวหนา้ รวดเร็วกว่าทวีปเอเชีย โดยเฉพาะมีความเจริญทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคมและการปกครอง การ มีลักษณะชายฝั่งทะเลที่ยาวเหยียด และเว้าแหว่ง สามารถใช้ประโยชน์ในการสร้างเป็น เมืองท่าจอด เรือได้เป็นอย่างดี และช่วยเสริมสร้างบุคลิกนิสัยให้ชาวยุโรปชอบการผจญภัย แสวงหาผลประโยชน์ จากทะเลได้ดีด้วย นอกจากนี้ชาวยุโรปยังมีนิสัยรักการศึกษาค้นคว้า ชอบประดิษฐ์คิดค้นทั้งด้าน การเกษตร และการอุตสาหกรรม อนั มสี ว่ นทำใหพ้ ัฒนาได้รวดเรว็ และมีมาตรฐานการครองชพี สงู ทวีปยุโรปเป็นดนิ แดนทมี่ ีความแตกตา่ งด้านตา่ ง ๆ หลายประการ ไดแ้ ก่ ลักษณะภูมิ ประเทศ และโครงสร้าง ภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติ ชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม โดยเฉพาะในด้านภาษามีความแตกต่างกันหลายประเทศ เกือบไม่มีประเทศ ใดที่ใช้ ภาษาเดียวกัน ความหลากหลายของทวีปยุโรปมีส่วนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพรมแดนมา โดยตลอด จนถงึ สมัยหลังสงครามโลกครง้ั ทีส่ อง นับวา่ ยุโรปเป็นดนิ แดนทน่ี า่ ศกึ ษาคน้ ควา้ เปน็ อย่างยิ่ง
ห น ้ า | 39 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความรู้เก่ยี วกบั ภมู ิศาสตร์ทวีปยุโรป คำช้แี จง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ีใหถ้ ูกต้อง จำนวน 4 ขอ้ (4 คะแนน) 1. เหตุใดลักษณะทั่วไปของทวีปยุโรปจึงมคี วามยุง่ ยากหลายประการ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ............................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................
ห น ้ า | 40 2. จงอธิบายถึง ขนาด ทีต่ ้ัง และรูปรา่ งของยโุ รปมาโดยสังเขป พร้อมท้ังวาดแผนทีป่ ระกอบ โดยลงช่ือคาบสมุทร แหลม ทะเล ช่องแคบ รวมทั้งภูเขา และแม่นำ้ ด้วย ........................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................. ...............................
ห น ้ า | 41 3. เพราะเหตุใดทวีปยโุ รปจงึ พัฒนา และเจริญไดร้ วดเร็วกวา่ ทวีปเอเชีย ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. 4. จงสรุปประวตั คิ วามเป็นมาของทวปี ยโุ รปมาโดยสังเขป ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................
ห น ้ า | 42 เฉลยใบงานที่ 2 เรือ่ ง ความรเู้ ก่ยี วกับภูมศิ าสตรท์ วปี ยโุ รป คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง จำนวน 4 ข้อ (4 คะแนน) 1. เหตใุ ดลกั ษณะท่ัวไปของทวีปยโุ รปจึงมคี วามย่งุ ยากหลายประการ ความยุ่งยากเก่ียวกับการศกึ ษาความรูท้ างดา้ นภมู ิศาสตร์และประวัติศาสตรย์ ุโรป มดี งั นี้ 1. ลักษณะสภาพภูมิศาสตร์ (A mosaic of geographical unit) แบ่งออกเป็นส่วนเล็กส่วน น้อย โดยเฉพาะโครงสร้างสลับซบั ซ้อนทีม่ หี ลายแบบ……………………………………………..………………….. 2. ลักษณะของเชื้อชาติ (A jigsaw puzzle of nationalities) เชื้อชาติมีการแบ่งเป็นกลุ่ม เล็กกลุ่มนอ้ ย สลบั ปะปนกนั คล้ายลักษณะของฟนั เล่อื ย ยากแก่การทจ่ี ะแบ่งเป็นแต่ละเขตได้ 3. รัฐมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ (A kaleidoscopic picture of state) รัฐต่างๆ มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เนื่องจากมีผู้นำหลายฝ่ายน้ันต่างต้องการการแสวงหาดินแดนเป็นของตนเสมอ ดา้ นภาษามคี วามย่งุ ยาก แม้แต่ในประเทศเดียวกนั กม็ ีภาษาทแ่ี ตกต่างกนั เช่น สวิตเซอร์แลนด์............ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................
ห น ้ า | 43 2. จงอธบิ ายถึง ขนาด ท่ตี ้ัง และรปู รา่ งของยุโรปมาโดยสังเขป พร้อมทง้ั วาดแผนทปี่ ระกอบ โดยลงช่ือคาบสมุทร แหลม ทะเล ช่องแคบ รวมทั้งภูเขา และแมน่ ำ้ ด้วย ทวีปยุโรป มีขนาดเล็กเป็นลำดับที่ 2 ของโลก โดยมีทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่มีขนาดเล็ก ที่สุดของโลก มีพื้นที่ประมาณ 4.2 ล้านตารางไมล์ (10,354,636 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรแน่น หนาประมาณ 186 คนตอ่ ตารางไมล์ มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศท้งั แบบเทือกเขาสูงจนถึงทร่ี าบตำ่ แต่พื้นท่ี ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีภูมิอากาศอบอุ่น และไม่มีเขตภูมิอากาศร้อนหรือแห้งแล้งแบบทะเลทราย เหมือนทวีปอื่น............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ......
ห น ้ า | 44 3. เพราะเหตใุ ดทวีปยโุ รปจงึ พฒั นา และเจริญไดร้ วดเร็วกว่าทวีปเอเชีย 1. สามารถตดิ ต่อกบั ทวปี อนื่ ไดง้ ่าย และสะดวกทำให้อารยธรรมจากภายนอกเขา้ ถึงไดง้ ่าย 2. มลี ักษณะภมู อิ ากาศอบอนุ่ .............................................................................................. 3. แนวภูเขาไม่ขวางก้นั ทศิ ทางลม แนวภเู ขาวางตวั ตามแนวยาว………………………………….. 4. ประชากรขยัน อดทน มคี วามคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์…………………………………………………… 5. มกี ารคมนาคมท่ดี ีทัง้ ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ……………………………………………… 6. มีแม่น้ำหลายสาย และไหลออกไดห้ ลายทิศทาง............................................................. 7. มพี ้นื ทีร่ าบกวา้ งขวาง สะดวกแกก่ ารเพาะปลูกไดม้ าก………………………………………….. 4. จงสรปุ ประวัติความเปน็ มาของทวีปยุโรปมาโดยสังเขป 1. ยุคหินใหม่ (Neolithic) มนุษย์ยุคนี้รู้จักการเลี้ยงสัตว์แล้ว มีการทำเครื่องปั้นดินเผา อิฐ เส้อื ผา้ การเขียนหนงั สือ การจดั ระบบสังคม การต้ังหมบู่ า้ นเปน็ หลักแหล่ง ซ่งึ ได้รบั อารยธรรมมาจาก อียิปต์ และอารยธรรมลลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย โดยแหล่งที่มีอารยธรรมมากที่สุดในยุโรป คือ เกาะค รตี ........................................................................................................................................................... 2. ยุคสำริด (Bronze Age) มนุษย์รู้จักการนำแร่ดีบุก และแร่ทองแดงมาผสมกันเป็นทอง สำริด ทำใหส้ ะดวกต่อการทำเกษตร เชน่ การถางปา่ มนุษยร์ ูจ้ กั การประดิษฐ์คิดคน้ อุปกรณ์และอาวุธ จากการหลอมแรด่ ีบุกและทองแดง 3. ยุคสำริด (Bronze Age) มนุษย์รู้จักการนำแร่ดีบุก และแร่ทองแดงมาผสมกันเป็นทอง สำริด ทำใหส้ ะดวกต่อการทำเกษตร เชน่ การถางป่า มนุษยร์ จู้ ักการประดิษฐ์คิดค้นอปุ กรณ์และอาวุธ จากการหลอมแรด่ ีบุกและทองแดง…………………………………………………… …………………………………
ห น ้ า | 45 บทท่ี 3 ลักษณะภมู ิประเทศทวปี ยโุ รป (Topography of Europe)
ห น ้ า | 46 บทท่ี 3 เรือ่ ง ลักษณะภมู ิประเทศทวีปยุโรป (Topography of Europe) จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หลงั จากจบบทเรยี นนแ้ี ล้ว ผู้เรยี นสามารถปฏิบตั ิไดด้ งั นี้ 1. จำแนกลกั ษณะต่าง ๆ ของภมู ปิ ระเทศทวีปยโุ รปได้ 2. อธิบายลักษณะของภมู ิประเทศทวีปยโุ รปได้ ลักษณะภูมิประเทศ (Topography) ทวีปยุโรปมีลักษณะภูมิประเทศไม่แตกต่างกันมากเหมือนดังทวีปอื่น เราแบ่งลักษณะภูมิ ประเทศออกไดเ้ ปน็ 4 เขต ดงั นี้ 1. เขตเทือกเขาหินเก่าทางตอนเหนือ เป็นเขตหินเก่าประกอบด้วยที่สูงและภูเขาที่ถูกธาร น้ำแข็งในยุคน้ำแข็งกดั เซาะและสึกกรอ่ นมาเป็นเวลานาน จึงมคี วามสงู ไมม่ ากนัก เชน่ ทิวเขาเชอแลน บนคาบสมุทรสแกนดเิ นเวีย ท่สี ูงแลปปท์ างตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์ สวีเดิน และฟินแลนด์ บาง บรเิ วณมพี นื้ ท่ีเป็นแอง่ และทะเลสาบขนาดเล็กกระจายอยทู่ ว่ั ไป เกรด็ น่ารู้ บริเวณชายฝั่งมีอ่าวเล็ก ๆ แคบ ยาว และเว้าลึกเข้าไปในผานดิน มีชื่อเรียกว่า “ฟีออร์ด (Fiord) หรอื ฟยอรด์ (Fiord) พบบรเิ วณชายฝัง่ ของนอรเ์ วยแ์ ละบรติ ิชไอลส์
ห น ้ า | 47 2. เขตที่ราบใหญ่ตอนกลาง เป็นที่ราบกว้างใหญ่ที่สุดของทวีปยุโรป มีพื้นที่ตั้งแต่ชายฝ่ัง มหาสมทุ รแอตแลนติก บรเิ วณท่รี าบใหญ่ของฝรั่งเศส ท่รี าบต่ำของเบลเย่ยี ม เนเธอร์แลนด์ ตอนเหนือ ของเยอรมนี โปแลนด์ เบรารุส ยูเครน และรสั เซีย พ้นื ทท่ี ่เี ปน็ เปลอื กโลกเก่า เรียกวา่ “บอลตกิ ชลี ด์” (Baltic Shield) รวมถงึ บรติ ชิ ไอลส์ซึ่งเป็น เกาะทม่ี ีลักษณะเปน็ ทีร่ าบ มีที่ราบลุ่มแม่น้ำที่สำคัญ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น่ำเทมส์บนเกาะเกรตบริเตน ที่ราบลุ่มแม่น้ำลัวร์ แม่น้ำการอน และแม่น้ำแซนในฝรั่งเศส ที่ราบลุ่มแม่น้ำเวเซอร์ และแม่น้ำเอลเบอในเยอรมนี เขตนี้มี ประชากรอาศยั อยู่หนาแน่น และเป็นแหล่งเกษตรกรรมท่ีสำคญั รปู ท่ี 36 เขตทีร่ าบใหญต่ อนกลางทวปี ยุโรป
ห น ้ า | 48 3. เขตที่ราบสูงตอนกลางและตอนใต้ เป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึกกร่อนมาเป็นเวลานาน ทำใหพ้ ้ืนท่ีเป็นทรี่ าบสงู และมีเทือกเขาท่ีมคี ววามสงู ไม่มาก กระจายอยทู่ ่ัวไป ได้แก่ ทรี่ าบสูงเมเซตาใน สเปน ที่ราบสูงมาซีฟซองตราลในฝรั่งเศส ที่ราบสูงโบฮีเมียในสาธารณะรัฐเช็ก ที่ราบสูงอาร์เดนใน เบลเยียม ภูมิภาคแบล็กฟอเรสต์ทางตะวันตกเฉยี งใต้ของเยอรมนี ซงึ่ พน้ื ท่ีสว่ นใหญ่เปน็ ภูเขา ในเขตน้มี แี ม่นำ้ สำคญั เชน่ แมน่ ำ้ เอโบร แมน่ ำ้ ดานูบ รูปท่ี 37 เขตทรี่ าบสูงตอนกลางและตอนใต้
ห น ้ า | 49 4. เขตภูเขาหินใหม่ตอนใต้ เป็นภูเขาที่มีความสูงมากกว่าภูเขาในเขตหินเก่า เทือกเขาที่ สำคัญ ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ เทอกเขาพิเรนสี เทอกเขาแอเพนไนน์ เอกเขาไดนาริกแอลป์ เทือกเขาท รานซลิ เวเนยี นแอลป์ เทอื กเขาคารเ์ พเทียน และเทอื กเขาคอเคซัส เปน็ แหล่งตน้ น้ำหลายสาย เช่น แม่น้ำดานบู (เปน็ แม่นำ้ สายที่ยาวทีส่ ุด) แมน่ ้ำไรน์ แม่น้ำโรน แม่น้ำแซน นอกจากนี้ยังเป็นบริเวณที่เปลือกโลกยังไม่สงบ จึงมีแผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทุเกิดข้ึน บ่อยครัง้ ภูเขาไฟท่ียังคงมีพลัง เชน่ ภเู ขาไฟเอตนา ภูเขาไฟเวซูเวยี สในอิตาลี รปู ที่ 38 เขตภเู ขาหินใหม่ตอนใต้
ห น ้ า | 50 ใบงานที่ 3 เรื่อง ลักษณะภมู ิประเทศทวีปยุโรป คำชี้แจง จงอธิบายและวาดรูปประกอบ แสดงลักษณะของภูมิประเทศแบบฟีออร์ด หรือ ฟยอร์ด (Fiord) ใหเ้ ขา้ ใจพอสงั เขป (5 คะแนน) ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................
ห น ้ า | 51 เฉลยใบงานที่ 3 เรอื่ ง ลกั ษณะภมู ิประเทศทวปี ยโุ รป คำชี้แจง จงอธิบายและวาดรูปประกอบ แสดงลักษณะของภูมิประเทศแบบฟีออร์ด หรือ ฟยอร์ด (Fiord) ให้เข้าใจพอสงั เขป (5 คะแนน) แบบฟีออร์ด หรือ ฟยอร์ด เป็นลักษณะของภูมิประเทศทเ่ี กิดจากการกดั เซาะของธารน้ำแข็ง บนที่ราบหุบเขาที่มีชั้นหินแข็งโดยรอบ โดยที่ราบหุบเขา(Valley) โดยส่วนมากนั้นมักจะเกิดตั้งแต่ใน ยุคน้ำแข็งที่ผ่านมา การละลายของธารน้ำแข็งร่วมกับการเด้งตัวกลับของเปลือกโลกเนื่องจากการ หายไปของน้ำแข็งและตะกอนจำนวนมาก...................... .......... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..………………….……… …………………………………………………………………………………………………………………..…………………………. .
ห น ้ า | 52 บทท่ี 4 ภมู อิ ากาศทวีปยุโรป (Climates of Europe) และพชื พรรณธรรมชาติทวปี ยโุ รป (Natural of Europe)
ห น ้ า | 53 บทท่ี 4 เร่อื ง ภมู อิ ากาศทวีปยโุ รป (Climates of Europe) และพชื พรรณธรรมชาตทิ วีปยโุ รป (Natural of Europe) จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ หลังจากจบบทเรียนนี้แล้ว ผูเ้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิได้ดงั น้ี 3.1 อธบิ ายถงึ ลักษณะภมู ิอากาศของทวีปยโุ รปได้ 3.2 บอกปัจจยั สําคัญที่มอี ทิ ธิพลต่อลกั ษณะภมู อิ ากาศของยุโรปได้ 3.3 บอกถึงส่วนประกอบของอากาศได้ 3.4 อธิบายถงึ การจาํ แนกเขตภูมอิ ากาศของทวีปยุโรปได้ 3.5 อธิบายความหมายของดิน และพชื พรรณธรรมชาตไิ ด้ 3.6 แยกประเภทของดนิ แตล่ ะชนิดได้ 3.7 เปรียบเทยี บพชื พรรณชนิดต่าง ๆ ของทวปี ยโุ รปได้ 3.1 ลกั ษณะภูมิอากาศของทวปี ยโุ รป (The Climate of Europe) เนื่องจากทวีปยุโรปตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น ตามแนวยาวทางตะวันตกและทางตะวันออก ซึ่ง ลอ้ มรอบด้วยทะเลและมหาสมทุ ร อนั เป็นผลทำให้มีลักษณะภูมิอากาศท้องถ่นิ แตกต่างกันมาก ปัจจัย สาํ คญั ท่ีมอี ิทธิพลต่อลักษณะภมู ิอากาศของยโุ รป ประกอบดว้ ย 1. อิทธิพลของพื้นน้ำ (Maritime influence) บางส่วนของยุโรปได้รับอิทธิพลจากทะเล เหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ยโุ รปตะวนั ตกมีอากาศเย็นในฤดูหนาว และอบอนุ่ ในฤดูร้อน (Mild winters and warm summers) ฝนตกเฉลี่ยปีละ 40 นิ้ว อุณหภูมิปานกลาง ถัดไปทางตะวันออก เป็น ภาคพื้นทวีปเพราะว่าอยู่ห่างไหลจากทะเลเป็นผลทำให้อากาศรุนแรงเพิ่มขึ้น ยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะรัสเซีย ฤดรู อ้ นอากาศรอ้ น ฤดหู นาวอากาศหนาว ปรมิ าณนา้ํ ฝนจะลดลงเร่ือย จน น้อยกว่า 20 นิ้ว ฝนที่ตกมักจะเป็นรปู ของหิมะ แม้แต่แม่น้ำยงั เป็นน้ำแข็งประมาณ 2-5 เดือนต่อปี บางครั้งจะ มีพายหุ มิ ะตกรนุ แรงในฤดูหนาว
ห น ้ า | 54 2. ละติจูด (Latitude) ในเขตนี้ไม่มีโอกาสที่จะพบดวงอาทิตย์ส่องตรงศีรษะในเวลา เที่ยง วนั เลย เพราะวา่ อย่เู หนอื เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ (Tropic of cancer) ยุโรปอยู่ระหว่าง 35-72 องศาเหนือ อุณหภูมิจะลดลงเมื่อขึ้นไปในละติจูดที่สูงขึ้น บริเวณ เขตเมดิเตอร์เรเนียนจะได้รับแสงอาทิตย์เต็มที่ในฤดูร้อน สําหรับดินแดนแลปแลน (lab land) และ เขตทุนดรา (Tundra) ของรุสเซียความเข้มของแสงไม่แรงพอที่จะละลายหิมะที่ปกคลุมได้ อุณหภูมิที่ เมืองอาร์คแซงเจล (Archangel) ซึ่งอยู่ละติจูด 64 องศา 30 ลิปดาเหนือ ในเดือนมกราคม ต่ำกว่า 8 องศาฟาเรนไฮด์ (หรือต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง 24 องศา) ในขณะเดียวกันที่จิบรัลตาร์ (ละติจูด 36 องศา เหนือ) มีอณุ หภูมิสงู กว่า 55 องศาฟาเรนไฮท์ ปรมิ าณน้ำฝนก็จะมแี นวโน้มคลา้ ยกบั อุณหภูมิ ย่งิ ใกลข้ ้ัว โลกปรมิ าณน้ำฝนจะลดลง ถงึ แมว้ า่ จะมีหิมะตกมากก็ตาม แตว่ า่ ปริมาณของหิมะที่ ตกหนา 12 น้ิว มี ปริมาณเทา่ กบั ฝนเพียง 1 นิ้ว ทเ่ี มืองอารค์ แซงเจลฝนตกเพียง 19 นิว้ ต่อปี นับวา่ น้อยมากทั้ง ๆ ที่อยู่ ในเขตหนาว รูปที่ 39 ละตจิ ดู และลองจิจูด
ห น ้ า | 55 3. ความสูง (Altitude) บริเวณที่มีฝนตกชุกอยู่ตามที่สูงทางยุโรปตะวันตกเป็นฝนแบบ ปะทะภูเขา (Orographic rain) ด้านรับลมที่มีฝนตกมากที่สุดอยู่บริเวณทางที่ลาดซีกตะวันตกของ แนวภูเขาในคาบสมุทรสแกนดิเนเวียที่สูงสก็อตแลนด์และที่สูงเวลส์ทางตะวันออกของเทือกภูเขา ปิเรนีส และบางส่วนในที่สูงเทอื กภูเขาแอลป์ที่ยอดภเู ขาเบนเนวสิ (Ben Nevis) ยอดสูงสุดของ เกาะ อังกฤษมปี รมิ าณน้ำฝน 170 นวิ้ ตอ่ ปี บรเิ วณสว่ นใหญข่ องที่ราบทางเหนือของยุโรปเป็นทต่ี ่ำมากไม่ทำ ให้เกิดฝนปะทะภูเขาได้ เช่นในเขตประเทศเดนมาร์ก เบลเยี่ยม และเนเธอร์แลนด์ จะได้รับฝนที่เกิด จากการยกตัวของมวลอากาศ Convectional rain หรือ ฝนที่เกิดจากพายุหมุน (Cyclonic rain) ระดับที่สูงอากาศย่อมเย็นกว่าที่ต่ำเพราะยิ่งสูงอากาศยิ่งเบาลง อุณหภูมิจะลดลง ตามแบบปกติ (Normal Temperature Lapse rate) ทุก ๆ 1,000 ฟุต อุณหภูมิจะลดลง 3.5 องศาฟาเรนไฮท์ ไดแ้ กท่ ส่ี งู เทอื กเขาแอลป์ เทอื กภเู ขาเชอเลนในคาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี จะมหี มิ ะปกคลุมอยู่ ตลอดทั้ง ปี และอยูใ่ นแนวหมิ ะ (Snow - line) รปู ท่ี 40 ความสูง
ห น ้ า | 56 4. ลมประจำ (The prevailing winds) ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลของลมประจำตะวันตก เฉียงใต้ทำให้มีฝนตกตลอดปี (Rain at all Seasons) แต่แตกต่างกันบ้างบางฤดูลมพัดหนักในฤดู หนาว บริเวณชายฝั่งของฝรั่งเศสและประเทศที่เป็นที่ราบจะได้รับฝนแบบไซโคลน ดินแดนที่อยู่ตอน ใน ได้รับอิทธิพลจากลมนี้น้อยจึงมีฝนตกแบบมวลอากาศยกตัวเป็นส่วนใหญ่ บริเวณตอนกลางและ ทางตะวนั ตกของยโุ รปจะมีลกั ษณะของพายุ ฟา้ คะนอง ฝนตกในฤดูรอ้ นมากกวา่ ในฤดูหนาว ในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะได้รับอิทธิพลของลมประจำตะวันตกและพายุหมุนในฤดู หนาวทำให้ฝนตกชกุ แต่ในฤดรู ้อนไดร้ ับอิทธิพลของลมสินค้าจึงทำให้มคี วามแห้งแล้งปรมิ าณ น้ำฝนจะ เริ่มลดลงไปเมื่อลึกเข้าไปภายในทางตะวันออกเพราะลมประจำตะวันตกพัดมาจาก มหาสมุทร แอตแลนตกิ ทางตะวนั ตกของทวีปยุโรป
ห น ้ า | 57 5. กระแสน้ำในมหาสมุทร (Ocean currents) ยุโรปได้รับอิทธิพลจากสายน้ำอุ่น แอตแลนติก (North Atlantic Drift) ซึ่งแยกตัวมาจากกระแสน้ำอุ่นกัลฟ์สตรีมในบริเวณอ่าวเม็กซิโก แล้วไหล มายังยุโรปเพราะอิทธิพลของลมประจำตะวันตกเป็นผลทำให้ท่าเรือในยุโรปเหนือไม่เป็น น้ำแข็ง เช่นที่เมือง เบอร์เกน (Bergen) ละติจูด 60 องศาเหนือ อุณหภูมิเดือนมกราคม 34 องศาฟา เรนไฮท์ สว่ นทม่ี อนทรีล (Montreal) ละตจิ ดู 45 องศาเหนอื ในแคนาดาจะเป็นน้ำแข็งหลายเดือน ใน อ่าว บอธเนีย (Bothnia) น้ำเป็นน้ำแข็งในฤดูหนาว ท่าเรือส่งสินแร่ธาตุที่สวีเดน คือ ลูลิอา (Lutea) ละติจูด 65 องศาเหนือ ใช้ได้ในฤดูร้อนส่วนในนอร์เวย์เมืองนาร์วิก (Narvik) ละติจูด 68 องศาเหนือ สามารถ ใช้ได้ในฤดูหนาว อิทธิพลของสายน้ำอุ่นทำให้ความชื้นสูงที่เมืองสตอกโฮลม์ (Stockholm) ดา้ น รับลมมีฝน 84 นิ้ว แต่ดา้ นอับลมมีฝนตกเพยี ง 21 นิว้ มีฝนตกแบบปะทะภูเขาทางด้านตะวันตก ของประเทศนอร์เวย์ รูปท่ี 42 อทิ ธิพลจากสายนำ้ อุ่นแอตแลนติก
ห น ้ า | 58 6. การขวางกั้นของภูเซา (Mountain Barrier) เทือกภูเขาในทวีปยุโรป เพราะเทือกเขาแอลป์ วางตัวตามแนวยาวตะวันตก ตะวันออก ไม่ขวางกั้นทิศทางลมทำให้อิทธิพลของลมประจำพัดเข้าสู่ ดินแดนภายในได้ 3.1.1 สว่ นประกอบของอากาศ (Climatic Elements) ส่งิ ทคี่ วรนาํ มาพิจารณาเกยี่ วกบั ภูมอิ ากาศของทวีปยโุ รปว่าเหตุใดจงึ มีความแตกต่างกัน รูปท่ี 43 ปริมาณน้ำฝน และเส้นแสดงความกดอากาศในชว่ งเดอื นมกราคมและกรกฎาคม ตลอดจน ทิศทางลมที่พัดเขา้ สู่ทวปี ยุโรป ในบางเขต ขอ้ มูลทน่ี า่ ศกึ ษามี 3 ประการดว้ ยกนั คอื 1. อณุ หภูมิ (Temperature) 2. ความกดของบรรยากาศและลม (Atmospheric pressure and winds) 3. หยาดน้ำฟา้ (Precipitation)
ห น ้ า | 59 1. อุณหภูมิ เพื่อพิจารณาจากเส้นอุณหภูมิเสมอภาค (Isotherm) ที่แสดงในฤดูร้อนและ ฤดู หนาวแลว้ จะปรากฎว่าแตกต่างกันมากในเดือนกรกฎาคมเส้นอุณหภูมิเสมอภาค 64 องศา ฟาเรนไฮท์ นับจากตอนเหนือของอ่าวบิสเคย์ผ่านที่ราบตอนเหนือของทวีปยุโรปไปทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือ สว่ นเสน้ แสดงอณุ หภูมิ 72 องศาฟาเรนไฮท์ จะลากผา่ นช่องแคบจบิ รัลตาร์โค้งอ้อมท่รี าบสูงเมเสต้าไป ทางตอนเหนือทะเลดำ สำหรับในเดือนมกราคมเสน้ แสดงอุณหภูมิท่ีมีความเสมอภาค 32 องศาฟาเรน ไฮท์ จะลากผ่านตอนเหนือเกาะไอซ์แลนด์โค้งสู่ตอนเหนือที่ประเทศ นอร์เวย์แล้ววกมาทางตะวันตก ของประเทศถึงเดนมาร์ก และยุโรปกลางผ่านตอนทิศเหนือทะเลดำจนถึงตอนกลางค่อนไปทางเหนือ ของทะเลแคสเปียน รูปท่ี 44 ลักษณะมวลอากาศในฤดตู า่ ง ๆ ของทวีปยุโรป
ห น ้ า | 60 สาเหตุที่อุณหภูมิของยุโรปแตกต่างกัน ไม่มีสัมพันธ์กับละติจูดก็เพราะว่าได้รับอิทธิพลจาก มวลอากาศรอ้ น-เย็นแตกตา่ งกนั และกระแสนํ้าอนุ่ ท่ไี หลมาตามลมประจำตะวนั ตก 2. ความกดของบรรยากาศและลม ในฤดูร้อนบริเวณหมู่เกาะอะซอร์สมีความกดอากาศ ที่ สูงมาก ประมาณ 1,023 มิลลิบาร์ ก่อให้เกิดดีเปรสชั่นพัดเข้าสู่ยุโรปตอนใต้ประกอบกับมีลม ประจำ ตะวันตกพัดมาด้วย ส่วนบนทวีปจะมีความกดอากาศต่ำกว่าในฤดูหนาวที่เกาะไอซ์แลนด์ มีความกด อากาศต่ำกว่าปกติมากประมาณ 999 มิลลิบาร์ ส่วนในทวีปจะมีความกดอากาศสูง ประมาณ 1,020 มิลลบิ าร์ นบั ว่าสูงกวา่ ฤดรู ้อน ความจริงแล้วความกดอากาศต่ำกึ่งถาวรจะมีอยู่ที่เกาะไอซ์แลนด์และความกดอากาศสูง ท่ี บรเิ วณหม่เู กาะอะซอร์สเป็นประจำแตแ่ ตกต่างกันตามฤดูกาล ลมประจำตะวนั ตกเปน็ ตัวการที่ สําคัญ ที่พัดพาเอาเมฆและฝนมาจากมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าส่ฝู ง่ั ทวีปยุโรป นอกจากนยี้ ังนํา เอาดีเปรสชัน ทเ่ี กิดจากแนวปะทะของอากาศร้อน เยน็ พาฝนมาตกกระจายหลายบรเิ วณของยุโรป เกร็ดความรู้ ดีเปรสชั่นของทวีปยุโรป เกิดจากมวลอากาศเย็นที่อยู่ในเขตมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมี ความกดอากาศสูงเคลื่อนลงมาทางใต้ ในขณะเดียวกันมวลอากาศร้อนที่เคลื่อนจากบริเวณ ความ กดอากาศสูงเขตทรอปิกออฟแคนเซอร์ เมื่อมาพบกันก่อให้เกิดแนวปะทะแล้วเคลื่อนไปทาง ตะวันออกในฤดูร้อนมวลอากาศร้อนเขตทรอปิกออฟแคนเซอร์มีกําลังแรงขึ้นเคลื่อนไปถึงเขต เมดิ เตอร์เรเนียน อาจคลุมถึงตอนกลางของทวีปยุโรปบางครั้งเคลื่อนสู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือด้วย ใน ฤดูร้อนความกดอากาศสูงแถบอาร์คติกไม่รุนแรงจะรุนแรงในฤดูหนาวและนําไซโคลนมา ทางใต้ฝน ที่เกดิ จากแนวปะทะจงึ เกดิ ข้ึนไดท้ ั้งสองฤดู รปู ที่ 45 ดเี ปรสช่นั ท่ีทวีปยุโรป
ห น ้ า | 61 3. หยาดน้ำฟ้า ปริมาณนำ้ ฝนทต่ี กในทวปี ยุโรปซงึ่ เกดิ จากแนวปะทะอากาศลมประจำพัดพา มาปะทะภเู ขา และฝนท่ีเกิดจากมวลอากาศร้อนลอยตัวขึ้นตกมากในยุโรปตะวันตก เฉลี่ย มากกว่า 60 นิ้วต่อปี ได้แก่ภาคตะวันตกตอนใต้ของประเทศนอร์เวย์ ภาคตะวันตกของสก็อตแลนด์ ภาคตะวันตก ของยโู กสลาเวยี บางสว่ นตอนเหนอื ของโปรตุเกส บางแห่งฝนมากกว่า 100 นิ้ว ตรงบริเวณยอดเขาเบ เนวิสในสก็อตแลนด์ยุโรปกลาง ประมาณ 30-40 นิ้ว บริเวณที่ราบตอนเหนือ ยุโรปและตอนในของ ทะเลบอลติก ประมาณ 20-30 นิ้ว ส่วนเขตป่าสนและตอนในของสหภาพโซเวียต ประมาณ 15-20 นิ้วต่อปี ภาคใต้ของยุโรปฝนจะตกมากในฤดูหนาวรวมทั้งยุโรปตะวันตก อีกด้วย ส่วนบริเวณภายใน ฝนจะตกมากในฤดูรอ้ น รูปท่ี 46 กระบวนการได้มาซึง่ หยาดนำ้ ฟา้ หรือหยดนำ้ ฝน
ห น ้ า | 62 ใบงานท่ี 4 เรื่อง ปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อลกั ษณะภูมอิ ากาศของทวปี ยโุ รป คำช้แี จง 1. ใหน้ ักเรยี นวิเคราะห์ปจั จัยสาํ คญั ท่ีมอี ิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศของยโุ รป (5 คะแนน) ละติจูด ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในช่วงละติจูด 35-70 องศาเหนือ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรมาก พอสมควรฉะน้ัน จึงไมม่ ีภมู อิ ากาศเมืองร้อนเหนืออย่างทวีปอน่ื ๆ ที่มดี ินแดนใกล้เส้นศนู ย์สูตร จะเห็น ได้ว่าทางตอนใต้สุดของทวีป เป็นเขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งมีภูมิอากาศอบอุ่น อุณหภูมิ ปานกลางทิศทางลมประจำ ลมประจำที่พัดผ่านส่วนใหญ่ของทวีปยุโรปเป็นลมฝ่ายตะวันตกพัดจาก มหาสมุทรแอตแลนตกิ เข้ามาทางดา้ นตะวันตกของทวีป ดว้ ยเหตุนที้ างซีกตะวนั ตกของทวปี จึงมีฝนตก ชุก ส่วนทางซีก ตะวันออกของทวีปฝนจะตกน้อยลง และความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างฤดูร้อน กับฤดหู นาวมีมากข้นึ ซงึ่ เปน็ ลักษณะของภูมิอากาศแบบภาคพน้ื ทวีป กระแสนำ้ ในมหาสมทุ ร ชายฝั่ง ด้านตะวันตกของทวีปมีกระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือไหลเลืยบฝั่งของ หมู่เกาะบริติช และชายฝ่ัง ประเทศนอร์เวย์ ทำให้มีผลต่อภูมิอากาศของบริเวณดังกล่าว ดังจะเห็นได้ว่า หมู่เกาะบริติชอันเป็น ที่ตั้งองประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศไอร์แลนด์นั้นมีอากาศอบอุ่นตลอดทั้งปี แม้ในฤดูหนาว อากาศก็ไม่หนาวเย็นมากนัก นอกจากนีช้ ายฝง่ั ของประเทศนอร์เวย์ นำ้ ทะเลไมแ่ ขง็ ตัวในฤดูหนาว ผิด กับน้ำในทะเลบอลติกซึ่งแข็งตัวเป็นเวลานานหลายเดือน ในระหว่างฤดูหนาว ประเทศสวีเดนจึงต้อง อาศัยการขนส่งสินค้าทางรถไฟไปลงเรือที่เมืองท่าของประเทศนอร์เวย์ เพราะไม่สามารถใช้เมืองท่า ของตนในทะเลบอลตกิ ไดร้ ะยะห่างจากทะเล การทท่ี วปี ยุโรปมีฝัง่ ทะเลยาว เมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อท่ี ทวีป ทำให้ดินแดนตอนในของทวีปอยู่ห่างจากทะเลไม่มากนัก ลักษณะเช่นนี้มีผลต่อภูมิอากาศของ ทวปี ยโุ รป คือ ไม่มีดินแดนส่วนใดท่ีอยลู่ ึกเข้าไปภายในทวปี มาก จนไม่ได้รบั อิทธพิ ลจากมหาสมุทรเลย จงึ ไม่มีเขตภมู ิอากาศแห้งแลง้ เหมอื นอยา่ งในบรเิ วณ ตอนกลางของทวปี เอเชยี
ห น ้ า | 63 2. พายโุ ซนร้อนและพายุดเี ปรสชัน่ มีความแตกตา่ งกนั อย่างไร จงอธบิ ายพอสังเขป พายุดีเปรสชั่น (Tropical depression) เกิดขึ้นจากพายุโซนร้อนที่มีความเร็วลดลง โดยมี ความเรว็ ลมสูงสดุ ใกล้ศูนยก์ ลางไม่ถงึ 63 กม./ชม. (34 นอต) ก่อใหเ้ กดิ พายุฝนฟ้าคะนองธรรมดาหรือ ฝนตกหนัก มีลมกรรโชกแรงเป็นครั้งคราว มีกำลังไม่แรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนได้ แต่ถ้ามีฝนตก หนกั มากๆ อาจจะทำให้เกดิ น้ำท่ว มได้ พายุโซนร้อน (Tropical storm)เกิดขึ้นเมื่อพายุหมุนเขตร้อนขนาดใหญ่อ่อนกำลังลงขณะ เคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนย์กลางลดลงเมื่อเคลื่อนเข้าหาฝั่ง มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ ศูนย์กลาง 63 กม./ชม.ขึ้นไป (34 นอต) แต่ไม่ถึง 118 กม./ชม. (64 นอต) มีกำลังแรงพอที่จะทำลาย บ้านเรอื นท่มี ีโครงสร้างไม่แข็งแรงได้ รวมทั้งทำให้ก่ิงไม้หักโค่น และทำให้เกิดน้ำท่วมได้ ฝนท่ีตกอย่าง หนักท้งั วนั ท้งั คืนอาจทำใหเ้ กดิ นำ้ ปา่ และแผน่ ดนิ ถลม่ ได้.........................................................................
ห น ้ า | 64 เฉลยใบงานท่ี 4 เรื่อง ปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ ลกั ษณะภูมิอากาศของทวปี ยุโรป คำชแ้ี จง 1. ให้นกั เรยี นวิเคราะห์ปัจจัยสําคัญทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อลกั ษณะภมู ิอากาศของยโุ รป (5 คะแนน) ละติจูด ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในช่วงละติจูด 35-70 องศาเหนือ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรมาก พอสมควรฉะนั้น จึงไมม่ ภี มู ิอากาศเมืองร้อนเหนืออย่างทวีปอื่นๆ ทม่ี ีดินแดนใกล้เส้นศูนยส์ ูตร จะเห็น ได้ว่าทางตอนใต้สุดของทวีป เป็นเขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งมีภูมิอากาศอบอุ่น อุณหภูมิ ปานกลางทิศทางลมประจำ ลมประจำที่พัดผ่านส่วนใหญ่ของทวีปยุโรปเป็นลมฝ่ายตะวันตกพัดจาก มหาสมทุ รแอตแลนติกเข้ามาทางดา้ นตะวันตกของทวปี ด้วยเหตนุ ีท้ างซกี ตะวันตกของทวีปจึงมีฝนตก ชุก ส่วนทางซีก ตะวันออกของทวีปฝนจะตกน้อยลง และความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างฤดูร้อน กบั ฤดูหนาวมมี ากขน้ึ ซึ่งเป็น ลกั ษณะของภมู ิอากาศแบบภาคพื้นทวีป กระแสนำ้ ในมหาสมทุ ร ชายฝั่ง ด้านตะวันตกของทวีปมีกระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือไหลเลืยบฝั่งของ หมู่เกาะบริติช และชายฝ่ัง ประเทศนอร์เวย์ ทำให้มีผลต่อภูมิอากาศของบริเวณดังกล่าว ดังจะเห็นได้ว่า หมู่เกาะบริติชอันเป็น ที่ตั้งองประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศไอร์แลนด์นั้นมีอากาศอบอุ่นตลอดทั้งปี แม้ในฤดูหนาว อากาศก็ไม่หนาวเยน็ มากนัก นอกจากน้ชี ายฝั่งของประเทศนอรเ์ วย์ นำ้ ทะเลไมแ่ ข็งตวั ในฤดูหนาว ผิด กับน้ำในทะเลบอลติกซึ่งแข็งตัวเป็นเวลานานหลายเดือน ในระหว่างฤดูหนาว ประเทศสวีเดนจึงต้อง อาศัยการขนส่งสินค้าทางรถไฟไปลงเรือที่เมืองท่าของประเทศนอร์เวย์ เพราะไม่สามารถใช้เมืองท่า ของตนในทะเลบอลตกิ ได้ระยะห่างจากทะเล การทีท่ วีปยโุ รปมฝี ัง่ ทะเลยาว เมอ่ื เปรียบเทียบกับเนื้อที่ ทวีป ทำให้ดินแดนตอนในของทวีปอยู่ห่างจากทะเลไม่มากนัก ลักษณะเช่นนี้มีผลต่อภูมิอากาศของ ทวปี ยุโรป คือ ไมม่ ีดินแดนสว่ นใดทอี่ ยลู่ ึกเขา้ ไปภายในทวปี มาก จนไมไ่ ด้รบั อทิ ธพิ ลจากมหาสมุทรเลย จงึ ไมม่ เี ขตภูมิอากาศแห้งแล้งเหมือนอย่างในบรเิ วณตอนกลางของทวปี เอเชีย
ห น ้ า | 65 2. พายโุ ซนรอ้ นและพายุดีเปรสช่ัน มคี วามแตกตา่ งกันอย่างไร จงอธิบายพอสงั เขป พายุดีเปรสชั่น (Tropical depression) เกิดขึ้นจากพายุโซนร้อนที่มีความเร็วลดลง โดยมี ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศนู ย์กลางไม่ถงึ 63 กม./ชม. (34 นอต) ก่อใหเ้ กิดพายุฝนฟ้าคะนองธรรมดาหรือ ฝนตกหนัก มีลมกรรโชกแรงเป็นครั้งคราว มีกำลังไม่แรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนได้ แต่ถ้ามีฝนตก หนกั มากๆ อาจจะทำใหเ้ กดิ นำ้ ท่วมได้.................................................................................................... พายุโซนร้อน (Tropical storm)เกิดขึ้นเมื่อพายุหมุนเขตร้อนขนาดใหญ่อ่อนกำลังลงขณะ เคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วที่จุดศูนย์กลางลดลงเมื่อเคลื่อนเข้าหาฝั่ง มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ ศูนย์กลาง 63 กม./ชม.ขึ้นไป (34 นอต) แต่ไม่ถึง 118 กม./ชม. (64 นอต) มีกำลังแรงพอที่จะทำลาย บ้านเรือนทม่ี โี ครงสร้างไม่แขง็ แรงได้ รวมท้ังทำให้กิ่งไม้หักโค่น และทำใหเ้ กิดน้ำท่วมได้ ฝนท่ีตกอย่าง หนักท้ังวนั ทั้งคนื อาจทำใหเ้ กิดน้ำปา่ และแผน่ ดนิ ถลม่ ได้.........................................................................
ห น ้ า | 66 3.2 การจําแนกเขตภูมอิ ากาศของทวีปยุโรป (The Climatic Regions of Europe) 1. เขตภูมิอากาศแบบอาร์กติกหรือทุนดรา (Arctic or Tundra Climate) ภูมิอากาศ หนาวจดั ไม่มีอณุ หภูมิเดือนใดสูงกวา่ 50 องศาฟาเรนไฮท์ ฤดูหนาวยาวนาน อุณหภูมเิ ฉลี่ย 20 องศา ฟาเรนไฮท์ ฝนที่ตกเป็นหิมะ เฉลี่ยปีละ 25 นิ้ว พืชพรรณธรรมชาติ เป็นพวกมอสและตะไคร่น้ำ บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้อยู่ตอนเหนือสุดของทวีปยุโรป ตอนกลางคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย เคิป เปนใชส้ ัญลกั ษณ์ ET. 2. เขตภูมิอากาศหนาวถึงขั้วโลก (Sub-Polar or Sub-Arctic Climate) ภูมิอากาศ หนาวเย็นพอ ๆ กับเขตทุนดรา บางแห่งหนาวกว่าอุณหภูมิฤดูร้อนเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศาฟาเรนไฮท์ เล็กน้อย ฝนเฉลี่ย 20-25 นิ้ว ครึ่งหนึ่งตกในรูปหิมะ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ไม่ผลัดใบ ในเขต อากาศหนาว หรือ ป่าสน (Taiga) อยู่ใต้เขตทุนดราลงมาภาคตะวันออกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ฟินแลนด์ และภาคเหนือของโซเวียตรัสเซีย เคิปเปนใช้สัญลักษณ์ Dfb และ Dfc อุณหภูมิที่เมือง Archangel เดือนกรกฎาคม 58 องศาฟาเรนไฮท์ เดอื นมกราคม 6 ฟาเรนไฮท์ พสิ ัย 52 องศา ฟาเรน ไฮท์ ฝน 19.8 นิ้ว ส่วนที่ Helsinki เดือนกรกฎาคม 62 องศาฟาเรนไฮท์ เดือนมกราคม 21 องศาฟา เรนไฮท์ ฝน 24 นิ้ว 3. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (Marine West Coast Climate) ภูมิอากาศ อบอุ่นชุ่มชื้น ฝนตกตลอดปี ไม่มีฤดูแล้ง ฝนเฉลี่ย 60 นิ้วได้รับอิทธิพลของดีเปรสชั่นและ ลมประจํา วันตกฤดูหนาวท้องฟ้าครึ้มเกิดจากแนวปะทะ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบ ซ่ึง ได้แก่ บริเวณทางภาคตะวันตกของทวีป สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ และ ลักเซมเบอร์ก ตัวอย่างที่เมืองวาเลนเซีย (Valentia) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐไอเร เดือน กรกฎาคม มีอุณหภูมิ 59 องศาฟาเรนไฮท์ เดือนมกราคม 44 องศาฟาเรนไฮท์ พิสัย 15 องศาฟาเรน ไฮท์ ฝน 55.7 น้วิ เคิปเปนใช้สญั ลักษณ์ Cfb
ห น ้ า | 67 4. เขตภูมิอากาศแบบชื้นภาคพื้นทวีป (Humid Continental Climate) ภูมิอากาศ รุนแรง ฤดูหนาวหนาวจัดและยาวนาน (Long cold winter) ฤดูร้อนอบอุ่น ฝนประมาณ 20 นิ้วต่อปี พชื พรรณ ธรรมชาตเิ ปน็ ปา่ ไมส้ น หรอื ป่าไมผ้ สมระหวา่ งปา่ ผลัดใบกับป่าสน อาณาเขตส่วนใหญ่อยู่ใน เขตยุโรปรัสเซีย ทรี่ าบชายฝั่งโรมาเนีย บลั แกเรยี เช่นที่เมอื ง คิเอฟ (Kiev) เดอื นกรกฎาคมมีอุณหภูมิ 67 องศาฟาเรนไฮท์ มกราคม 21 องศาฟาเรนไฮท์ พสิ ัย 46 องศาฟาเรนไฮท์ มฝี น 21 นวิ้ เคปิ เปน ใช้ สญั ลกั ษณ์ Dfb และ Cfc
ห น ้ า | 68 5. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นช้ืน (Humid Sub-tropical Climate) ภูมิอากาศอบอุ่น อุณหภูมิ ปานกลาง ฝนตกตลอดปี ไม่มีฤดูแล้ง ด้วยได้รับอิทธิพลจากทะเลบางครั้งมีอุณหภูมิถึงจุด เยอื กแขง็ นาน 1-3 เดือน ฤดรู ้อนอณุ หภมู ิประมาณ 66-70 องศาฟาเรนไฮท์ ปริมาณน้ำฝน 20-26 นิ้ว ฝนเป็นแบบอากาศยกตัวตกมากในฤดูร้อน ฝนตกในเขตที่สูงต่ำต่างกัน เช่น ที่ราบสูงบาวาเรีย อุณหภูมิฤดูหนาว 11 องศาฟาเรนไฮท์ ฤดูร้อน 35 องศาฟาเรนไฮท์ ภูเขามองต์บลังค์สูง 15,781 ฟุต อุณหภูมิ 45 องศาฟาเรนไฮท์ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าผลัดใบ และป่าผสมที่กรุงเวียนนา (Vienna) เดอื นกรกฎาคม อณุ หภมู ิ 68 องศาฟาเรนไฮท์ ฝน 25.4 นี้ บรเิ วณท่ีมลี กั ษณะอากาศแบบนี้ ได้แก่แถบเยอรมนี ตะวันออก ฝรั่งเศสด้านตะวันออก ฮังการี ยูโกสลาเวียตะวันออก โปแลนด์ เคิ ป เปนใช้สญั ลักษณ์ Cfa 6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Climate) ภูมิอากาศร้อนและ แห้งแลง้ ในฤดูร้อน ฤดหู นาวอบอนุ่ มฝี นตก เพราะอิทธิพลของลมประจำตะวันตกและดเี ปรสช่ัน ได้แก่ ชายฝั่งภาคใต้ของทวีปยุโรปโดยเฉพาะคาบสมุทรไอบีเรีย อิตาลี บอลข่าน พืชพรรณธรรมชาติ เป็น พืชตระกูลส้ม องุ่น มะกอก และป่าไม้ผลัดใบ เมืองเนเปิล (Naple) อุณหภูมิฤดูหนาว ในเดือน มกราคม 47 องศาฟาเรนไฮท์ ฤดรู ้อนเดือนกรกฎาคม 75 องศาฟาเรนไฮท์ พสิ ยั 28 องศาฟาเรนไฮท์ ฝน 32.8 น้ิว เคิปเปนใชส้ ญั ลกั ษณ์ Csa และ Csb 7. เขตภูมิอากาศแบบถึงทะเลทรายแถบอบอุ่น (Cold Steppe or Semi-desert Climate) ภูมิอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง ปริมาณน้ำฝน 5-20 นิ้วต่อปี พืชพรรณธรรมชาติ เป็นหญ้า และป่าผลัดใบบ้าง ได้แก่ ภาคใต้ของโซเวียตรัสเซีย ภาคกลางของคาบสมุทรไอบีเรีย ตอนเหนือของ ทะเลแคสเปียน และทะเลดำ เคปิ เปนใช้สัญลักษณ์ BSk 8. เขตภูมิอากาศแบบภูเขา (Mountain Climate) ภูมิอากาศเป็นแบบภูเขา อุณหภูมิจะ ลดลงตามความสูง บริเวณท่อี ยสู่ งู สุดจะปรากฏแนวหมิ ะเช่นเทือกภเู ขาแอลป์ ตอนเหนืออิตาลีและคอ เคซัสมอี ากาศรุนแรงคนจะอาศัยอยู่นอ้ ย เคิปเปนใช้สญั ลกั ษณ์ H
ห น ้ า | 69 รปู ที่ 47 เขตภมู ิอากาศของทวีปยุโรป
ห น ้ า | 70 รูปท่ี 48 การจำแนกลักษณะภมู อิ ากาศตามแบบเคปิ เปน
ห น ้ า | 71 ใบงานท่ี 5 เร่ือง ภูมิอากาศทวปี ยโุ รป คำชีแ้ จง ให้นักเรียนนำหมายเลขหน้าข้อความด้านลา่ งมาใส่ใตข้ อ้ ความภมู อิ ากาศแบบต่างๆ ท่ีมีความสมั พนั ธ์กัน (6 คะแนน) ภูมอิ ากาศแบบทนุ ดรา ภูมิอากาศแบบกง่ึ อาร์กตกิ ภมู อิ ากาศเขตหนาวแบบ ชน้ื ภาคพนื้ ทวปี ภมู อิ ากาศอบอนุ่ แบบชืน้ ภมู อิ ากาศแบบ ภมู อิ ากาศแบบ ภาคพ้นื ทวีป ภาคพืน้ สมุทร เมดิเตอร์เรเนยี น 1. บรเิ วณทรี่ าบใหญต่ อนกลางของทวปี ฝร่งั เศสด้านตะวันออก เยอรมนี สวิตเซอรแ์ ลนด์ ออสเตรีย 2. บริเวณชายฝ่ังตะวันตก และตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของทวีปยโุ รป 3. บริเวณแคบๆ ทางตอนเหนอื ของคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี 4. พนื้ ที่เป็นภูเขาและทีส่ งู จะมีตน้ เฟอร์ สปรูซ ส่วนในเขตพืน้ ทรี่ าบจะมีตน้ โอ๊ก เมเปลิ 5. ฤดหู นาวอากาศหนาวจดั เป็นระยะเวลานาน 6. อากาศอบอนุ่ ช่มุ ชนื้ ตลอดปี เน่อื งจากไดร้ ับอิทธพิ ลจากทะเล และลมประจำตะวันตก 7. พ้นื ทท่ี างใต้ของประเทศฝรง่ั เศส สเปน โปรตเุ กส คาบสมทุ รอติ าลี 8. ต้นไมเ้ ต้ียๆ เป็นไมเ้ นอ้ื แขง็ มใี บเลก็ แขง็ สเี ทาแกมเขียว 9. บรเิ วณส่วนใหญ่ของประเทศฟนิ แลนด์ และภาคเหนือของรัสเซีย 10. ลักษณะอากาศอบอุ่นจนถึงร้อน ฝนตกในฤดูร้อน 11. พชื พรรณธรรมชาตสิ ว่ นใหญ่ เป็นปา่ ไมส้ น หรือป่าไทกา 12. ทางตะวันออกของทวีป มีระยะเวลาท่อี ุณหภมู อิ ยรู่ ะดับตำ่ กวา่ จดุ เยอื กแขง็ นานถงึ 6 เดอื น 13. หมู่เกาะอังกฤษ ชายฝ่งั ตะวันตกของประเทศนอร์เวย์ เดนมารก์ เบลเยียม เนเธอรแ์ ลนด์ ฝรัง่ เศส 14. พืชพรรณธรรมชาตสิ ่วนมากเป็นพวกมอสส์ และตะไครน่ ำ้ 15. บรเิ วณยโุ รปตะวนั ออกในฤดูหนาว อากาศหนาวเย็นจัดเปน็ ระยะเวลานาน
ห น ้ า | 72 เฉลยใบงานที่ 5 เร่ือง ภูมอิ ากาศทวปี ยโุ รป คำชีแ้ จง ให้นักเรียนนำหมายเลขหน้าข้อความด้านลา่ งมาใสใ่ ตข้ ้อความภมู ิอากาศแบบต่างๆ ท่มี คี วามสัมพนั ธก์ ัน (6 คะแนน) ภมู อิ ากาศแบบทนุ ดรา ภูมิอากาศแบบกง่ึ อารก์ ตกิ ภมู ิอากาศเขตหนาวแบบ ชนื้ ภาคพนื้ ทวีป 3, 5, 14…………….. 9, 11, 12 15 ภมู อิ ากาศอบอุ่นแบบช้นื ภูมิอากาศแบบ ภูมิอากาศแบบ ภาคพ้ืนทวีป ภาคพื้นสมทุ ร เมดิเตอรเ์ รเนยี น 1, 4 2, 6, 13 7, 8, 10 …………. 1. บริเวณทร่ี าบใหญต่ อนกลางของทวีป ฝร่งั เศสดา้ นตะวนั ออก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย 2. บริเวณชายฝ่ังตะวันตก และตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี ยโุ รป 3. บรเิ วณแคบๆ ทางตอนเหนอื ของคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวีย 4. พ้นื ท่ีเปน็ ภเู ขาและทสี่ งู จะมตี ้นเฟอร์ สปรูซ ส่วนในเขตพื้นที่ราบจะมตี น้ โอ๊ก เมเปลิ 5. ฤดูหนาวอากาศหนาวจดั เปน็ ระยะเวลานาน 6. อากาศอบอุ่นชมุ่ ชื้นตลอดปี เนอ่ื งจากไดร้ บั อิทธิพลจากทะเล และลมประจำตะวนั ตก 7. พื้นท่ีทางใตข้ องประเทศฝรง่ั เศส สเปน โปรตเุ กส คาบสมทุ รอิตาลี 8. ต้นไมเ้ ต้ยี ๆ เปน็ ไมเ้ นอื้ แข็ง มีใบเลก็ แข็งสเี ทาแกมเขยี ว 9. บริเวณส่วนใหญข่ องประเทศฟนิ แลนด์ และภาคเหนอื ของรสั เซีย 10. ลกั ษณะอากาศอบอุน่ จนถึงร้อน ฝนตกในฤดูร้อน 11. พืชพรรณธรรมชาตสิ ่วนใหญ่ เป็นปา่ ไมส้ น หรือปา่ ไทกา 12. ทางตะวนั ออกของทวปี มรี ะยะเวลาทีอ่ ณุ หภูมิอยรู่ ะดับต่ำกวา่ จุดเยอื กแข็งนานถงึ 6 เดือน 13. หม่เู กาะองั กฤษ ชายฝ่ังตะวันตกของประเทศนอร์เวย์ เดนมาร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ฝรง่ั เศส 14. พชื พรรณธรรมชาตสิ ว่ นมากเปน็ พวกมอสส์ และตะไคร่นำ้ 15. บรเิ วณยโุ รปตะวนั ออกในฤดูหนาว อากาศหนาวเยน็ จดั เป็นระยะเวลานาน
ห น ้ า | 73 3.4 พชื พรรณธรรมชาติ (Natural Vegetation) พืชพรรณของยุโรปจะมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปตามละติจูดและดินฟ้าอากาศ นับจาก ภาคเหนือของทวปี ลงมา สามารถแบง่ ออกดังน้ี 1. พืชพรรณแบบทุนดราและพันธุ์ไม้ที่เกิดตามภูเขา (Tundra and Mountain Flora) เนื่องจากมีน้ำแข็งปกคลุมอยู่เกือบตลอดปี จึงมีพืชชั้นต่ำขึ้น เช่น หญ้ามอส ตะไคร่น้ำขึ้น เพราะพืช ชนิดน้ีมีช่วงการเจริญเติบโตสั้น การผุพังน้อย เกือบไม่มีมนุษย์อาศัยอยู่นอกจากพวกแลปป์และฟินน์ ซึ่งเป็นพวกผสมมองโกลด์ แต่ก่อนล่าสัตว์เดี๋ยวนี้รู้จักเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ กวางเรนเดียร์ (Reindeer) ใช้ แรงงานลากเล่ือน หนัง นุง่ หม่ กระดูกทำเคร่ืองใช้อ่ืน ๆ มีมงิ ค์ (ตัวคล้ายกระรอก) แมวน้ำ สัตว์ในเขต น้ขี นยาว หนังหนา พวกเอสกโิ มเป็นผู้ทชี่ อบลา่ สัตวม์ ากกว่าเลย้ี งสัตวก์ ็ อาศัยอยใู่ นเขตหนาว ตามบริเวณที่สูงบนภูเขาต่าง ๆ ในทวีปยุโรปมีหิมะปกคลุมบนยอดจะไม่มีพืชพรรณใดขึ้น นอกจากสว่ นท่อี ยตู่ ่ำลงมาจะเป็นทุ่งหญ้าและปา่ ไม้ ไม้ที่ข้ึนตามภเู ขาเป็นไม้สนที่ไมผ่ ลัดใบ รปู ที่ 49 ชาวแลปป์กบั กวางเรนเดยี ร์ ในพ้นื ท่ีทมี่ ีพืชพรรณแบบทุนดรา
ห น ้ า | 74 2. พชื พรรณแบบปา่ สน (Coniferous Forest) ป่าแบบนี้เรยี กวา่ “ปา่ ไทกา้ ” เป็นป่าไม้ไม่ ผลดั ใบ แบ่งออกเป็น ก. ป่าไม้ไม่ผลัดใบในเขตละติจดู สูง อยู่ตอนเหนือของยุโรป ตอนกลางรุสเซีย สวีเดน และฟินแลนด์ ลักษณะภูมิอากาศหนาวเย็นถึงขั้วโลก พันธุ์ไม้ได้แก่ไปน์ (pine) เฟอร์ (fir) สปรูช (Spruce) เบริ ์ช (birch) และหญ้าข้นึ ท่ัวไป ป่าแบบนี้เบื้องล่างไม่มีต้นไม้เล็กขึ้นเถาวัลย์ก็ไม่มีเหมือนเขตศูนย์สูตร ถัดไปทาง เหนอื ปา่ ชนิดนีจ้ ะมีลำต้นเตีย้ เลก็ ลง ๆ และคอ่ ย ๆ หา่ งมากข้นึ จนตดิ กบั เขตมอสและตะไคร่น้ำ ตอน ใตข้ องเขตน้ีจะเป็นป่าไม้ผลัดใบผสมอยู่ ดนิ เป็นดนิ พอดซอลล์ การชะลา้ งสู่เบ้ืองล่างสูงสารละลาย แร่ ธาตุตา่ ง ๆ ซึมลงชั้นล่างเปน็ ดนิ แขง็ แน่น การผุพงั มนี อ้ ยพืชทข่ี ึ้นเป็นต้นสน ประชากรเขตนเ้ี บาบาง เพราะอากาศหนาว ดินไมด่ ี ต้องทำปา่ ไม้ ข. ป่าไม้ไม่ผลัดใบที่ขึ้นตามลาดเชิงเขาและหุบเขา ตามบริเวณเทือกเขาแอลป์ สปิเรนีส คาร์เปเรียน ที่สูงอาร์เดนเนส ที่สูงตอนกลางของฝรั่งเศส ส่วนใหญ่ก็ใช้ทำเยื่อกระดาษ ใช้ ก่อสร้างและทำเชื้อเพลงิ ค. ป่าไม้ไม่ผลัดใบที่มนษุ ย์ปลูกขึ้น บริเวณที่ราบมนุษยจ์ ะปลูกป่าขึ้นมาทดแทนป่าที่ ตัดไปส่วนที่ดินคุณภาพไม่ดีเช่นตามแนวสันทรายชายฝ่ังทะเลก็ปลูกป่าสนมีประโยชน์ใน การป้องกัน การขยายตวั ของสันทรายและลม พบทว่ั ไปในเขตประเทศเนเธอร์แลนด์ เบลเยีย่ ม เดนมารก์ เป็นตน้ 3. พืชพรรณป่าไม้ใบกว้างผลัดใบและป่าผสม (Broadleaf Deciduous and Mixed Forest) ป่าไม้ผลัดใบใหญ่ ผลัดใบในฤดูหนาวเริ่มร่วงในฤดูใบไม้ร่วง แตกใบอ่อนก็ในฤดูใบไม้ผลิ ซึ่ง อยูใ่ นเขตภูมอิ ากาศภาคพืน้ สมุทรชายฝ่ังตะวันตก ไมช้ นดิ นี้มีเนื้อแข็งมีค่าทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ต้นโอ๊ค (Oak) ตน้ เอลม์ (Elm) และต้นบชี (beach)
ห น ้ า | 75 ต้นโอ๊ค มีลายสวยงามขึ้นในดินค่อนข้างละเอียด ต้นพอปล่าร์ (poplar) ต้นวิลโลว์ (Willow) มักขึ้นในแถบที่ลุ่มตอนใต้ของป่าสน ลงมาจะเป็นป่าผสมระหว่างป่าไม้ใบกว้างกับป่าสน นับจาก ตอนกลางของรัสเซียไปทางตะวันตก ส่วนบริเวณท่ีสูงนั้นต้นไม้มลี กั ษณะเป็นพุ่ม ป่าไม้สําคัญในยุโรป ถกู โค่นไปมาก จนทำใหห้ ลายแห่งกลายเป็นทุ่งหญ้า และปราศจากต้นไม้ภายหลังมกี ารปลูกทดแทน สำหรับพื้นที่ราบทางยุโรปตะวันตก ปลูกหญ้าและข้าวสาลี ยุโรปตะวันออก นิยมปลูกข้าว ไรยบ์ ารเ์ ลย์ ยโุ รปตอนเหนือ ปลกู ผกั กาดหวานเปน็ สว่ นใหญ่ รูปที่ 50 ข้าวสาลี รปู ท่ี 51 ขา้ วไรย์
ห น ้ า | 76 4. พชื พรรณในเขตฮที แลนด์และมัวรแ์ ลนด์ (Heathland and Moorland) ฮีทแลนด์ หมายถึง บริเวณที่มีไม้พุ่มต้นเล็ก ๆ ขึ้นในที่ดินทราย กรวด ได้แก่ ภาคตะวันตก ของเดนมาร์คถึงเนเธอร์แลนด์ ตะวนั ตกเฉยี งเหนือของเบลเยี่ยม ซ่งึ มีดินที่เกิดจากธารน้ำแขง็ มาก ดิน เนื้อหยาบ และมีการซึมชะล้างสูง แต่เดิมมีป่าไม้ขึ้น ถูกโค่นถากถางในภายหลัง ดินมีสภาพเป็นกรด ต้องใช้ปนู ขาวปรับปรงุ สําหรับเขตมัวร์แลนด์ คือ บริเวณที่สูงมีหินแข็ง ดินมีลักษณะบาง เป็นแอ่งมีพื้นหินรองรับ ระบายน้ำ ไม่ดี มีไม้พุ่ม หญ้ามอสขึ้น เมื่อตายทับถมกันก่อให้เกิดพีทและกลายเป็นถ่านหิน เขตมัวร์ แลนด์ พบตามที่ราบสูงตอนกลางของฝรั่งเศส บริตานี อาร์เดนเนส และที่ราบสูงไรน์ การปรับพื้นที่ เพอื่ ใช้เพาะปลกู ผกั กาดหวาน มนั ฝรงั่ และหญ้าตอ้ งใส่ปนู ขาว และระบายน้ำออก รูปท่ี 52 เขตมัวรแ์ ลนด์ ประเทศสกอตแลนด์
ห น ้ า | 77 5. พืชพรรณแบบเมดิเตอร์เรเนียน พบตามแถบชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไม้ที่ขึ้นมักมี รากลึก เปลอื กใบเป็นมัน เพราะว่าฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง รากดดู น้ำได้พอใช้ในฤดูร้อน ส่วน ฤดหู นาวมีฝนตกพอใบเปน็ มันปอ้ งกนั การระเหย พชื ท่ีขึน้ ได้แก่ โอลิฟคอรก์ โอค้ ภเู ขา ลกู เกด มะเดื่อ พรนุ องุ่น และส้ม ในเขตนี้มีมนุษย์อาศัยมานาน ป่าจึงถูกทำลายไปมาก ดินขาดพืชปกคลุมเกิดการพังทรุดมาก ที่สูงดินมีสภาพบาง ไม้ใหญ่ขึ้นได้ยาก จึงมีไม้พุ่มมีหนามจนได้ชื่อว่า “Maguis” (ภาษาฝรั่งเศส) หรือ “Macchia” (ภาษาอิตาเลียน) ไม้พุ่มเหล่านี้ใช้ประโยชน์ได้น้อย บริเวณเนินเขาปัจจุบันมีหินโผล่ ข้ึน มาก และมพี ืชต้นเล็ก ๆ ขนึ้ เรยี กวา่ “garrigue” บางตอนมีทงุ่ หญ้าสลับ ฤดรู ้อนหญา้ ตาย ประชากรมี อาชีพเล้ียงสัตว์, ปลกู พชื และเป็นอาหารดว้ ย แตไ่ มเ่ จริญ รปู ที่ 53 garrigue เกรด็ นา่ รู้ ดนิ มีสี สว่ นประกอบ และคณุ ภาพในการใช้ประโยชนแ์ ตกตา่ งกนั ตามวตั ถตุ ้นกำเนดิ ภูมิประเทศ และส่งิ แวดล้อม สว่ นประกอบของดินโดยทว่ั ไป ไดแ้ ก่ แรห่ รืออนนิ ทรียวตั ถุ ร้อยละ 45 อินทรยี วัตถุ รอ้ ยละ 5 น้ำหรือสารละลาย ร้อยละ 25 และอากาศ รอ้ ยละ 25
ห น ้ า | 78 รปู ที่ 54 ลักษณะพชื พรรณธรรมชาตทิ วปี ยุโรป รปู ที่ 55 การแบ่งเขตพชื พรรณธรรมชาตทิ วีปยุโรป
เกร็ดน่ารู้ ห น ้ า | 79 ในปัจจุบันรัฐบาลหลายประเทศสนับสนุนให้ปลูกป่าสนขึ้น รูปที่ 56 Terra Rossa เพราะโตเร็ว ได้แก่ อิตาลี กรีซ และยูโกสลาเวีย ดินในเขตนี้มีสีแดง หรอื Red Soil เรียกว่า “Terra Rossa” (Red Soil) เป็นพวกออกไซด์ของเหล็ก ชัน้ ดนิ บาง ใกล้ ๆ ภเู ขาเป็นหินปนู รูปท่ี 57 ป่าสน
ห น ้ า | 80 6. พืชพรรณแบบทุ่งหญ้าส้ัน (The Steppe) ทงุ่ หญ้าส้ัน พบในเขตภาคใต้ของรัสเซีย ตอน เหนือทะเลดำในรูเมเนีย และลุ่มแมน่ ้ำดานบู ในฮังการี เป็นเขตที่ได้รบั ฝนน้อย เหนือเขตสเตป็ ป์ขึน้ ไป เป็นป่าไม้เตี้ย ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของที่ลุ่มแคสเบียนได้รับฝนน้อยมากจนเกือบไม่มีพืชขึ้นเลย นอกจากหญา้ กระจุก ลกั ษณะอากาศเปน็ แบบก่งึ ทะเลทราย ดนิ ในเขตทุ่งหญา้ สนั้ เปน็ ดินดำใช้ในการปลูกข้าวสาลี เขตทงุ่ หญ้าสน้ั ได้รับฝน 15-20 นิ้วต่อ ปี ซง่ึ ไมพ่ อใชเ้ พาะปลกู ต้องอาศยั การทำชลประทาน 7. พืชพรรณแบบทะเลทราย (Desert Vegetable) ลักษณะภูมิอากาศแห้งแล้ง ปริมาณ น้ำฝนต่ำกว่า 10 นิ้วต่อปี (25 ซ.ม.) พืชพรรณส่วนมากต้องทนต่อความแหง้ แล้ง แนวพืชพรรณแบบนี้ มักพบตอนเหนือของเทือกเขาคอเคซัส ตอนเหนือทะเลแคสเปียน มักมีไม้พุ่มสลับกับหญ้าเป็นกอ ๆ ไม่ค่อยมีคนเข้าไปต้ังหลักฐานมากนัก เพราะมีแต่ความแห้งแล้ง ปลูกพืชไม่ได้ผล คุณภาพของดินไมด่ ี พอ รูปท่ี 58 พืชพรรณแบบทะเลทราย (Desert Vegetable) มลี ักษณะภูมิอากาศแหง้ แล้ง ปริมาณนำ้ ฝนตำ่ กว่า 10 นว้ิ ตอ่ ปี (25 ซ.ม.)
ห น ้ า | 81 ใบงานท่ี 6 เรือ่ ง พชื พรรณธรรมชาติทวปี ยุโรป คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นยกตวั อย่างพืชพรรณในเขตฮีทแลนด์และมัวรแ์ ลนด์ (Heathland and Moorland) และแหลง่ ที่คน้ พบพชื พรรณดังกล่าว (5 คะแนน) ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. .................................................................................................................... ............................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................
ห น ้ า | 82 เฉลยใบงานที่ 6 เรื่อง พชื พรรณธรรมชาติทวปี ยุโรป คำชแ้ี จง ให้นักเรียนยกตัวอย่างพืชพรรณในเขตฮที แลนด์และมวั ร์แลนด์ (Heathland and Moorland) และแหล่งท่ีคน้ พบพืชพรรณดังกล่าว (5 คะแนน) ฮีทแลนด์ บริเวณที่มีไม้พุ่มต้นเล็ก ๆ ขึ้นในที่ดินทราย กรวด ได้แก่ ภาคตะวันตก ของเดน มาร์คถึงเนเธอร์แลนด์ ตะวันตกเฉียงเหนือของเบลเยี่ยม ซึ่งมีดินที่เกิดจากธารน้ำแข็งมาก ดินเน้ือ หยาบ และมกี ารซึมชะลา้ งสงู แตเ่ ดมิ มีป่าไม้ข้ึน ถกู โคน่ ถากถางในภายหลงั ดนิ มีสภาพเปน็ กรดต้องใช้ ปนู ขาวปรบั ปรงุ …………………………………………………………………………………........................................... มัวร์แลนด์ เป็นบรเิ วณที่สูงมหี นิ แข็ง ดินมลี กั ษณะบาง เปน็ แอ่งมีพ้ืนหินรองรบั ระบายน้ำ ไม่ ดี มีไม้พมุ่ หญา้ มอสขน้ึ เม่อื ตายทบั ถมกันก่อให้เกิดพที และกลายเปน็ ถา่ นหิน เขตมวั รแ์ ลนด์ พบตามที่ ราบสูงตอนกลางของฝรั่งเศส บริตานี อาร์เดนเนส และที่ราบสูงไรน์ การปรับพื้นที่ เพื่อใช้เพาะปลูก ผักกาดหวาน มนั ฝร่งั และหญา้ ตอ้ งใสป่ นู ขาว…………………………………………………………… ….. …………………………………………………………………………….......................................................................... ................................................................................................................................................. ............... .................................................................................................................... ............................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................... ............................................................................ ...................................................................................................... .........
ห น ้ า | 83 ภาคสรุป ทวีปยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปที่มีลักษณะภูมิอากาศที่ดีที่สุด เพราะมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อลมฟ้า อากาศ ได้แก่ 3.1 ทตี่ ง้ั ของทวีป ต้ังอยูใ่ นเขตอบอุน่ ซ่งึ มลี มประจำตะวันตกพัดนําความช่มุ ชนื้ เขา้ สู่ ภายในทวีป 3.2 ลกั ษณะของฝั่งทะเลยาวมาก และเวา้ ๆ แหว่ง ๆ ประกอบกับอ่าวและทะเลภายในหลายแห่ง ทำใหอ้ ทิ ธพิ ลของทะเลเขา้ สภู่ ายในทวีปได้อย่างท่ัวถงึ 3.3 อทิ ธิพลของกระแสน้ำอุ่นแอตแลนตกิ เหนอื ซึง่ ไหลผ่านชายฝงั่ ยุโรปตะวนั ตก ทำใหห้ นา้ หนาว อากาศไม่หนาวจดั จนเกนิ ไป และทำการเดนิ เรอื ได้ตลอดปี 3.4 การแบง่ เขตภูมิอากาศ แบ่งเป็น 8 เขต ดังน้ี 1. เขตหนาวแบบขั้วโลก (Tundra Climate) ได้แก่บริเวณทางเหนือสุดติดกับมหาสมุทร อารก์ ติก อากาศหนาวจัดตลอดปี ฤดูรอ้ นสน้ั มาก พืชพรรณธรรมชาตขิ ้นึ ไดเ้ ฉพาะพวกมอส และตะไคร่นาํ้ 2. เขตหนาวถึงข้ัวโลก (Sub-Artic) หรือไทกา (Taiga) ได้แก่ นอร์เวย์ สวีเดน ฟนิ แลนด์ สหภาพ โซเวียต มีอากาศหนาวเย็น แตม่ ีฤดูรอ้ นยาวขน้ึ พชื เปน็ พวกปา่ ไมส้ น (Taiga) เป็นปา่ ไม้ ไมผ่ ลดั ใบ 3. เขตอากาศชื้นภาคพื้นทวีป (Humid Continental Climate) ฤดูหนาวหนาวจัด ฤดูร้อน อบอุ่น ปรมิ าณฝนพอประมาณ ป่าไม้เปน็ ประเภทป่าไม้ผสมมีทงั้ ผลดั ใบและไมผ่ ลดั ใบ 4. เขตอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (Marine West Coast Climate) ได้แก่ยุโรป ตะวันตก มอี ากาศอบอนุ่ ชุ่มช้ืน มฝี นตกชุกตลอดปี พชื เปน็ ป่าไม้ผลัดใบ 5. เขตอากาศอบอุ่นขึ้น (Humid Sub-Tropical Climate) ได้แก่ ภาคตะวันตกเฉียงใต้อากาศ อบอ่นุ มฝี นตกตลอดปี แตน่ ้อยกว่าเขตที่ 4 พชื เปน็ พวกไม้ผลัดใบ 6. เขตอากาศเมดเิ ตอรเ์ รเนียน (Mediterranean Climate) ไดแ้ ก่ ทางภาคใต้ชายฝั่งทะเล เมดิ เตอรเ์ รเนยี น ฤดูรอ้ นอากาศร้อนและแห้งแล้ง มีฝนตกในฤดูหนาว 7. เขตอากาศท่งุ หญ้าอบอ่นุ ถงึ ทะเลทราย (Cold Steppe Climate) ได้แก่ ภาคใตข้ อง สหภาพ โซเวยี ตและตอนกลางคาบสมทุ รไอบเี รีย อากาศอบอุ่นแต่คอ่ นขา้ งแห้งแล้ง 8. ภูมิอากาศแถบภูเขา (Mountain Climate) ตามเทือกเขาสูงในยุโรปภาคใต้ และภาคเหนือมี ภมู ิอากาศหนาวเยน็ แบบทุนดราและแบบทุง่ น้ำแขง็
ห น ้ า | 84 แบบทดสอบหลงั เรียน รายวชิ า ส 22104 สงั คมศกึ ษา 4 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 เรอื่ ง ภมู ศิ าสตร์ทวปี ยโุ รป จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขา้ ใจภูมิศาสตร์ทวีปยุโรปได้ คำช้ีแจง 1. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยลงมือทำ เคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงบนขอ้ ที่เลือกตอบ 2. แบบทดสอบเป็นปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน ใช้เวลาทำแบบทดสอบภายในเวลา 20 นาที 1. เพราะเหตุใด จงึ ต้องนำแผนทม่ี าใช้ในการศึกษาวิชาภูมศิ าสตร์ 1. เพ่อื ให้ผู้เรียนไมเ่ บื่อหน่าย 2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจเร่ืองท่ีศึกษาได้ง่ายขน้ึ 3. เพอื่ ใหท้ ราบถึงลักษณะของพน้ื ผิวโลก 4. เพื่อให้ทำคะแนนวิชาภูมศิ าสตร์ได้ดขี ึ้น 2. แผนท่ี เป็นอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพอื่ แสดงเกี่ยวกบั สง่ิ ใด 1. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 3. สง่ิ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขึน้ 4. ส่ิงที่ปรากฏบนพ้ืนผิวโลก
ห น ้ า | 85 3. ปราสาทปรากอยู่หา่ งจากสะพานชาลส์ 4 เซนติเมตรในแผนที่ แต่ระยะทางจรงิ อยู่ห่างกนั 2 กิโลเมตร แผนที่น้ใี ชม้ าตราส่วนใด 1. 1:500,000 2. 1:100,000 3. 1:50,000 4. 1:5,000 4. ความสัมพันธ์ของลกั ษณะพชื พรรณทางธรรมชาตแิ ละเขตภูมอิ ากาศในข้อใดถกู ต้อง 1. แบบกึ่งอาร์กติก - ป่าสน (ไทกา) 2. แบบเขตอบอุ่นแบบชื้นภาคพน้ื ทวีป - ไม้เตย้ี ๆ 3. แบบทนุ ดรา - ตน้ เอล์ม แอชเบิรน์ ตน้ โอก๊ 4. แบบภาคพ้นื สมทุ ร – มอส และตะไครน่ ้ำ 5. ข้อความในข้อใดตอ่ ไปน้ีกล่าวเกี่ยวกับทวปี ยุโรปไม่ถกู ตอ้ ง 1. เขตท่ีราบตอนกลางเป็นเกษตรกรรมท่สี ำคัญ 2. บรเิ วณทอี่ ากาศหนาวเย็นมปี ระชากรอยูเ่ บาบาง 3. ปา่ ไมข้ องประเทศเยอรมนีมีความหนาแน่นมาก 4. ป่าไมส้ นมีปลกู มากทางตอนใต้ของทวปี 6. ปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์ในข้อใดสง่ ผลให้ประเทศฝรั่งเศสสามารถผลิตไวน์คณุ ภาพดี และเป็นที่ รจู้ ักและนิยมจากคนทั่วโลก 1. เนือ่ งจากอยู่ในพ้นื ที่มีอากาศแบบภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ์ รเนียน 2. เน่อื งจากอยใู่ นพน้ื ที่มีแนวเทือกเขาแอลป์เป็นกำแพงกัน้ 3. เน่ืองจากมีอย่ใู นพืน้ ท่ีมีหิมะปกคลุมเกือบตลอดทั้งปี 4. เนอ่ื งจากเป็นบรเิ วณทไี่ ดร้ ับลมช้นื จากมหาสมุทร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106