Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บท3

Description: บท3

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 3 โครงสร้างเครือขา่ ย เสนอ ครู เพยี รวทิ ย์ ขาทวี จัดทาโดย น.ส.นฐั มนต์ แชม่ ช่ืนปวส.2 คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ (ม.6) เลขท่ี 3

ลกั ษณะการเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายลกั ษณะของการเชอื่ มโยงออกเปน็ 4 ลกั ษณะ คอื1.เครอื ข่ายแบบดาว (Star Network) จะมคี อมพิวเตอรห์ ลกั เปน็ โฮสต์ (Host) ตอ่ สายสื่อสารกบัคอมพวิ เตอร์ย่อยท่เี ป็นไคลเอนต์ (Client) คอมพิวเตอรท์ ี่เป็นไคลเอนตแ์ ต่ละเคร่อื งไม่สามารถตดิ ตอ่ กันไดโ้ ดยตรง การติดตอ่ จะต้องผา่ นคอมพวิ เตอร์โฮสตท์ ่เี ปน็ ศนู ย์กลาง ขอ้ ดีของเครอื ข่ายแบบดาว1.) มีความคงทนสูง คอื หากสายเคเบิลของบางโหนดเกดิ ขาดก็จะไมส่ ่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โดยโหนดอน่ื ๆ ยงั สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ2.) เนอื่ งจากมจี ดุ ศนู ย์กลางอยู่ทฮี่ บั (Hub) ดงั นน้ั การจัดการและการบริการจะง่ายและสะดวก ขอ้ เสยี ของเครอื ข่ายแบบดาว1.) ใช้สายเคเบิลมากเท่ากบั จานวนเคร่ืองท่ีเช่ือมตอ่ หมายถงึ ค่าใชจ้ ่ายท่สี งู ขึ้นดว้ ย แต่กใ็ ชส้ ายเคเบิลมากกวา่ แบบ BUS กับแบบ RING2.) การเพม่ิ โหนดใด ๆ จะต้องมีพอรต์ เพยี งพอตอ่ การเชอื่ มโหนดใหม่ และจะตอ้ งโยงสายจากพอรต์ ของฮับ (Hub) มายงั สถานท่ีทตี่ ้งั เครือ่ ง3.) เนอื่ งจากมีจดุ ศูนยก์ ลางอยูท่ ่ฮี บั (Hub) หากฮับเกิดข้อขดั ข้องหรอื เสยี หายใชง้ านไมไ่ ด้คอมพวิ เตอร์ตา่ ง ๆ ที่เชื่อมตอ่ เขา้ กบั ฮบั (Hub) ดังกล่าวก็จะใช้งานไม่ได้ทง้ั หมด

2. เครอื ขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายทเี่ ชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรด์ ว้ ยสาย เคเบิลเดียวในลักษณะวงแหวนไมม่ เี ครอ่ื งคอมพวเตอรเ์ ป็นศูนยก์ ลาง ข้อมูลจะต้องผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์รอบ ๆ วงแหวน และผา่ นเคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ุกเครื่องเพื่อไปยงั สถานีท่ี ต้องการ ซึง่ ขอ้ มูลท่ีสง่ ไปจะไปในทิศทางเดยี วกนั การวิง่ ของขอ้ มูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ ทิศทางเดยี วเท่านนั้ เม่อื คอมพวิ เตอร์เคร่ืองหนงึ่ ส่งข้อมลู จะสง่ ไปยังเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ตัว ถัดไป ถา้ ขอ้ มลู ท่ีรับมาไม่ตรงตามท่ีคอมพิวเตอร์ตน้ ทางระบุก็จะสง่ ผ่านไปใหค้ อมพวิ เตอร์ เคร่ืองถดั ไป ซ่งึ จะเปน็ ขนั้ ตอนแบบนีไ้ ปเรือ่ ย ๆ จนกวา่ จะถงึ คอมพิวเตอร์ปลายทาง ทีถ่ กู ระบตุ ามที่อยู่จากเครอ่ื งต้นทาง ข้อดีของเครือขา่ ยแบบวงแหวน1.) แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสที่จะสง่ ข้อมูลได้เท่าเทียมกนั2.) ประหยัดสายสญั ญาณ โดยจะใชส้ ายสญั ญาณเท่ากับจานวนโหนดทเ่ี ชือ่ มตอ่3.) ง่ายตอ่ การตดิ ตง้ั และการเพม่ิ /ลบจานวนโหนด ข้อเสียของเครอื ข่ายแบบวงแหวน1.) หากวงแหวนเกดิ ขาดหรือเสียหายจะส่งผลตอ่ ระบบท้ังหมด2.) ยากตอ่ การตรวจสอบ ในกรณที ่มี โี หนดใดโหนดหนง่ึ เกิดขดั ข้อง เน่ืองจากต้องตรวจสอบทีละจดุ วา่ เกิดข้อขัดขอ้ งอยา่ งไร

3. เครือขา่ ยแบบบัส (Bus Network) จะมกี ารเชอื่ มต่อคอมพิวเตอรบ์ นสายเคเบิล ซง่ึ เรยี นว่าบสั คอมพวิ เตอร์เครอื่ งหน่ึง ๆ สามารถสง่ ถา่ ยขอ้ มูลได้เป็นอิสระในการส่งขอ้ มูลน้ันจะมีเพียงคอมพิวเตอร์ตวั เดยี วเท่านั้นทส่ี ามารถส่งขอ้ มูลไดใ้ นช่วงเวลาหนึง่ ๆ จากน้ันข้อมลู จะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบลิ แล้วคอมพวิ เตอรป์ ลายทางจะรบั ขอ้ มลู ทว่ี ่ิงผา่ นมา ข้อดีของเครอื ขา่ ยแบบบสั1.) เป็นโครงสร้างท่ีไมซ่ บั ซ้อน และตดิ ตั้งงา่ ย2.) งา่ ยตอ่ การเพิ่มจานวนโหนด โดยสามารถเชอ่ื มตอ่ เข้ากับสายแกนหลักได้ทนั ที3.) ประหยดั สายส่งข้อมลู เนือ่ งจากใช้สายแกนเพียงเสน้ เดียว ขอ้ เสียของเครือขา่ ยแบบบัส1.) หากสายเคเบิลที่เปน็ สายแกนหลกั ขาดจะสง่ ผลให้เครือข่ายต้องหยดุ ชะงกั ในทันที2.) กรณรี ะบบเกิดขอ้ ผดิ พลาดใด ๆ จะหาข้อผิดพลาดไดย้ าก3.) ระหวา่ งโหนดแต่ละโหนดจะตอ้ งมีระยะห่างตามขอ้ กาหนด

4. เครอื ข่ายแบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ผี สมผสานระหวา่ งรูปแบบต่าง ๆ หลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั คอื มีเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครือขา่ ยเพ่ือให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสุดในการทางานเครือข่ายบรเิ วณกวา้ ง ซึ่งเครือขา่ ยทถ่ี ูกเชื่อมต่ออาจจะอยูห่ า่ งกนั คนละจังหวด หรืออาจจะอยคู่ นละประเทศก็เปน็ ได้

ลกั ษณะโครงสร้างเครือข่ายโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (NETWORK TOPOLOGY)คอื การนาคอมพิวเตอรม์ าเชอื่ มต่อกนั เพ่อื ประโยชน์ของการสื่อสารรูปแบบการจัดวางคอมพิวเตอร์ ซ่งึ แตล่ ะแบบกม็ จี ุดเดน่ ทีต่ ่างกนั สามารถแบง่ ตามลกั ษณะของการเชอ่ื มต่อหลักได้ดงั นี้1.โครงสรา้ งเครือข่ายแบบแมช (mesh topology) เป็นรปู แบบของการเชื่อมต่อท่มี ีความนิยมมากและมปี ระสทิ ธิภาพสูงเนอื่ งจากถ้ามีเส้นทางของการเชื่อมตอ่ คู่ใดคู่หนึง่ ขาดจากกัน การติดตอ่ ส่อื สารระหวา่ งคูน่ น้ั ยงั สามารถตดิ ตอ่ ไดโ้ ดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะทาการเชอ่ื มตอ่ เสน้ ทางใหม่ไปยังจดุ หมายปลายทางอตั โนมตั ิ การเชอ่ื มตอ่ แบบน้ีมกั นิยมสร้างบนเครือข่ายแบบไรส้ าย รปู ร่างเครอื ข่ายแบบแมช ระบบน้ียากตอ่ การ เดินสายและมรี าคาแพงมากจงึ ยงั ไมเ่ ปน็ ท่นี ิยมมากนัก

2.โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคมุ การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ หรอื ฮบั (hub) การสือ่ สารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ จะสอื่ สารผ่านฮบั ก่อนที่จะสง่ ขอ้ มลู ไปสู่เคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองอ่ืนๆ โครงสรา้ งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คอื ถ้าตอ้ งการเชอื่ มตอ่ คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองใหมก่ ็สามารถทาไดง้ า่ ยและไมก่ ระทบต่อเครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ ่ืนๆ ในระบบ สว่ นขอ้ เสีย คอื คา่ ใช้จ่ายในการใช้สายเคเบล้ิจะค่อนขา้ งสงู และเม่อื ฮบั ไมท่ างาน การส่ือสารของคอมพวิ เตอร์ทัง้ ระบบกจ็ ะหยดุ ตามไปดว้ ย3.โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology)โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มกี ารเชื่อมต่อระหวา่ งเครือ่ งคอมพิวเตอร์โดยทแ่ี ต่ละการเชอื่ มต่อจะมีลกั ษณะเป็นวงกลม การสง่ ข้อมลู ภายในเครอื ข่ายน้ีก็จะเปน็ วงกลมดว้ ยเช่นกนั ทิศทางการสง่ ขอ้ มูลจะเป็นทศิ ทางเดียวกนั เสมอ จากเคร่ืองหน่ึงจนถึงปลายทาง ในกรณีทม่ี เี คร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหนึง่ ขัดข้อง การส่งขอ้ มูลภายในเครือข่ายชนิดนจ้ี ะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดขี องโครงสรา้ ง เครือขา่ ยแบบวงแหวนคอื ใชส้ ายเคเบิล้ น้อย และถ้าตดั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีเสียออกจากระบบ ก็จะไมส่ ง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครือขา่ ยน้ี และจะไม่มกี ารชนกนั ของข้อมลู ทีแ่ ตล่ ะเคร่ืองสง่4.โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology)โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน มกี ารเช่อื มตอ่ระหว่างเครอื่ งคอมพิวเตอรโ์ ดยทีแ่ ต่ละการ เชอ่ื มตอ่ จะมีลักษณะเปน็ วงกลม การส่งข้อมูลภายใน เครอื ขา่ ยนี้กจ็ ะเปน็ วงกลมดว้ ยเช่นกัน ทิศทางการสง่ ข้อมลู จะเปน็ ทิศทางเดียวกนั เสมอ จากเคร่อื งหนง่ึ จนถึง

ปลายทาง ในกรณีทีม่ ีเครอื่ งคอมพิวเตอร์เครอ่ื งใดเคร่ืองหน่งึ ขดั ข้อง การสง่ ข้อมูลภายในเครือข่ายชนดิ นีจ้ ะไมส่ ามารถทางานตอ่ ไปได้ ข้อดขี องโครงสร้าง เครอื ขา่ ยแบบวงแหวนคอื ใช้สายเคเบล้ิ นอ้ ย และถา้ ตดั เครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ี่เสยี ออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครอื ขา่ ยนี้ และจะไมม่ กี ารชนกันของขอ้ มลู ที่แตล่ ะเคร่ืองส่ง5. โครงสรา้ งเครือขา่ ยแบบผสม (Hybrid Topology) คอื เป็นเครอื ข่ายทผี่ สมผสานกันท้ังแบบดาว แบบวงแหวน และแบบบสัเชน่ วิทยาเขตขนาดเล็กที่ มหี ลายอาคาร เครือข่ายของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบสั เช่อื มต่อกบัอาคารอ่ืนๆทใี่ ช้แบบดาว และแบบวงแหวน

สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย Network Component ในชีวติ ประจาวันของเรานั้นเก่ียวขอ้ งกับเครอื ข่ายตลอดเวลา เพระทุกการตดิ ตอ่ สอ่ื สารนนั้ ต้องผ่านระบบเครอื ขา่ ยมาแล้วทัง้ ส้ิน ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ SMS ATM วิทยุโทรทัศน์ ล้วนเป็นระบบเครือขา่ ยทงั้ สิน้ โดยท่ี Internet เปน็ ระบบเครือข่ายท่ีใหญ่ทีส่ ุดในโลกในท่นี จ้ี ะกล่าวถงึ ส่วนประกอบของระบบเครอื ขา่ ย ซ่ึงประกอบไปด้วย- เครื่องบริการขอ้ มูล (Server)- เครือ่ งลกู ขา่ ยหรือสถานี (Client)- การ์ดเครอื ข่าย (Network Interface Cards)- สายเคเบิลทใ่ี ช้บนเครอื ขา่ ย (Network Cables)- ฮับหรอื สวติ ช์ (Hubs and Switches)- ระบบปฏบิ ัตกิ ารเครอื ข่าย (Networkoperating System)เครอื่ งศูนย์บริการข้อมลูโดยมักเรียกว่า เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีบริการทรัพยากรให้กับเคร่ืองลูกข่าย เช่น การบริการไฟล์ การบริการงานพิมพ์ เป็นตน้ เนื่องจากเครอ่ื งเซฟเวอรม์ ักต้องรบั ภารกิจหนกั ในระบบจึงมักใชเ้ คร่ืองทีม่ ขี ีดความสามารถมาเปน็ เครอ่ื งแม่ข่าย

เคร่อื งลูกข่ายหรอื สถานเี ครอื ขา่ ยเครื่องลกู ขา่ ยเป็นคอมพวิ เตอร์ท่เี ชอื่ มต่อเขา้ กับระบบเครอื ขา่ ย ซง่ึ อาจเรยี กวา่เวิรก์ สเตชนั ก็ได้ โดยมกั เป็นเครือ่ งของผใู้ ช้งานทั่วไปสาหรบั ตดิ ต่อเพอ่ื ขอใชบ้ ริการจากเซริ ์ฟเวอร์ ซงึ่ สามารถจะขอหรอื นา software ทัง้ ข้อมลู จากเครอ่ื งแมข่ า่ ยมาประมวลผลใชง้ านไดแ้ ละยงั ตดิ ต่อสอ่ื สาร รบั -สง่ ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอืน่ ๆในเครอื ขา่ ยได้การ์ดเครอื ข่ายแผงวงจรสาหรบั ใชใ้ นการเชอื่ มตอ่ สายสญั ญาณของเครอื ข่าย คอมพิวเตอรท์ กุ เครื่องในเครือขา่ ยจะตอ้ งมอี ปุ กรณ์น้ี และหนา้ ทขี องการด์ ก็คือ แปลงสญั ญาณของคอมพิวเตอร์สง่ ผ่านไปตามสายสัญญาณทาให้คอมพวิ เตอรใ์ นเครือขา่ ยแลกเปลีย่ นขอ้ มูลกนั ได้สายเคเบลิ ทใ่ี ชบ้ นเครอื ขา่ ยเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์จาเป็นต้องมีสายเคเบลิ เพ่อื ใช้สาหรบั เชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรต์ า่ ง ๆใหอ้ ยบู่ นเครอื ข่ายเดยี วกนั เพื่อสอื่ สารกันได้ นอกจากนเี้ ครอื ขา่ ยยังสามารถสอ่ื สารระหวา่ งกนั โดยไม่ใชส้ ายก็ได้ เรียกว่า เครอื ข่ายไร้สายโดยสามารถใชค้ ลน่ื วิทยหุ รืออินฟาเรด เปน็ ตวั กลางในการปลงสญั ญาณ อกี ท้งั ยงั สามารถนาเครอื ข่ายแบบมสี ายและเครือขา่ ยแบบไรส้ ายมาเชอื่ มตอ่ เขา้ ด้วยกันเปน็ เครือขา่ ยเดยี วกันได้ฮบั และสวิตช์เปน็ อุปกรณ์ฮบั และสวิตช์มักนาไปใชเ้ ปน็ ศูนยก์ ลางของสายเคเบลิ ทเ่ี ชอ่ื มต่อเครือขา่ ยเขา้ ไว้ด้วยกนั ซง่ึ ฮับหรอื สวติ ช์จะมพี อร์ตเพอ่ื ใหส้ ายเคเบิลเชอื่ มตอ่ เขา้ ระหวา่ งฮับกับคอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอรต์ จะขน้ึ อยู่กับแตล่ ะชนดิ เชน่ แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอรต์ยังสามารถนาฮับหรอื สวิตช์หลายๆตวั มาเช่ือมต่อเขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ขยายเครอื ขา่ ยไดอ้ ีกดว้ ย

ระบบปฏิบัติการเครอื ขา่ ยเครอ่ื งแม่ขา่ ยของระบบจาเป็นตอ้ งติดตง้ั ระบบปฏบิ ตั ิการเครือข่ายไว้ เพือ่ ทาหน้าที่ควบคมุ และรองรับการทางานของเครอื ข่ายไว้ เครือขา่ ยทมี่ ีประสทิ ธภิ าพจาเป็นตอ้ งพ่ึงSoftware ที่มีประสทิ ธภิ าพตามดว้ ยเช่นกัน

รปู แบบของเครอื ข่ายแบ่งเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่1. เครอื ขา่ ยแบบ Client/Server2. เครือข่ายแบบ Peer To Peerเครือข่ายแบบ Client/Serverเปน็ เครอื ข่ายท่ีมีคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งหนึ่งทาหน้าท่ีเป็นเซริ ์ฟเวอร์ ไวค้ อยบริการข้อมลู ใหก้ บั ลูกเครอื ข่าย โดยมีฮับหรือสวิตซ์เป็นตวั กลาง โดยคอมพิวเตอรท์ กุ เครอ่ื งจะถูกเชือ่ มต่อกบั ฮบั เพื่อทาหนา้ ทีเ่ ช่อื มต่อระห่างกันและสมารถขอใชบ้ ริการ web server , mail server , file server และprint server ได้ เครือขา่ ยประเภทนอ้ี าจมีเซฟเวอร์ตวั หน่งึ ทาหน้าที่หลายๆหนา้ ทบ่ี นเครอื่ งเดยี วหรืออาจทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะก็ได้ขอ้ ดี ขอ้ เสียของระบบ Client/Serverข้อดี1.เครอื ขา่ ยมีเสถียรภาพสงู และสามารถเพิม่ ลดได้ตามตอ้ งกัน2.มคี วามปลอดภยั สูงทั้งด้านขอ้ มูลและการจดั การ userขอ้ เสีย1.ต้องใช้ทุนในการลงทนุ สูง2.ต้องพง่ึ พาผ้คู วบคุมที่มคี วามรู้ มีความเชี่ยวชาญ

เครอื ข่าย Peer To Peerเป็นระบบท่ีเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทกุ เครอ่ื งบนเครือขา่ ยมฐี านะเท่าเทยี มกันโยท่ีทุกเครอ่ื งจะต่อสายเคเบลิ เขา้ กบั ฮับหรอื สวติ ซท์ ุกเครือ่ งสามารถใชไ้ ฟล์ในเครือ่ งอนื่ ไดแ้ ละสามารถใหเ้ คร่อื งอืน่ มาช้ไฟล์ของตนเองไดเ้ ชน่ กัน ระบบเครอื ข่ายประเภทนี้มักจะใชง้ านในหนว่ ยงานขนาดเล็กหรอื ใช้คอมพวิ เตอรไ์ ม่เกิน 10 เครื่อง อาจมีปัญหาเรื่องความปลอดภยั ในระบบเนอื่ งจากขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ความลบั ถกู สง่ ไปยงั คอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนดว้ ยเชน่ กันขอ้ ดี ขอ้ เสียของระบบ Peer To Peerขอ้ ดี1.ลงทุนต่า2.ไมต่ อ้ งดแู ลผู้ดแู ลระบบ3.ติดตงั้ ง่ายข้อเสยี1. มขี ดี ความสามารถจากัด2. มรี ะบบความปลอดภยั ตา่3. มปี ัญหาเกยี่ วกับการขยายเครอื ข่าย

อุปกรณ์ทใ่ี ชเ้ ชอื่ มต่อระบบเครอื ขา่ ยรพี ีตเตอร์(Repeater) : ในระบบ Lan โดยท่วั ไปนั้น ยงิ่ คอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครื่องอยู่ไกลกนั มากเทา่ ไร สัญญาณทจ่ี ะสอ่ื ถงึ กนั เรม่ิ เพย้ี นและจะจางหายไปในทีส่ ุดจงึ ต้องมีอปุ กรณ์เสรมิ พิเศษท่ีเรียกว่า รีพตี เตอร์ ขน้ึ มาทาหนา้ ที่ในการเดนิ สัญญาณคอื ชว่ ยขยายสญั ญาณไฟฟ้าทีส่ ง่ บนสายLan ให้แรงขึ้นและจดั รูปสัญญาณท่ีเพื้ยนให้กลบั เปน็ เหมอื นเดิมฮบั (Hub) : ทาหน้าท่เี ปรยี บเสมอื นศูนยก์ ลางทีก่ ระจายข้อมูลชว่ ยให้คอมพิวเตอรต์ ่างๆบนเครอื ขา่ ยสามารถส่อื สารถึงกนั ได้ คอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครือ่ งจะต่อเขา้ กบั ฮับโยสายเคเบิลแล้วส่งขอ้ มลู จากคอมพวิ เตอร์จากเคราองหน่งึ ไปยงั อีกเครือหนึง่ โยงผา่ นฮบั ฮับไมส่ ามารถระบุแหล่งท่มี าข้อมลู และปลายทางของขอ้ มลู ทส่ี ่งไปได้ ดงั น้นั ฮับจะสง่ ขอ้ มูลไปให้กับเครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีเชือ่ มต่อกับฮับทกุ เครื่องรวมถึงเครอื่ งท่สี ่งข้อมลู ดว้ ย ฮบั ไม่สามรถรบั และสง่ ข้อมูลได้ในเวลาเดยี วกันจึงทาให้ฮับทางานช้ากว่าสวติ ซ์ การเชอ่ื มตอ่ แบบนี้ หากเชิร์ฟเวอร์ไม่ไดเ้ ปิดใช้งานอยู่ เครอ่ื งลกู ขา่ ยก็ไมส่ ามารใชง้ านบรกิ ารได้

สวติ ซ(์ Switch) : อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทพี่ ัฒนามาจากฮับ ลักษณะทางกายภาพของเนก็ เวริ ด์สวิตซ์น้นั จะเหมือนกบั เนต็ เวิรด์ ฮับทกุ อย่าง แตกตา่ งกนั ตรงท่ี- สวิตสจ์ ะเลือกสง่ ขอ้ มูลถึงผูร้ บั เทา่ น้ัน- สวิตสม์ ีความร็วสงู- มคี วามปลอดภัยสงู กวา่- สามารถรบั ส่งข้อมูลไดใ้ นเวลาเดยี วกนับริดจ์(Bridge) : เป็นอุปกรณเ์ ครือขา่ ยท่ีเชอื่ ม 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน เสมอื นเปน็ สะพานเชือ่ มโยงระหวา่ ง 2 เครือข่ายบรดิ จ์มีความสามารถมากกว่าฮับและรพี ตี เตอร์ กลา่ วคือ สามารถกรองขอ้ มูลทจี่ ะสง่ ได้ โดยตรวจสอบว่า- ตรวจสอบความสามารถของข้อมูล- สง่ ข้อมูลไปในเคร่อื งท่ีต้องการเทา่ น้ัน- จัดการความหนาแน่นของข้อมลู ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

เรา้ เตอร์(Router) : จะช่วยใหเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถสอ่ สารหากันได้และสามารส่งผ่านขอ้ มูลระหว่าง 2 เครือข่าย เช่น เครอื ขา่ ยในบ้านกบั อินเตอรเ์ นต็ โยท่แี บบมสี ายและไรส้ ายนอกจากนี้เร้าเตอร์ยงั มีระบบรักษาความปลอดภยั คือ ไฟล์วอร์เกตเวย์(Gateway) : เปน็ อุปกรณท์ ่ีทาหน้าท่ีเชอ่ื มตอ่ เครือข่ายตา่ งๆให้เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2ระบบมคี วามแตกต่างกัน คอื- มีโปรโตคลอทต่ี ่างกัน- มีขนาดเครอื ข่ายต่างกัน- มีระบบเครือขา่ ยต่างกน เชน่ เครื่อง PC และ เคร่ือง MAX ทาให้สามารถเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายระหวา่ งกันได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook