คานา รายงานฉบบั นีใ้ นชีวติ ประจาวนั โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้รู้ถึง ความสาคญั ของป่ าไม้ ป่ าสงวน และสตั ว์สงวนซงึ่ รายงานเลม่ นี ้ มีเนือ้ หาเกี่ยวกบั ความส าคญั ของป่ าไม้ ป่ าสงวน สตั ว์ป่ าสงวน ปัญหาของทรัพยากรป่ าไม้ เราสามารถน าความรู้นีม้ าปรับกบั การใช้ชีวติ ประจ าวนั ของเราได้ ผ้จู ดั ท าได้เลือกหวั ข้อนี ้ใน การท ารายงานเนื่องมาจากเป็นเร่องท่ีน่าสนใจและเก่ียวข้องกบั ชีวติ ประจ าวนั และได้รู้ถึงคณุ ประโยชน์ของป่ าไม้ในแตล่ ะวนั มาเรียบเรียงให้ผ้อู า่ นได้อา่ นและเข้าใจได้ง่าย ยิ่งขนึ ้ ผ้จู ดั ท าจงึ ขอขอบคณุ อาจารย์ สรุ ชยั อฬุ ารวงศ์ผ้ใู ห้ความรู้และแนวทาง การศกึ ษา เพ่อื นๆทกุ นให้ความ ช่วยเหลือมาโดยตลอด ทาง คณะผ้จู ดั ท าหวงั วา่ รายงานฉบบั นีจ้ ะให้ความรู้ และเป็น ประโยชน์แก่ผ้อู า่ นทกุ
สัตว์สงวนน่ารู้
พะยูน พะยนู เป็นสตั วท์ ่ีอายยุ นื ถึง 70 ปี หรือมากกวา่ เป็นสตั วท์ ี่โตชา้ ขยายพนั ธุช์ า้ ตวั เมียเขา้ สู่วยั เจริญพนั ธุ์ระหวา่ งอายุ 7-17 ปี ใชเ้ วลา ต้งั ทอ้ งนานถึง 14 เดือน โดยมากออกลูกเพยี งคร้ังละตวั เดียว และใช้ เวลาใหน้ มและดแู ลลกู อยา่ งใกลช้ ิดถึง 18 เดือนหรือเกือบสองปี และ ทิ้งระยะห่างในการใหก้ าเนิดลกู แตล่ ะตวั นานถึง 3-7 ปี หาก สภาพแวดลอ้ มไมเ่ หมาะสมเช่นอาหารขาดแคลน พะยนู กจ็ ะไม่ผสม พนั ธุ์ จากการศึกษาพบวา่ ในสภาพแวดลอ้ มท่ีอุดมสมบรู ณ์พะยนู สามารถเพิม่ ประชากรไดอ้ ยา่ งมากร้อยละ5 ต่อปี เทา่ น้นั ถา้ อตั ราการ ตายสูงกวา่ ร้อยละ 5 ต่อปี หมายความวา่ ประชากรพะยนู กจ็ ะคอ่ ยๆ ลดลงและมีโอกาสสูญพนั ธุไ์ ปไดใ้ นที่สุด ในประเทศไทยเราสามารถพบพะยนู ไดท้ ้งั อ่าวไทยและฝ่ังทะเลอนั ดา มนั ทางอนั ดามนั พบพะยนู กลุ่มเลก็ ๆ แพร่กระจายต้งั แต่ จ.ระนองลง ไปถึงสตลู โดยมีพะยนู กลุ่มใหญท่ ่ีสุดบริเวณเกาะตะลิบง – เกาะมุกด์
ควายป่ า ควายป่ า เป็นสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมชนิดหน่ึง มีช่ือวทิ ยาศาสตร์ วา่ Bubalus arneeมีลกั ษณะคลา้ ยควายบา้ น (B.bubalis) ที่ อยใู่ นสกลุ เดียวกนั แต่ควายป่ าแต่มีลาตวั ขนาดลาตวั ใหญ่กวา่ มีนิสยั วอ่ งไว และดุร้ายกวา่ ควายบา้ นมาก สีลาตวั โดยทวั่ ไปเป็นสีเทาหรือสีน้าตาลดา ขา ท้งั 4 สีขาวแก่หรือสีเทาคลา้ ยใส่ถุงเทา้ สีขาว ดา้ นล่างของลาตวั เป็นลายสี ขาวรูปตวั วี (V) ควายป่ ามีเขาท้งั 2 เพศ เขามีขนาดใหญ่กวา่ ควายบา้ นมาก วงเขากางออกกวา้ งโคง้ ไปทางดา้ นหลงั ดา้ นตดั ขวางเป็นรูปสามเหล่ียม ปลายเขาเรียวแหลม ตวั โตเตม็ วยั มีความสูงท่ีไหล่เกือบ 2 เมตร ความยาวหวั และลาตวั 2.40–2.80 เมตร ความยาวหาง 60–85 เซนติเมตร น้าหนกั มากกวา่ 1,000 กิโลกรัม มีการกระจายพนั ธุ์จากประเทศเนปาลและอินเดีย ไปสิ้นสุดทางดา้ นทิศ ตะวนั ออกที่ประเทศเวยี ดนาม ในประเทศไทยในอดีตเคยมีอยมู่ ากและ กระจดั กระจายออกไป โดยพบมากที่บา้ นลานควาย หรือบา้ นลานกระบือ (ปัจจุบนั คือ อาเภอลานกระบือ จงั หวดั กาแพงเพชร[2]) แต่สถานะใน ปัจจุบนั เหลืออยแู่ คใ่ นเขตรักษาพนั ธุ์สตั วป์ ่ าหว้ ยขาแขง้ จงั หวดั อุทยั ธานี เท่าน้นั โดยจานวนประชากรท่ีมีมากท่ีสุดในธรรมชาติในปัจจุบนั คือ ท่ีอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา ในรัฐอสั สมั ของอินเดีย ประมาณ 1,700 ตวั [3]
กปู รี กปู รีเป็นสตั วจ์ าพวกววั ความยาวหวั -ลาตวั 210-223 เซนติเมตร หนกั 681 ถึง 910 กิโลกรัม กปู รีตวั ผคู้ วามสูงท่ีหวั ไหล่ 170-190 เซนติเมตร หางยาว 100 เซนติเมตร ตวั ผมู้ ีเอกลกั ษณ์โดดเด่นคือเหนียงคอหอ้ ยยาน ซ่ึง ต่างจากววั ควายชนิดอื่น เหนียงคอบางตวั ยาวเรี่ยพ้นื ดินถึง 40 เซนติเมตร มี รอยบากที่รูจมูก ช่วงใตล้ าตวั และขาท่อนล่างมีสีซีด มีเขาท้งั ตวั ผแู้ ละตวั เมียแต่ รูปร่างต่างกนั เขาตวั ผกู้ างออกกวา้ งแลว้ โคง้ ไปดา้ นหนา้ พร้อมกบั ชอ้ นข้ึนบน ปลายเขาแตกเป็นพู่ เขาของตวั ผอู้ าจยาวไดถ้ ึง 80 เซนติเมตร ส่วนตวั เมียเขา เลก็ กวา่ ของตวั ผมู้ าก มีรูปร่างคลา้ ยพณิ ไลร์ดงั แบบเขาของแอนทิโลปบางชนิด ในแอฟริกา ยาวไดป้ ระมาณ 40 เซนติเมตร บิดเป็นเกลียวและช้ีข้ึนบน กปู รีหากินตอนกลางคืน คาดวา่ เพือ่ หลีกเลี่ยงการเผชิญหนา้ กบั มนุษย์ เม่ือถึงรุ่ง เชา้ กจ็ ะกลบั เขา้ ป่ าทึบไป นอนพกั ผอ่ นตอนบ่ายโดยจะลอ้ มกนั เป็นวงเลก็ ๆ และแน่นหนา ตกเยน็ จึงออกมาท่ีทุ่งหญา้ หากินอีกคร้ัง หากเป็นในฤดูฝนกปู รี อาจเขา้ ป่ าทึบนอ้ ยลงเนื่องจากเลี่ยงแมลงรบกวน อาหารไดแ้ ก่ ไผ่
แรด แรด เป็นสตั วก์ ีบค่ี มีกีบขา้ งละสามกีบ หนกั ราว 1.5-2 ตนั สูงราว 160-175 เซนติเมตร ความยาวหวั -ลาตวั 300-320 เซนติเมตร หางยาว 70 เซนติเมตร ตามลาตวั มีสีเทาหม่น มีเอกลกั ษณ์สาคญั คือ มีนอซ่ึงเป็นตอแหลมข้ึนท่ีเหนือจมกู นอแรดส่วนใหญ่ยาวไม่ถึง 15 เซนติเมตร นอท่ียาวที่สุดที่เคยพบยาว 25 เซนติเมตร แรดตวั เมียตวั ใหญ่กวา่ ตวั ผู้ แต่ไม่มีนอ หรือมีเพยี งฐานนอนูนข้ึนมาเพยี งเลก็ นอ้ ย เท่าน้นั ริมฝีผากบนแหลมเป็นจงอยช่วยในการหยบิ เก่ียวยอดไมม้ ากิน ได้ หนงั หนามีรอยพบั จนดูเป็นเหมือนชุดเกราะ มีรอบพบั ขา้ มลาตวั สามรอย คือที่ทา้ ยทอย หวั ไหล่ และสะโพก ลกั ษณะทว่ั ไปคลา้ ยแรด อินเดีย แต่รูปร่างเลก็ กวา่ หวั เลก็ กวา่ มาก และมีรอยพบั ของหนงั ที่คอ นอ้ ยกวา่ แรดเป็นสตั วท์ ่ีถือสนั โดษมาก หากินโดยลาพงั เสมอ ยกเวน้ ในช่วงผสมพนั ธุห์ รือช่วงท่ีแม่ยงั เล้ียงดูลูก แรดชอบอาศยั อยใู่ นป่ าฝน ท่ีแน่นทึบ มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ มีปลกั โคลนอยทู่ ว่ั ไป ชอบอาศยั ในป่ าต่า
แมวลายหินออ่ น แมวลายหินอ่อนเป็นแมวขนาดเลก็ ขนาดใกลเ้ คียงกบั แมวบา้ นทว่ั ไป มีลวดลายและสีสนั คลา้ ยกบั เสือลายเมฆ ในภาษาจีนคาเรียกแมวลายหิน อ่อนกม็ ีความหมายวา่ เสือลายเมฆเลก็ มีแตม้ ใหญ่ ๆ ขอบสีดาแบบ เดียวกบั เสือลายเมฆ แต่แตม้ แต่ละแตม้ อาจมีขอบไม่ครบวงหรือซอ้ น เหล่ือมกนั มีสีสนั หลายแบบ ต้งั แต่เหลืองซีดจนถึงน้าตาลอมเทาหรือ น้าตาลอมแดง มีเส้นสีดาแคบ ๆ พาดผา่ นกระหม่อม คอ และหลงั ขนนุ่ม แน่นและมีขนช้นั ในที่พฒั นาดี ส่วนล่างของลาตวั มีสีเทาอ่อนหรือขาวและ มีจุดสีดา จุดสีดาใตล้ าตวั น้ีมีมากกวา่ และเลก็ กวา่ ของเสือลายเมฆ หวั ส้นั กลมกวา่ แมวชนิดอื่น ๆ มีแถบสีดาขา้ งละ 3 แถบ หนา้ ผากกวา้ ง รูม่านตา กวา้ ง สีน้าตาล หูกลมส้นั สีดามีจุดสีขาวท่ีหลงั หู ขาค่อนขา้ งส้นั และมีจุดดา อยมู่ าก ฝ่ าตีนกวา้ ง หางฟู ยาวประมาณ 48-55 ซม. ซ่ึงยาวเท่ากบั ลาตวั รวมกบั หวั หรืออาจจะยาวกวา่ เสียอีก มีจุดสีดาตลอดความยาวหาง ปลาย หางสีดา แมวลายหินอ่อนมีเสียงร้องเม้ียวใกลเ้ คียงกบั แมวบา้ นแต่กค็ ลา้ ยกบั เสียงร้องจิ๊บถ่ี ๆ ของนก ครางไม่บ่อยนกั
นกกระเรียน นกกระเรียน เป็นนกในตระกลู นกกระเรียนท่ีสูงที่สุด และเป็น นกบินไดท้ ่ีสูงที่สุดในโลก มีความสูงถึง 176 เซนติเมตร หนกั 6.35 กิโลกรัม ปี กกวา้ ง 240 เซนติเมตร ลาตวั สีเทาอ่อน กระหม่อมไม่มีขน มีหนงั เปลือยเปล่าสีอมเขียว ส่วนคอและใบหนา้ เปลือยเปล่า หนงั ขขุ ระสีแดงหรือสม้ ท่ีหูมีกระจุกขนสีขาวอมเทา ขนาดเลก็ นกกระเรียนพนั ธุ์อินเดีย (G. a. antigone) มีขนรอบคอ สีขาว ขาและนิ้วสีแดง ตวั ผแู้ ละตวั เมียลกั ษณะเกือบเหมือนกนั ตวั เมียเลก็ กวา่ เลก็ นอ้ ย พนั ธุ์อินเดียกระจายพนั ธุ์อยใู่ นที่ราบทางเหนือ ตะวนั ตกเฉียงเหนือ และตะวนั ตกของประเทศอินเดีย และทาง ตะวนั ตกของท่ีราบต่าทีไร
นกเจ้าสริ ิธร ลกั ษณะ : มีลาตวั ยาว 15 เซนติเมตร โคนหางมีแถบสีขาวลกั ษณะเด่นไดแ้ ก่ มีวงสี ขาวรอบตา ทาใหด้ ูมีดวงตาโปนโตออกมา จึงเรียกวา่ นกตาพอง นกที่โตเตม็ วยั มีแกนขน หางค่กู ลางยนื่ ยาวออกมา 2 เสน้ อปุ นิสัย : มีนิสัยค่อนขา้ งเช่ือง ชอบเกาะน่ิงอยตู่ ามพ้ืนดิน ชอบหากิน ตามแหลง่ น้าต้ืนๆ อาหาร : อาหารของนกเจา้ ฟ้ า ไดแ้ ก่ แมลง ไสเ้ ดือน ทอี่ ยู่อาศัย : อาศยั อยตู่ ามดงออ้ และพชื น้าในบริเวณบึงบอระเพด็ จะ เกาะนอนอยใู่ นฝงู นกนางแอ่นชนิดอ่ืนๆ ท่ีเกาะอยตู่ ามใบออ้ และใบสนุ่นภายในบึง บอระเพด็ บางคร้ังกพ็ บอยใู่ นกลุ่มนกกระจาบและ นกจาบปี ก กลุ่มนกเหล่าน้ีมีจานวนนบั พนั ตวั อาหารเชื่อไดว้ า่ ไดแ้ ก่แมลงท่ีโฉบจบั ไดใ้ นอากาศ เขตแพร่กระจาย : ไม่มีการพบเห็นนกเจา้ ฟ้ าหญิงสิรินธร มาเป็น เวลานานกวา่ 15 ปี แลว้ ในอดีตเคยพบอยบู่ ริเวณบึงบอระเพด็ ในช่วงฤดูหนาว เท่าน้นั และพบเฉพาะในประเทศไทย การสืบพนั ธ์ุ : ฤดูจบั คู่ผสมพนั ธุ์และทารังวางไข่อยใู่ นช่วงฤดูร้อน การทารังโดย ขดุ รูอยตู่ ามพ้ืนทราย วางไข่ชุดละ 2 - 3 ใบ (แหลง่ ผสมพนั ธุ์วางไข่และท่ีอาศยั ในช่วงฤดู ร้อนยงั ไม่ทราบ) สถานะภาพ : นกชนิดน้ีสารวจพบคร้ังแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.
สมเสร็จ สมเสร็จ [1] (องั กฤษ: Tapir) เป็นสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยน้านมกินพืช ขนาดใหญ่ เป็นสตั วม์ ีหนา้ ตาประหลาด มีลกั ษณะของสตั วห์ ลายชนิด ผสมอยใู่ นตวั เดียวกนั มีจมกู ที่ยนื่ ยาวออกมาคลา้ ยงวงของชา้ ง ลาตวั คลา้ ยหมทู ี่มีขายาว หางส้นั คลา้ ยหมีและมีกีบเทา้ คลา้ ยแรด อาศยั ในป่ า ทึบในแถบอเมริกาใต,้ อเมริกากลาง, และ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มี ท้งั หมดส่ีชนิด คือ สมเสร็จอเมริกาใต,้ สมเสร็จมลาย,ู สมเสร็จอเมริกา กลาง และสมเสร็จภูเขา ท้งั สี่ชนิดถูกจดั สถานะเป็นใกลส้ ูญพนั ธุ์หรือ เสี่ยงต่อการสูญพนั ธุ์ สมเสร็จเป็นญาติใกลช้ ิดกบั สตั วก์ ีบค่ีอ่ืน ไดแ้ ก่ มา้ และแรด
เลียงผา สตั วก์ ีบรูปร่างคลา้ ยแพะ ลาตวั ส้นั ขายาว ขนดายาว ขนช้นั นอกช้ีฟู ขน บริเวณต้งั แต่โคนเขาจนถึงหวั ไหล่ยาวและฟู อาจมีสีแตกต่างกนั ไปต้งั แต่ ขาวถึงดา หวั โต หูใหญต่ ้งั มีเขาเป็นรูปกรวยเรียว โคง้ ไปทางขา้ งหลงั เลก็ นอ้ ย ตวั ผเู้ ขายาวกวา่ ตวั เมียมาก ตวั ที่เขายาวที่สุดเคยวดั ไดถ้ ึง 28 เซนติเมตร โคนเขาเป็นลอนยน่ กะโหลกดา้ นหนา้ แบน มีต่อมน้าตาอยใู่ ตต้ า ต่อมน้ีมีหนา้ ที่สร้างสารกลิ่นฉุนเพ่ือใชใ้ นการทาเคร่ืองหมายประกาศอาณา เขต หางส้นั และเป็นพู่ ความยาวลาตวั 1.5 เมตร หางยาว 15 เซนติเมตร ความสูงท่ีหวั ไหล่ 1 เมตร หนกั ประมาณ 85-140 กิโลกรัม รอยตีนของเลียงผามีขนาดใกลเ้ คียงคลา้ ยรอยตีนเกง้ แต่กีบเลียงผาค่อนขา้ ง ขนานกนั ไม่งุม้ เขา้ หากนั อยา่ งสตั วก์ ีบชนิดอ่ืน และปลายกีบของเลียงผา ค่อนขา้ งท่กู วา่ ของเกง้
สารบญั คานา ก สารบัญ ข พะยนู 1 ควายป่ า 2 กูปรี 3 แรด 4 แมวลายหนิ อ่อน 5 นกกระเรียน 6 เลียงผา 7 สมัน 8 สมเสร็จ 9 นกเจ้าสริ ิธร 10
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: