หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ที่รอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี ก
หลกั สตู รการวา่ ยน้ำเพอื่ เอาชวี ิตรอด และแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ทีร่ อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ ผ้นู ำกจิ กรรมทมี่ ีความเชยี่ วชาญ เฉพาะดา้ นกจิ กรรมวา่ ยนำ้ ศนู ยเ์ ยาวชนกรงุ เทพมหานคร (ไทย-ญีป่ นุ่ ) หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ที่รอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี ข
คำนำ การว่ายนำ้ (Swimming) เป็นการออกกำลงั กายที่มีแรงกระแทกตำ่ แรงต้านทานในน้ำ ที่มีมากกว่าในอากาศ 10 เท่า ทำให้การว่ายน้ำสามารถเผาผลาญไขมันได้มากขึ้น และให้ ผลลัพธ์ด้านสขุ ภาพที่คุ้มค่า ช่วยให้หัวใจแข็งแรง การว่ายน้ำทำให้หายใจแรงและเร็ว ซึ่งจะ ทำให้หัวใจสูบฉีดโลหิตและโลหิตไหลเวียนดี นอกจากนี้ ยังช่วยกระชับกล้ามเนื้อให้มีความ แขง็ แรงและแข็งแกรง่ ทัง้ กล้ามเนอ้ื ลำตัว กล้ามเน้อื ช่วงไหล่ และตน้ ขาดา้ นหลงั การว่ายน้ำ มีคุณประโยชน์อยู่มากหลาย ได้แก่ ช่วยให้ระบบเลือดไหลเวียนดี หัวใจทำงานดีขึ้น ช่วยใน การเผาผลาญไขมนั ลดนำ้ หนกั (วา่ ยนำ้ อย่างต่อเนื่อง 15-20 นาที หรอื ว่ายเป็นประจำ) อีกท้ัง ยังช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง โดยไม่มีอันตรายต่อข้อ ถนอมข้อต่อ ลดอาการปวดข้อสำหรับ ผู้สูงอายุ ช่วยบริหาร ยืด เหยียด กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ช่วยบริหารให้ข้อเคลื่อนไหวได้มากขึ้น ชว่ ยปอ้ งกัน รกั ษาสภาวะขอ้ ยดึ หรอื ข้อตดิ ช่วยใหน้ อนหลับง่าย เพราะเมอื่ อวยั วะทุกส่วนได้ ออกกำลัง จิตใจจะผอ่ นคลาย หายกงั วล จงึ ช่วยใหห้ ลบั สบายได้ หลักสตู รการวา่ ยน้ำเพ่ือเอาชีวติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ถูกจัดทำข้ึน เพื่อเป็นแนวทางประกอบการจัดการเรียนการสอนกิจกรรม/กีฬาว่ายน้ำ จัดให้มีแผนการ สอนเพ่ือสอนผเู้ รยี นใหส้ ามารถว่ายนำ้ เป็น สามารถเอาตัวรอดจากอบุ ัติเหตุหรือภัยทางน้ำได้ ด้วยตนเองอย่างปลอดภัย เป็นแนวทางในการศึกษาเพื่อนำไปจัดการเรียนการสอนหรือ จัดการเรียนรู้ในรูปแบบของตนเอง โดยเน้นไปที่การสอนซึ่งสอนอย่างไรให้ถูกต้อง สอน อยา่ งไรใหส้ ามารถช่วยเหลอื ตนเองไดเ้ ป็นหลัก สุดท้ายนี้ ผู้เขียนขอให้ผู้อ่านนำเนื้อหาที่ได้ศึกษาจากหลักสูตรนี้ไปศึกษาเพิ่มเติมจาก ชอ่ งทางอื่น ๆ เพอื่ นำไปปรบั ใช้ เรยี นรู้ และพฒั นาตนเอง รวมไปถึงการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมหรือกฬี าวา่ ยนำ้ ต่อไป วา่ ทรี่ อ้ ยตรี (คมชาญ รอดประเสรฐิ ) ผนู้ ำกิจกรรมที่มีความเชีย่ วชาญ เฉพาะด้านกจิ กรรมวา่ ยนำ้ หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าท่ีร้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี ค
สารบญั หนา้ ค เร่อื ง ง คำนำ 1 สารบญั 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 : การทำความคนุ้ เคยกบั นำ้ และการหายใจใต้นำ้ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : ทักษะการลอยตวั ในน้ำ 4 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 : ทกั ษะการว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ 5 6 หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ยท่ี 3.1 : ทักษะการเตะเทา้ สำหรับท่าฟรีสไตล์ 7 หนว่ ยการเรยี นรู้ยอ่ ยที่ 3.2 : ทกั ษะการพุ่งตัว หน่วยการเรียนรูย้ ่อยที่ 3.3 : ทกั ษะการหายใจแบบบิดหน้าหายใจ 8 หนว่ ยการเรียนรู้ยอ่ ยที่ 3.4 : ทกั ษะการหมุนแขนสำหรับทา่ ฟรีสไตล์ 9 หนว่ ยการเรียนรู้ยอ่ ยท่ี 3.5 : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ทา่ ฟรสี ไตล์ 10 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ท่ากรรเชียง 11 หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยท่ี 4.1 : ทักษะการเตะเท้าสำหรบั ท่ากรรเชยี ง 12 หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อยท่ี 4.2 : ทักษะการหมนุ แขนสำหรับท่ากรรเชยี ง 13 หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยที่ 4.3 : ทกั ษะการหายใจสำหรับท่ากรรเชียง 14 หนว่ ยการเรยี นรู้ยอ่ ยท่ี 4.4 : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ทา่ กรรเชยี ง 15 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 : ทกั ษะการว่ายนำ้ ท่ากบ 16 หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยที่ 5.1 : ทกั ษะการถีบขาสำหรับท่ากบ 17 หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยท่ี 5.2 : ทักษะการดงึ แขนสำหรับท่ากบ หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อยที่ 5.3 : ทกั ษะการหายใจสำหรับท่ากบ 18 หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อยท่ี 5.4 : ทักษะการว่ายน้ำท่ากบ 19 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 : ทกั ษะการว่ายนำ้ ท่าผีเสื้อ 20 หน่วยการเรยี นรยู้ อ่ ยที่ 6.1 : ทกั ษะการเตะขาาสำหรบั ทา่ ผเี ส้อื หน่วยการเรียนรยู้ ่อยท่ี 6.2 : ทักษะการดงึ แขนสำหรบั ท่าผเี ส้ือ 21 หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ยท่ี 6.3 : ทักษะการหายใจสำหรับท่าผเี ส้อื 22 หนว่ ยการเรยี นรู้ยอ่ ยที่ 6.4 : ทักษะการว่ายนำ้ ท่าผีเสื้อ 23 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 : ทักษะการออกตวั การกลบั ตัว และการเข้าเส้นชยั 24 แผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ 25 หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ทีร่ อ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ที่ ง
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 : การทำความคนุ้ เคยกับนำ้ และการหายใจใตน้ ้ำ การทำความคุ้นเคยกับน้ำ หมายถึง การเสริมสร้างหรือส่งเสริมความคุ้นเคยระหว่างน้ำ กับผู้ที่จะว่ายน้ำ โดยอาจกวักน้ำมาลูบแขน ลูบหน้า ลูบตัว เพื่อปรับอุณภูมิของร่างกายให้ สามารถปรับและรับสภาพอุณหภูมิของน้ำได้ ทั้งนี้รวมไปถึงการจุ่มเท้าในน้ำ เตะเท้าเบา ๆ ในน้ำ และสุดท้ายจะเป็นการลงน้ำหรือแช่น้ำสักระยะหนึ่งเพื่อให้สามารถปรับอุณหภูมิ ระหวา่ งร่างกายกับน้ำให้มคี วามใกล้เคียงกันหรอื รับสภาพกันได้ การหายใจใต้น้ำ หมายถึง การใช้เวลาอยู่ใต้น้ำโดยการกลั้นหายใจ ซึ่งแบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ (1) การหายใจใต้นำ้ แบบกล้นั ลมหรือกล้นั หายใจและ (2) การหายใจใต้นำ้ แบบเป่าลม ซึ่งทั้ง 2 แบบ นั้น มีความเหมือนกันคือจะต้องหายใจเข้าในระดับหนึ่งก่อนที่จะดำน้ำแต่มี ความแตกต่างกันคือ ถา้ เปน็ แบบที่ 1 (กลน้ั ลมหรอื กลน้ั หายใจ) จะเป็นการกล้ันหรือเก็บลม ไว้ ไม่เป่าลมออกมาให้เห็นเป็นฟองอากาศ ในขณะที่แบบที่ 2 (เป่าลม) จะเป็นการกลั้นลม หรือเก็บลมไว้แล้วเป่าลมออกมาเป็นระยะ ๆ จะกว่าจะหมดลมแล้วจึงขึ้นมาหายใจเข้าใหม่ อีกครงั้ หนงึ่ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. การทำความคุ้นเคยกบั น้ำ 1.1 ผู้สอนอธบิ ายพรอ้ มสาธติ วิธกี ารทำความคุน้ เคยกับน้ำให้กบั ผู้เรียน เชน่ การน่ัง บริเวณขอบสระ การลงน้ำและขึ้นจากสระ รวมไปถึงการปรับอุณหภูมิร่างกายให้ใกล้เคียง กับนำ้ ในสระโดยการนำนำ้ มาลูบตัวหรอื สาดน้ำใสต่ วั 1.2 ผสู้ อนอธบิ ายเพ่ิมเติมและใหผ้ ู้เรียนได้ฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง 1.3 ผูส้ อนสาธติ และอธิบายวิธีการหายใจของการวา่ ยนำ้ โดยให้ผเู้ รียนฝึกเป่าน้ำโดย ท่ีไมต่ อ้ งดำน้ำ เพ่อื ฝึกพนื้ ฐานการเป่าลมใหก้ ับผ้เู รยี น 2. การหายใจใต้น้ำ 2.1 ผ้สู อนสาธติ การหายใจใต้นำ้ กับผู้เรยี น 2.2 ผู้สอนพาผู้เรียนออกมาจากบริเวณขอบสระเพียงเล็กน้อยแล้วร่วมฝึกดำน้ำ อยา่ งพร้อมกัน 2.3 ผสู้ อนอธิบายเพ่มิ เตมิ และให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเองบริเวณขอบสระ การวัดและประเมินผล K : การทำความคุ้นเคยกบั น้ำและการหายใจใต้น้ำ P : ผ้เู รยี นสามารถทำความคุ้นเคยกับนำ้ และหายใจใตน้ ้ำได้ A : ผู้เรยี นลดความกลวั นำ้ ลงได้ มีความกล้าและพรอ้ มท่จี ะทำกิจกรรมรว่ มกับผ้สู อน หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าที่ 1
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 : ทกั ษะการลอยตวั ในน้ำ การลอยตัวในน้ำหรือการทรงตัวในนำ้ เป็นทักษะทีส่ ำคัญมาก วัตถุประสงค์ของทักษะน้ี คือสามารถเอาชีวิตรอดในกรณีที่ตกน้ำได้ โดยการลอยตัวนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ ตามที่ต้องการ เช่น การลอยตัวแบบคว่ำในลักษณะคล้ายกับปลาดาวคว่ำ การลอยตัวแบบ หงายในลักษณะคลา้ ยกับปลาดาวหงาย การลอยตวั แบบตั้งตวั ตรง ฯลฯ เปน็ ตน้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ผสู้ อนอธิบายพร้อมสาธิตวธิ กี ารลอยตวั เพอื่ เอาชวี ิตรอดในนำ้ ใหก้ บั ผ้เู รยี น 2. ผู้สอนให้ผูเ้ รยี นฝกึ ลอยตัวในรปู แบบตา่ ง ๆ ดงั นี้ 2.1 การลอยตัวแบบกอดเขา่ 2.2 การลอยตวั แบบนอนหงายและกอดโฟม 2.3 การลอยตวั แบบหงายในลกั ษณะคล้ายกบั ปลาดาวหงาย 2.4 การลอยตัวแบบคว่ำในลกั ษณะคล้ายกับปลาดาวควำ่ 2.5 การลอยตวั แบบตงั้ ตัวตรง 3. ผู้สอนฝกึ ใหผ้ เู้ รียนลอยตวั ในรปู แบบต่าง ๆ โดยเพ่มิ ความสามารถของผูเ้ รยี นด้วยการ จับเวลาเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ ตั้งแต่ 30 วินาที หรือ 1 นาที ขึ้นไป ซึ่งในขั้นพื้นฐานควรจะ ลอยตวั ได้นานกว่า 7 – 10 นาที ข้ึนไป การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการลอยตัวในรูปแบบตา่ ง ๆ P : ผูเ้ รยี นสามารถลอยตัวในรูปแบบตา่ ง ๆ และสามารถปฏิบัติดว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรยี นสามารถลอยตวั ได้อยา่ งไมก่ ลวั ไม่ร้องไห้ ตกใจ และ/หรอื หวาดระแวง หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่ร้อยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ที่ 2
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 : ทักษะการว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ (Freestyle/Crawl Stroke) การว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์เป็นท่าว่ายพื้นฐานของการว่ายน้ำ ลักษณะของท่าว่ายนั้น จะมี ลกั ษณะการใช้แขนท่ีมีความต่อเนื่องกันมากที่สดุ สำหรบั ขนั้ พืน้ ฐานจะนยิ มหมนุ แขนให้เป็น วงกลม แต่ในขั้นที่สูงขึ้นจะดึงแขนเข้าหาลำตัวไปด้านหลังให้สุดแขนและยกศอกพร้อมกับ วางหรอื จว้ งแขนไปดา้ นหนา้ ในขณะทข่ี ายังคงเตะสบั สลบั กนั ไปมาอย่างตอ่ เน่อื ง ตัวอยา่ งการว่ายนำ้ ท่าฟรสี ไตล์ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=OtjCg_PRfqE หนว่ ยการเรียนรูย้ ่อย 1. ทักษะการเตะเท้าสำหรับท่าฟรสี ไตล์ 2. ทกั ษะการพุ่งตัว 3. ทกั ษะหายใจแบบบดิ หน้าหายใจสำหรบั ทา่ ฟรีสไตล์ 4. ทักษะการหมุนแขนสำหรับท่าฟรีสไตล์ 5. ทักษะการว่ายน้ำท่าฟรสี ไตล์ หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ที่รอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ที่ 3
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อยท่ี 3.1 : ทกั ษะการเตะเทา้ สำหรับทา่ ฟรีสไตล์ สำหรับการเตะเท้าในท่าฟรีสไตล์นั้น เป็นการเตะเท้าแบบสับเท้าสลับไปมาในขณะที่ นอนควำ่ เพอื่ ให้รา่ งกายเคลื่อนที่ไปด้านหน้าได้อย่างต่อเน่ือง อกี ทั้งความเร็วในการสับหรือ เตะเทา้ สามารถสง่ ผลทำใหร้ า่ งกายสามารถเคลือ่ นที่ไปดา้ นหน้าได้ชา้ หรอื เรว็ ดว้ ย กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพรอ้ มสาธติ วธิ กี ารเตะเท้าทา่ ฟรีสไตล์ทีถ่ ูกต้องให้กบั ผ้เู รยี น 2. ผู้สอนให้ผู้เรยี นฝึกเตะเท้ากับบริเวณขอบสระเพื่อปรับลักษณะการเตะเท้าให้ถูกต้อง ตามแบบทา่ ว่ายให้ได้มากท่ีสุด 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกเตะเท้าแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจบั เพ่ือพยุงตวั ให้สามารถฝึกเตะเท้าแบบเคล่ือนที่ได้ ซงึ่ ในทักษะนี้จะเป็นการจับโฟม แบบจบั ท่หี วั โฟมหรือเรยี กวา่ “โฟมสัน้ ” 4. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้จากการเตะเท้าในลักษณะโฟมสั้นหรือจับที่หัวโฟมเป็น การจบั ท่ีทา้ ยหรือปลายโฟมหรือเรียกว่า “โฟมยาว” เพ่ือเพ่ิมทักษะการหายใจใต้น้ำในขณะท่ี ว่ายน้ำทา่ ฟรสี ไตล์ไดอ้ ย่างเปน็ จงั หวะและมคี วามต่อเนอื่ ง การวดั และประเมินผล K : ทกั ษะการเตะเท้าสำหรับทา่ ฟรีสไตล์ P : ผู้เรียนสามารถเตะเท้าท่าฟรีสไตล์ได้อย่างถูกต้อง โดยไม่งอขาหรือพับขามาก จนเกนิ ไป สามารถเตะเท้าแบบสับเท้าได้อยา่ งต่อเนื่อง และสามารถปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกเตะเท้าพร้อมกับหายใจใต้น้ำได้ตามปกติ ไม่มีอาการเกร็งหรือ หวาดกลัว หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่ร้อยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ที่ 4
หน่วยการเรียนรยู้ ่อยที่ 3.2 : ทกั ษะการพ่งุ ตัว การพุ่งตัว (Dashing) หมายถึง การโผตัวพุ่งไปด้านหน้า เป็นการส่งตัวออกจากบริเวณ ขอบสระลงไปในน้ำเพื่อที่จะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น พุ่งตัวออกไปเพื่อว่ายน้ำ ทา่ ตา่ ง ๆ ต่อไป เปน็ ต้น กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพร้อมสาธิตวิธีการพุ่งตัวทั้งแบบไม่เตะเท้าและเตะเท้าที่ถูกต้องให้กับ ผู้เรยี น 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกพุ่งตัวแบบลอยตวั (ไม่เตะเท้า) โดยลำตัวจะมีลักษณะเหยียดตรง ตัง้ แต่ปลายน้วิ มือที่ชขู ้นึ เหนือศีรษะจรดปลายเทา้ ในลกั ษณะท่ีคลา้ ยกบั จรวด 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกพุ่งตัวแบบเตะเท้า ซึ่งลักษณะลำตัวจะเหมือนกับแบบลอยตัว เพยี งแต่เพิ่มการเตะเทา้ เพอ่ื ใหส้ ามารถเคลอ่ื นที่ไปด้านหน้าได้ 4. ผสู้ อนเพ่ิมทักษะและระดบั การเรยี นร้ขู องผู้เรียนโดยฝึกทักษะการพงุ่ ตัวด้วยการเพ่ิม ระยะทางจากระยะทางส้ัน ๆ เป็นระยะทางท่ยี าวหรือไกลยิง่ ขึน้ การวัดและประเมนิ ผล K : ทักษะการพุ่งตวั P : ผู้เรียนสามารถพุ่งตัวลงน้ำได้อย่างถูกต้องและสามารถว่ายน้ำท่าต่าง ๆ ได้อย่าง ตอ่ เนอ่ื งและสามารถปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถพุ่งตัวลงน้ำได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการแสบจมูกและไม่แสดงอาการ หวาดกลัวแต่อยา่ งใด หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าทร่ี อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าที่ 5
หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยที่ 3.3 : ทักษะการหายใจแบบบดิ หนา้ หายใจสำหรบั ท่าฟรสี ไตล์ รูปแบบหรือวิธีการหายใจสำหรับท่าฟรีสไตล์ จะมีลักษณะการหายใจแบบบิดหน้า หายใจ โดยจะใช้การบิดหน้าหรือตะแคงหน้าหรือพลิกหน้าทำมุม 90 องศา ทางด้านซ้าย หรือด้านขวาตามจังหวะแขน เพื่อหายใจเข้าหรือเก็บลมแล้วบิดหน้ากลับลงไปในน้ำเพื่อ หายใจออกหรือเป่าลม กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผสู้ อนอธิบายพร้อมสาธิตวิธีการหายใจท่าฟรีสไตล์แบบบดิ หนา้ หายใจที่ถูกต้องให้กับ ผู้เรียน 2. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นฝึกบิดหนา้ หายใจกับบริเวณขอบสระเพื่อปรับลักษณะการบิดหน้าให้ ถกู ตอ้ งตามแบบทา่ ว่ายให้ไดม้ ากทส่ี ุด 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกบิดหน้าหายใจแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ประกอบการเรียนรู้ ซึ่งจะจับแบบโฟมยาวเพื่อให้มีลักษณะการฝึกที่ใกล้เคียง กบั การว่ายจรงิ โดยจะใชม้ อื ข้างใดขา้ งหน่ึงจบั ปลายโฟม ส่วนอีกขา้ งหนงึ่ จะแนบไว้กับลำตัว เพอ่ื ท่ีจะฝกึ บดิ หนา้ หายใจหนั ไปทางเดยี วกนั กบั แขนข้างท่ีแนบกับลำตัว 4. ผู้สอนเพ่มิ ทกั ษะและระดับการเรียนรู้ด้วยการเพิ่มระยะทางในการฝึก รวมถึงการฝึก บิดหนา้ หายใจแบบไม่ใช้หรอื ไมจ่ บั โฟม การวัดและประเมินผล K : ทกั ษะการหายใจทา่ ฟรีสไตล์แบบบดิ หน้าหายใจ P : ผู้เรียนสามารถหายใจแบบบิดหน้าหายใจได้อย่างถูกต้องและสามารถปฏิบัติด้วย ตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถหายใจท่าฟรีสไตล์แบบบิดหน้าหายใจได้อย่างถูกต้อง ไม่มีอาการ เกร็ง หวาดกลวั หรือไมก่ ลา้ ทำ หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพือ่ เอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สัปดาห์ ว่าทร่ี ้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 6
หน่วยการเรียนรูย้ ่อยท่ี 3.4 : ทกั ษะการหมุนแขนสำหรบั ท่าฟรสี ไตล์ การหมุนแขนท่าฟรีสไตล์จะมีลกั ษณะการใช้แขนที่มีความต่อเนือ่ งกันมากท่ีสุด สำหรบั ขั้นพื้นฐานจะนิยมหมุนแขนให้เป็นวงกลม แต่ในขั้นที่สูงขึ้นจะดึงแขนเข้าหาลำตัวไป ดา้ นหลงั ให้สดุ แขนและยกศอกพร้อมกับวางหรือจ้วงแขนไปดา้ นหน้า กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธบิ ายพร้อมสาธิตวิธีการหมนุ แขนทา่ ฟรสี ไตล์ทถี่ กู ตอ้ งใหก้ บั ผเู้ รยี น 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกหมุนแขนกับบริเวณขอบสระเพื่อปรับลักษณะการหมุนแขนให้ ถูกตอ้ งตามแบบทา่ วา่ ยไดม้ ากท่ีสุด 3. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นฝึกหมุนแขนแบบเคลื่อนที่โดยการใชโ้ ฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ประกอบการเรียนรู้ ซึ่งจะทำการฝึกตั้งแต่การหมุนแขนทีละข้างและเพิ่มเป็นสองข้าง ตามลำดบั 4. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้ด้วยการให้ผู้เรียนหมุนแขนโดยการควบคุมแขนที่หมุน ประกอบกบั การหายใจ เช่น หายใจในแขนที่ 3, แขนที่ 4, แขนท่ี 5 ตามลำดับหรือในระดับ ทม่ี ากข้ึน การวัดและประเมินผล K : ทักษะการหมุนแขนสำหรับทา่ ฟรีสไตล์ P : ผู้เรียนสามารถหมุนแขนได้อย่างถูกต้องร่วมไปกับการเตะเท้าเคลื่อนที่ไปด้านหน้า และสามารถปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกหมุนแขนพร้อมกบั หายใจใต้น้ำได้ตามปกติ ไม่สับสน มีสติในการ นับแขน และไมม่ ีอาการเกร็งหรอื หวาดกลัว ไม่กล้าทำ หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทรี่ ้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 7
หน่วยการเรียนรู้ย่อยท่ี 3.5 : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ท่าฟรีสไตล์ เป็นการนำหน่วยการเรียนรู้ย่อยที่ 3.1 ถึง 3.4 มารวมกัน เพื่อให้สามารถฝึกและว่ายน้ำ ท่าฟรีสไตล์ได้อย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง มีความลื่นไหล (Smooth) ลักษณะการว่ายสามารถ สร้างความสัมพันธ์กันในทุกส่วนของร่างกาย รวมไปถึงการควบคุมการหายใจให้สามารถ จับจังหวะการหายใจในรูปแบบของตนเองได้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธบิ ายพร้อมสาธิตวธิ กี ารว่ายนำท่าฟรีสไตล์ทถ่ี ูกต้องให้กบั ผูเ้ รยี น 2. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนฝกึ ว่ายนำ้ ทา่ ฟรสี ไตล์กับบรเิ วณขอบสระเพ่ือปรบั ลักษณะการว่ายให้ ถูกตอ้ งตามแบบทา่ วา่ ยไดม้ ากท่ีสุด 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์แบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจับเพื่อพยุงตัวให้สามารถฝึกว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์แบบเคลื่อนที่ได้ ซึ่งใน ทกั ษะนีจ้ ะเป็นการจบั โฟมแบบโฟมยาว 4. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้ในการว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ด้วยการเพิ่มระยะทางและการ ว่ายด้วยตนเองโดยไม่ต้องใชโ้ ฟม การวัดและประเมินผล K : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ทา่ ฟรสี ไตล์ P : ผู้เรียนสามารถว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ได้อย่างต่อเนื่อง ลื่นไหล แสดงให้เห็นถึง ความสมั พนั ธก์ นั ท้ังร่างกาย และสามารถปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ได้ตามปกติ ไม่มีอาการเกร็งหรือหวาดกลัว สามารถว่ายไดโ้ ดยเกาะลู่หรอื ขอบสระตลอดเวลาท่ีต้องการหายใจ หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 8
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 : ทกั ษะการว่ายน้ำท่ากรรเชียง (Backstroke) การว่ายน้ำท่ากรรเชียงเป็นท่าว่ายที่สวยที่สุด การว่ายกรรเชียงมีประโยชน์ที่จะ ยืดกลา้ มเนอ้ื มีหลักเกณฑ์คลา้ ยกบั การว่ายน้ำท่าฟรสี ไตล์ แตกตา่ งกนั ตรงทีก่ รรเชียงจะเป็น การว่ายแบบหงายตวั ราบกบั ระดบั น้ำ ในขณะที่ฟรีสไตลเ์ ป็นการควำ่ ตัว การว่ายน้ำท่ากรรเชียงเริ่มต้นจากการหงายตัวลอยอยู่ในระดับผิวน้ำ เงยหน้าไป ดา้ นหลังใหศ้ ีรษะขนานกบั แนวกระดูกสนั หลังเปรียบตัวเองคล้ายกงั หันลม โดยมีแขนท้งั สอง เป็นใบพัด วางแขนขนานลำตัวแล้วเริ่มต้นหมุนแขนไปด้านหลัง ใช้มือเฉียงลงด้านหลังโดย ให้นิ้วก้อยลงแตะน้ำก่อน ทำซ้ำอีกด้านหนึ่งไปเรื่อยๆ ยืดขาตรงขณะเตะน้ำ แต่ไม่ต้องมาก จนเกร็งมากเกินไป ไม่งอเข่าหรือเตะเท้าแบบปั่นเทา้ ในลกั ษณะเป็นวงกลมคล้ายกับการปั่น จักรยาน รกั ษาลำตัวให้ยดื ตรงอยเู่ สมอ และรักษาจงั หวะการวา่ ยใหไ้ ด้ระดบั อย่างต่อเนื่อง ตวั อย่างการวา่ ยนำ้ ทา่ กรรเชยี ง ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=GNjKPTPveuQ หน่วยการเรยี นรยู้ ่อย 1. ทักษะการเตะเทา้ สำหรบั ท่ากรรเชยี ง 2. ทกั ษะการหมนุ แขนสำหรับทา่ กรรเชยี ง 3. ทกั ษะการหายใจสำหรบั ท่ากรรเชยี ง 4. ทักษะการว่ายน้ำทา่ กรรเชียง หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ท่รี อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ที่ 9
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อยที่ 4.1 : ทักษะการเตะเทา้ สำหรบั ท่ากรรเชยี ง สำหรับการเตะเท้าในท่าว่ายกรรเชียงนั้น จะมีลักษณะคล้ายกันกับท่าฟรีสไตล์ นั่นคือ เป็นการเตะสับขาเหมือนกัน แต่จะต่างกันตรงที่ท่ากรรเชียงจะเป็นการว่ายแบบหงายตัว ในขณะที่ท่าฟรีสไตล์จะคว่ำตัว การเตะเท้าควรงอเข่าเล็กน้อย ไม่ควรเหยียดตรงมาก จนเกินไปจนถึงกับเกร็งขา เตะเท้าแบบสับเท้าเตะสลับไปมาอย่างต่อเนื่อง ไม่งอเข่ามาก จนเกินไปหรอื เตะแบบปน่ั เทา้ ในลักษณะคลา้ ยกับการปน่ั จักรยาน กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ผสู้ อนอธิบายพรอ้ มสาธติ วธิ ีการเตะเท้าทา่ วา่ ยกรรเชียงท่ถี ูกต้องให้กับผเู้ รยี น 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกเตะเท้าแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจับเพ่ือพยงุ ตัวใหส้ ามารถฝึกเตะเท้าแบบเคลื่อนที่ได้ ซง่ึ ในทกั ษะนจ้ี ะเป็นการจับโฟม แบบโฟมสน้ั และ/หรอื เพมิ่ ความสามารถใหก้ บั ผ้เู รียนโดยการจบั โฟมแบบโฟมยาว 3. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้จากการเตะเท้าแบบใช้โฟมเป็นไม่ใช้โฟมเพื่อเพิ่มทักษะ การหายใจในขณะท่ีว่ายน้ำท่ากรรเชียงได้อยา่ งเปน็ จงั หวะและมีความต่อเน่อื ง การวดั และประเมนิ ผล K : ทักษะการเตะเท้าทา่ วา่ ยกรรเชียง P : ผู้เรียนสามารถเตะเท้าท่าว่ายกรรเชียงได้อย่างถูกต้อง โดยไม่งอขามากจนเกินไป หรือเตะแบบปั่นขาคล้ายกับการปั่นจักรยาน สามารถเตะเท้าแบบสับเท้าได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกเตะเท้าพร้อมกับหายใจได้ตามปกติ ไม่มีอาการเกร็งหรือ หวาดกลวั หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทีร่ อ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 10
หนว่ ยการเรียนรูย้ ่อยที่ 4.2 : ทกั ษะการหมนุ แขนสำหรับท่ากรรเชียง การว่ายน้ำท่ากรรเชยี งจะมีแขนทัง้ สองข้างหมุนสลบั กันในลักษณะคล้ายกับใบพัด การ หมนุ แขนจะเร่ิมจากการวางแขนขนานกบั ลำตัวหรือชูขน้ึ เหนือศรี ษะแล้วเริ่มตน้ หมุนแขนไป ดา้ นหลงั ใชม้ อื เฉียงลงด้านหลงั โดยให้นิ้วก้อยลงนำ้ ก่อนแลว้ ใช้มือเฉียงขึน้ ใหน้ ิ้วโป้งข้ึนเหนือ จากน้ำก่อน ทำซำ้ อีกด้านหนงึ่ ไปเรอ่ื ย ๆ สลบั กนั ไปมาอยา่ งตอ่ เน่ือง กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธบิ ายพร้อมสาธติ วธิ กี ารหมุนแขนสำหรับทา่ กรรเชียงที่ถกู ต้องให้กับผเู้ รียน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกหมุนแขนสำหรับท่ากรรเชียงแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือ คกิ บอร์ด (Kickboard) ประกอบการเรียนรู้ ซึง่ จะจับแบบโฟมยาวเพ่ือให้มีลักษณะการฝึกท่ี ใกลเ้ คยี งกบั การวา่ ยจรงิ โดยจะใชม้ อื ข้างใดข้างหนง่ึ จับปลายโฟมขณะท่ีอกี ขา้ งหนึง่ หมนุ อยู่ 3. ผู้สอนเพิ่มทักษะและระดับการเรียนรู้ด้วยการเพิ่มความสามารถให้กับผู้เรียน เช่น การฝึกโดยไมใ่ ช้โฟม การเพม่ิ ระยะทาง การเพม่ิ จำนวนนับของแขนที่หมนุ ฯลฯ เปน็ ตน้ การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการหมนุ แขนสำหรับท่ากรรเชยี ง P : ผู้เรียนสามารถหมุนแขนสำหรับท่ากรรเชียงได้อย่างถูกตอ้ งและสามารถปฏิบตั ิด้วย ตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถหมุนแขนสำหรับท่ากรรเชียงได้โดยไม่มีอาการเกร็ง หวาดกลัว แสบจมกู หรอื ไม่อยากทำจากการทีน่ ำ้ เขา้ จมูก หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ทรี่ ้อยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 11
หนว่ ยการเรียนรยู้ ่อยที่ 4.3 : ทักษะการหายใจสำหรบั ทา่ กรรเชียง การหายใจสำหรับท่าว่ายกรรเชียงจะมีความแปลกและแตกตา่ งจากท่าอ่ืน ๆ ทัง้ 4 ท่าว่าย นับเป็นท่าว่ายเดียวที่หายใจไม่เหมือนกับท่าอื่น เนื่องจากท่ากรรเชียงจะหงายตัวและปาก จะโผล่พ้นน้ำอยู่ตลอด ต่างจากท่าอื่นที่จะก้มหน้าดำน้ำอยู่ตลอดเวลา สำหรับการหายใจ ท่าว่ายกรรเชียงจะหายใจเข้าทางปากและหายใจออกทางจมูก เพื่อไม่ให้เกิดการสำลักน้ำ หรือการหายใจทีต่ ิดขัด กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ผ้สู อนอธบิ ายพรอ้ มสาธติ วธิ กี ารหายใจสำหรบั ท่ากรรเชยี งท่ถี กู ต้องให้กบั ผู้เรยี น 2. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นฝึกหายใจสำหรบั ท่ากรรเชียงดว้ ยการใชโ้ ฟมและไม่ใช้โฟมตามลำดบั โดยการใช้หรือไม่ใช้โฟมเพื่อจับให้สามารถเตะเท้าได้แล้วพลิกตัวลงไปเป่าลมใต้น้ำตาม ระยะเวลาที่กำหนด เช่น การนับเลข 1 – 7 แล้วให้พลิกตัว หรือเตะเท้าจำนวน 10 คร้ัง แลว้ พลกิ ตวั ลงไปเป่าลม เปน็ ต้น การวดั และประเมนิ ผล K : ทักษะการหายใจสำหรับท่ากรรเชยี ง P : ผเู้ รียนสามารถหายใจขณะวา่ ยน้ำท่ากรรเชยี งไดอ้ ย่างถูกต้อง ตอ่ เน่อื ง และสามารถ ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถหายใจขณะว่ายน้ำท่ากรรเชียงได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการแสบจมกู และไมแ่ สดงอาการหวาดกลัวแตอ่ ย่างใด หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ที่ 12
หน่วยการเรียนรยู้ ่อยท่ี 4.4 : ทกั ษะการว่ายน้ำท่ากรรเชียง เป็นการนำหน่วยการเรียนรู้ย่อยที่ 4.1 ถึง 4.3 มารวมกัน เพื่อให้สามารถฝึกและว่ายน้ำ ท่ากรรเชียงได้อย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง มีความลื่นไหล (Smooth) ลักษณะการว่ายสามารถ สร้างความสมั พันธ์กันในทุกสว่ นของร่างกาย รวมไปถงึ การควบคมุ การหายใจให้สามารถจับ จังหวะการหายใจในรูปแบบของตนเองได้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธบิ ายพรอ้ มสาธิตวธิ ีการวา่ ยนำท่ากรรเชียงทถ่ี ูกตอ้ งใหก้ ับผเู้ รยี น 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกว่ายน้ำท่ากรรเชียงแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจับเพื่อพยุงตัวให้สามารถฝึกว่ายน้ำท่ากรรเชียงแบบเคลื่อนที่ได้ ซึ่งใน ทกั ษะนจี้ ะเป็นการจับโฟมแบบโฟมยาว 3. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้ในการว่ายน้ำท่ากรรเชียงด้วยการเพิ่มระยะทางและการ วา่ ยด้วยตนเองโดยไม่ต้องใชโ้ ฟม การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการวา่ ยน้ำทา่ กรรเชียง P : ผู้เรียนสามารถว่ายน้ำท่ากรรเชียงได้อย่างต่อเนื่อง ลื่นไหล แสดงให้เห็นถึง ความสัมพนั ธก์ ันท้งั ร่างกาย และสามารถปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกว่ายน้ำท่ากรรเชียงได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการแสบจมูกเน่ืองจาก นำ้ เข้าจมกู ไมเ่ กรง็ หรอื หวาดกลัว หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 13
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 : ทกั ษะการวา่ ยน้ำทา่ กบ (Breaststroke) การว่ายน้ำในท่ากบเป็นการออกกำลังกายที่ผ่อนคลาย สามารถที่จะว่ายไปแบบช้า ๆ เรื่อย ๆ ได้ ด้วยเหตุนีท้ ่ากบจึงเป็นทา่ ว่ายน้ำที่เหมาะกับผู้ที่ไมต่ ้องการใช้กำลังท่ีมากเกนิ ไป เช่น ผู้สงู อายหุ รือผทู้ ีเ่ หนอ่ื ยลา้ จากการเลน่ กีฬาประเภทอ่นื มาแล้ว เป็นตน้ การวา่ ยนำ้ ทา่ กบเป็นการว่ายนำ้ ที่ไม่เหมือนทา่ อน่ื ๆ เนอื่ งจากมีการเตะเทา้ ที่แปลกกว่า ท่าอื่น ๆ นั่นคือ ใช้การถีบเท้าในลักษณะที่เหมือนกันกับกบ ส่วนแขนจะใช้การดึงแขนเข้า หาลำตัวแล้วพุ่งแขนยืดไปด้านหน้า ซึ่งจะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างขากับแขน โดยการ ดึงแขนแล้วพุ่งไปดา้ นหนา้ พรอ้ มถบี ขาสง่ ให้ร่างกายเคล่ือนที่ไปด้านหนา้ ได้เรว็ ขึน้ ตัวอยา่ งการวา่ ยน้ำทา่ กบ ทมี่ า : https://www.youtube.com/watch?v=16uZz6fNpDE หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อย 1. ทกั ษะการถบี ขาสำหรบั ทา่ กบ 2. ทักษะการดงึ แขนสำหรบั ท่ากบ 3. ทกั ษะการหายใจสำหรบั ท่ากบ 4. ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ท่ากบ หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพอื่ เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทรี่ ้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 14
หนว่ ยการเรยี นร้ยู ่อยที่ 5.1 : ทกั ษะการถีบขาสำหรับทา่ กบ สำหรบั การถีบขาทา่ กบนั้น เป็นการถบี ขาเพอื่ สง่ ตวั ไปดา้ นหน้าในลกั ษณะทค่ี ลา้ ยกับกบ ที่ถีบขา โดยงอขาทั้งสองข้างเข้าหาลำตัวในระดับหนึ่ง จากนั้นให้แบะปลายเท้าออกใน ลักษณะที่พร้อมจะถีบเพื่อส่งให้เคลื่อนที่ไปด้านหน้า โดยการถีบนั้นจะถีบออกเป็นวงกว้าง ใกล้เคียงกับวงรี เมื่อถีบขาออกไปสุดขาแล้วให้ยืดขาดทั้งสองข้างแบบตึงไว้ระยะเวลาหน่ึง เพอื่ รอเวลาดงึ แขนแลว้ ถีบขาสง่ ให้พุ่งตวั ไปดา้ นหน้าไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ผ้สู อนอธิบายพร้อมสาธิตวิธีการถบี ขาท่ากบทถ่ี กู ต้องให้กับผเู้ รียน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกถีบขาแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจบั เพอ่ื พยงุ ตวั ใหส้ ามารถฝกึ ถบี ขาแบบเคลือ่ นท่ีได้ด้วยการจบั โฟมแบบโฟมสนั้ 3. ผ้สู อนเพ่มิ ระดบั การเรยี นรู้จากการถีบขาดว้ ยการจบั โฟมส้ันเป็นการจบั แบบโฟมยาว เพือ่ ควบคุมจำนวนขาและการหายใจให้มีความสัมพันธ์กัน ถอื เปน็ การเพมิ่ ทักษะการหายใจ ใตน้ ำ้ ในขณะท่วี า่ ยนำ้ ท่ากบได้อยา่ งเป็นจงั หวะและมคี วามต่อเน่อื ง การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการถีบขาทา่ กบ P : ผู้เรยี นสามารถถีบขาทา่ กบไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและสามารถปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกถีบขาพร้อมกับหายใจใต้น้ำได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการสับสน ระหวา่ งการใช้ขาร่วมกับการใชแ้ ขน หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพอื่ เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ท่ีรอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 15
หนว่ ยการเรียนรู้ย่อยท่ี 5.2 : ทักษะการดึงแขนสำหรบั ทา่ กบ การดงึ แขนสำหรับทา่ กบ ในบางคร้งั เรียกวา่ “การพยุ้ น้ำ” เปน็ การดงึ แขนที่เหยียดตรง ข้างหน้าให้ลงมาเพื่อให้สามารถเงยหน้าขึ้นมาหายใจเข้าได้ แต่การดึงมือลงมานั้นไม่ใช่การ ดึงแล้วทิ้งมือ แต่ดึงมาเพื่อรวบแล้วพุ่งไปด้านหน้าพร้อมกับก้มหน้าให้ตัวอยู่ในลักษณะของ เส้นตรงรวมถึงแรงส่งเพิ่มเติมจากการถีบขาที่จะทำให้ตัวพุ่งไปได้ไกลมากขึ้น เป็นการสร้าง ความสัมพนั ธ์ระหว่างขากับแขนใหม้ ีปฏิสัมพันธ์แบบส่งตอ่ หรือเกอื้ หนุนกนั กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ผสู้ อนอธบิ ายพร้อมสาธิตวิธกี ารดึงแขนทา่ กบใหก้ บั ผู้เรียน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกดึงแขนแบบเคลือ่ นทีโ่ ดยการใช้โฟมหนีบ (Pool bouy) เพื่อหนีบ ไว้บริเวณชว่ งตน้ ขาให้สามารถใช้ไดเ้ พียงแขนอยา่ งเดียว การวัดและประเมินผล K : ทกั ษะการดึงแขนท่ากบ P : ผเู้ รยี นสามารถดงึ แขนทา่ กบได้อยา่ งถกู ต้องสามารถปฏิบตั ิด้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถดึงแขนท่ากบไดต้ ามปกติ ไมแ่ สดงอาการสบั สนระหวา่ งการใช้แขน รว่ มกับการใชข้ า หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่ร้อยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 16
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อยที่ 5.3 : ทักษะการหายใจสำหรบั ท่ากบ รูปแบบหรือวิธีการหายใจสำหรับท่ากบ จะมีลักษณะการหายใจแบบยกหน้าหายใจ ซึ่ง จะหายใจได้หลังจากที่ดึงแขนแล้ว และจะต้องก้มหน้าพร้อมกับพุ่งแขนไปด้านหน้าเป็น เสน้ ตรงเพื่อให้ขาถีบสง่ ให้พงุ่ ไปดา้ นหนา้ ได้ไกลยง่ิ ข้ึน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพรอ้ มสาธติ วิธกี ารหายใจท่ากบที่ถกู ตอ้ งใหก้ บั ผู้เรียน 2. ผู้สอนใหผ้ ูเ้ รียนฝกึ หายใจทา่ กบแบบเคล่ือนที่โดยการใชโ้ ฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ประกอบการเรียนรู้ ซงึ่ จะจบั แบบโฟมยาวเพ่ือให้มลี ักษณะการฝกึ ท่ใี กล้เคียงกบั การว่ายจริง โดยฝึกใหค้ วบคมุ ลมหายใจผา่ นการถีบขา เชน่ ถบี ขา 3 คร้งั หายใจ 1 คร้งั เป็นต้น 3. ผูส้ อนเพม่ิ ทักษะและระดบั การเรียนรดู้ ว้ ยการเพิ่มระยะทางในการฝึก รวมถึงการฝึก หายใจทา่ กบโดยไมใ่ ชห้ รอื ไมจ่ ับโฟม การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการหายใจทา่ กบ P : ผเู้ รียนสามารถหายใจทา่ กบได้อย่างถกู ต้องและสามารถปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถหายใจท่ากบได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการสับสนในการหายใจใน ขณะท่ีดึงแขน หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ท่รี อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ที่ 17
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อยท่ี 5.4 : ทกั ษะการว่ายนำ้ ท่ากบ เป็นการนำหน่วยการเรียนรู้ย่อยที่ 5.1 ถึง 5.3 มารวมกัน เพื่อให้สามารถฝึกและ ว่ายน้ำท่ากบได้อย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง มีความลื่นไหล (Smooth) ลักษณะการว่ายสามารถ สร้างความสัมพันธ์กันในทุกส่วนของร่างกาย รวมไปถึงการควบคุมการหายใจให้สามารถ จบั จังหวะการหายใจในรูปแบบของตนเองได้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผสู้ อนอธิบายพรอ้ มสาธติ วิธกี ารว่ายน้ำท่ากบที่ถูกต้องให้กับผูเ้ รียน 2. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นฝึกว่ายนำ้ ทา่ กบแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจับเพื่อพยุงตัวให้สามารถฝึกว่ายน้ำท่ากบแบบเคลื่อนที่ได้ ซึ่งในทักษะนี้จะเป็นการ จบั โฟมแบบโฟมยาว 3. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้ในการว่ายน้ำท่ากบด้วยการเพิ่มระยะทางและการว่าย ด้วยตนเองไดโ้ ดยไม่ต้องใช้โฟม การวัดและประเมนิ ผล K : ทกั ษะการว่ายน้ำท่ากบ P : ผู้เรียนสามารถว่ายน้ำท่ากบได้อย่างต่อเนื่อง ลื่นไหล แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ กนั ทงั้ รา่ งกาย และสามารถปฏิบัติดว้ ยตนเองได้ A : ผเู้ รียนสามารถฝกึ ว่ายน้ำท่ากบไดต้ ามปกติ ไม่เกิดอาการบาดเจบ็ จากการถีบขาหรือ ดึงแขนทีแ่ รงจนเกินไป หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพือ่ เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทร่ี ้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าที่ 18
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 : ทกั ษะการวา่ ยน้ำท่าผเี สื้อ (Butterfly Stroke) การวา่ ยน้ำทา่ ผเี สอื้ เป็นทา่ วา่ ยน้ำแบบหนงึ่ ที่ต้องใช้กลา้ มเน้ือจำนวนมากและการเคล่ือนไหว ของข้อต่อ ไหล่ และช่วงหลังถึงสะโพก โดยต้องมีจังหวะที่ดีของแขนและการเตะขา รวมไปถึง จังหวะการหายใจอกี ด้วย ตัวอย่างการวา่ ยนำ้ ท่าผเี สอ้ื ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=UffZn_-lU54 หนว่ ยการเรียนรู้ย่อย 1. ทกั ษะการเตะขาสำหรบั ทา่ ผีเสื้อ 2. ทกั ษะการดงึ แขนสำหรบั ท่าผเี ส้อื 3. ทักษะการหายใจสำหรับท่าผเี สอื้ 4. ทักษะการวา่ ยน้ำทา่ ผีเสื้อ หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพอื่ เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หน้าที่ 19
หนว่ ยการเรียนร้ยู ่อยที่ 6.1 : ทักษะการเตะขาสำหรับทา่ ผเี สอื้ สำหรบั การเตะขาท่าผีเสอื้ น้ัน จะมลี กั ษณะการแตะขาดว้ ยขาค่คู ล้ายกบั โลมาหรือในอีก มุมหนึ่งคือใช้เท้าคู่เตะพร้อม ๆ กัน กระทุ่มขึ้นและลงในแนวดิ่ง เพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้ ร่วมไปกับการฝกึ เตะขาด้วยการยกสะโพกขึน้ งอเขา่ ทัง้ สองขา้ งพร้อมกันเล็กน้อย แล้วสะบดั เท้าหรือขาพร้อมลดสะโพกให้ต่ำลงใหส้ ัมพนั ธ์แบบนี้ไปเรื่อย ๆ อยา่ งตอ่ เน่อื ง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพร้อมสาธติ วธิ กี ารเตะขาท่าผีเส้ือทีถ่ กู ต้องให้กับผเู้ รียน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกเตะขาแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหรือคิกบอร์ด (Kickboard) ในการจับเพ่ือพยุงตัวใหส้ ามารถฝึกเตะขาแบบเคลื่อนท่ีไดด้ ้วยการจับโฟมแบบโฟมสั้นและ/ หรอื แบบโฟมยาว 3. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้จากการเตะขาด้วยการจับโฟมสั้นหรือแบบโฟมยาวเป็น การฝกึ เตะเท้าทา่ ผเี ส้อื ดว้ ยการไม่ใชโ้ ฟมในลกั ษณะของการพุ่งตัว การวัดและประเมนิ ผล K : ทกั ษะการเตะขาทา่ ผีเส้อื P : ผ้เู รียนสามารถเตะขาท่าผีเสือ้ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและสามารถปฏิบัตดิ ้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝกึ เตะขาพรอ้ มกับฝึกหายใจไดต้ ามปกติ ไมส่ ำลกั น้ำ หลักสูตรการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ทีร่ อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 20
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อยท่ี 6.2 : ทักษะการดึงแขนสำหรบั ท่าผเี สอ้ื การดึงแขนสำหรับทา่ ผเี สอื้ เปน็ การดงึ แขนคหู่ รอื ดึงแขนพร้อมกันทัง้ สองขา้ ง โดยดึงจาก ด้านหน้าลงใตน้ ้ำเพื่อให้สามารถเงยหน้าหายใจได้ ดึงแขนขึ้นมาในลกั ษณะคล้ายกับวงรี ให้ โผล่พ้นน้ำและรวบแขนมาด้านหน้าพร้อมกับก้มหน้าตามลำดับ รวมถึงการเตะขาส่งเพื่อให้ สามารถพงุ่ ไปด้านหน้าได้ เป็นการสรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างขากบั แขนให้มีปฏิสัมพันธ์แบบ สง่ ต่อหรอื เกอ้ื หนนุ กนั กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพร้อมสาธิตวิธีการดงึ แขนท่าผเี สอื้ ให้กับผู้เรยี น 2. ผู้สอนให้ผูเ้ รียนฝึกดึงแขนแบบเคลื่อนที่โดยการใช้โฟมหนีบ (Pool bouy) เพื่อหนีบ ไว้บริเวณช่วงต้นขาให้สามารถใช้ได้เพียงแขนอยา่ งเดยี ว 3. ผู้สอนเพิ่มระดับการเรียนรู้จากการดึงแขนด้วยการใช้โฟมหนีบเป็นการฝึกดึงแขน ทา่ ผเี สอ้ื ดว้ ยการไม่ใชโ้ ฟมในลักษณะของการพุ่งตวั การวดั และประเมนิ ผล K : ทักษะการดงึ แขนทา่ ผีเสื้อ P : ผู้เรียนสามารถดงึ แขนท่าผเี สื้อได้อย่างถูกต้องสามารถปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองได้ A : ผูเ้ รยี นสามารถดึงแขนท่าผเี สอ้ื ไดต้ ามปกติ ไม่แสดงอาการสับสนระหวา่ งการใช้แขน ร่วมกบั การใชข้ า รวมไปถงึ สามารถหายใจไดโ้ ดยไม่สำลักนำ้ หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทีร่ อ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 21
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อยท่ี 6.3 : ทักษะการหายใจสำหรับท่าผเี ส้อื รูปแบบหรือวิธีการหายใจสำหรับท่าผีเสื้อ จะมีลักษณะการหายใจแบบยกหน้าหายใจ เหมือนกันกับท่ากบ การหายใจจะหายใจได้หลังจากที่ดึงแขนแล้วเช่นเดียวกัน และจะต้อง ก้มหนา้ พรอ้ มกับพงุ่ แขนไปดา้ นหน้าเป็นเส้นตรงเพ่ือให้สามารถเตะขาส่งใหพ้ ุง่ ไปด้านหน้าได้ ไกลยงิ่ ข้นึ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ผู้สอนอธิบายพร้อมสาธิตวิธกี ารหายใจท่าผเี ส้ือทถ่ี ูกตอ้ งให้กับผู้เรียน 2. ผูส้ อนใหผ้ ู้เรียนฝึกหายใจทา่ ผีเสอ้ื แบบเคลื่อนที่โดยการใชโ้ ฟมหรือคกิ บอร์ด (Kickboard) ประกอบการเรียนรู้ ซงึ่ จะจบั แบบโฟมยาวเพ่ือให้มีลักษณะการฝึกทใ่ี กล้เคยี งกับการว่ายจริง โดยฝกึ ใหค้ วบคมุ ลมหายใจผา่ นการเตะขา เช่น เตะขา 3 คร้ัง หายใจ 1 ครงั้ เป็นตน้ 3. ผสู้ อนเพิ่มทักษะและระดับการเรียนร้ดู ้วยการเพ่ิมระยะทางในการฝึก รวมถึงการฝึก หายใจท่าผเี สื้อโดยไมใ่ ชห้ รอื ไมจ่ บั โฟม การวดั และประเมนิ ผล K : ทกั ษะการหายใจท่าผีเสอ้ื P : ผู้เรียนสามารถหายใจทา่ ผีเสอื้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและสามารถปฏบิ ตั ิด้วยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถหายใจท่าผีเสื้อได้ตามปกติ ไม่แสดงอาการสับสนในการหายใจใน ขณะที่ดึงแขน หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าที่ร้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 22
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อยที่ 6.4 : ทกั ษะการวา่ ยนำ้ ทา่ ผเี สื้อ เป็นการนำหน่วยการเรียนรู้ย่อยที่ 6.1 ถึง 6.3 มารวมกัน เพื่อให้สามารถฝึกและ ว่ายนำ้ ทา่ ผเี ส้ือไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ต่อเนอ่ื ง มคี วามล่ืนไหล (Smooth) ลักษณะการว่ายสามารถ สร้างความสัมพันธ์กันในทุกส่วนของร่างกาย รวมไปถึงการควบคุมการหายใจให้สามารถ จบั จงั หวะการหายใจในรปู แบบของตนเองได้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ผสู้ อนอธบิ ายพร้อมสาธติ วธิ ีการวา่ ยน้ำท่าผีเสอื้ ทีถ่ กู ตอ้ งให้กับผู้เรียน 2. ผ้สู อนให้ผ้เู รยี นฝกึ ว่ายนำ้ ทา่ ผีเสอ้ื ด้วยการเพิ่มระยะทางและการว่ายด้วยตนเองได้โดย ไม่ตอ้ งใช้โฟม การวดั และประเมินผล K : ทักษะการว่ายนำ้ ทา่ ผเี สอื้ P : ผเู้ รยี นสามารถวา่ ยน้ำท่าผเี ส้ือได้อย่างตอ่ เนื่อง ลืน่ ไหล แสดงให้เห็นถึงความสัมพนั ธ์ กันท้ังรา่ งกาย และสามารถปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองได้ A : ผู้เรียนสามารถฝึกว่ายน้ำท่าผีเสื้อได้ตามปกติ ไม่เกิดอาการบาดเจ็บจากการเตะขา หรือดึงแขนทแี่ รงจนเกินไป หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพือ่ เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ วา่ ท่ีร้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ที่ 23
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7 : ทกั ษะการออกตัว การกลับตัว และการเขา้ เส้นชัย ทักษะ/ท่าวา่ ย ฟรสี ไตล์ กรรเชยี ง QR Code การออกตัว นาทีท่ี 3.55 นาทที ี่ 0.10 (ST : Start) นาทีท่ี 4.20 นาทีท่ี 0.35 การกลบั ตวั นาทีท่ี 4.45 นาทีท่ี 1.05 (TU : Turn) การเขา้ เส้นชยั กบ ผีเสอ้ื (FI : Finish) ทกั ษะ/ทา่ วา่ ย QR Code การออกตัว นาทีที่ 3.26 นาทีท่ี 3.30 (ST : Start) นาทีท่ี 3.52 นาทที ี่ 3.55 / 4.25 / 5.00 นาทีท่ี 4.20 การกลบั ตัว นาทีที่ 5.20 (TU : Turn) การเข้าเส้นชัย (FI : Finish) เวบ็ ไซตอ์ ้างองิ : ฟรสี ไตล์ : https://www.youtube.com/watch?v=tx2DaIcoNLQ กรรเชยี ง : https://www.youtube.com/watch?v=DC_ObyGbSUs กบ : https://www.youtube.com/watch?v=fhRPhChywfU ผีเสือ้ : https://www.youtube.com/watch?v=1MWw0DD015g หลักสตู รการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าที่รอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 24
แผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าท่รี อ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ ผนู้ ำกจิ กรรมที่มคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะด้านกจิ กรรมวา่ ยน้ำ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย – ญปี่ นุ่ ) หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพอื่ เอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าท่ีรอ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 25
สัปดาห์ การจัดการเรียนรู้ การจดั การเรยี นรู้ ท่ี ผ้เู รยี นขน้ั พืน้ ฐาน ผูเ้ รยี นขัน้ พฒั นาทักษะ 1 1.1 การทำความคุ้นเคยกับน้ำ 1.2 การหายใจใต้นำ้ FREESTYLE : 2 1.3 การลอยตัว Warm up 1.3.1 แบบกอดโฟม - โฟมสั้น (เทา้ ) 100 ม. x 4 1.3.2 แบบหงายตวั Swim cords 1.3.3 แบบคว่ำตวั - โฟมยาว (เท้า) 100 ม. x 4 - บิดหนา้ หายใจด้านขวา 2.1 การเตะเทา้ บริเวณขอบสระ 100 ม. x 2 2.2 การเตะเทา้ เเบบเคล่ือนที่ - บดิ หน้าหายใจด้านซ้าย 100 ม. x 2 ด้วยการใช้โฟมแบบโฟมส้ัน - หมนุ แขนข้างขวา 100 ม. x 2 หรือแบบโฟมยาว - หมุนแขนขา้ งซา้ ย 100 ม. x 2 2.3 การลอยตวั แบบหงายตัว - ฟรสี ไตล์ 100 ม. x 2 และ/หรอื แบบควำ่ ตัว Cool down - ฟรสี ไตล์ 100 ม. x 2 Distance total : 2,000 ม. FREESTYLE : Warm up - ฟรีสไตล์ 100 ม. x 4 Swim cords - ฟรสี ไตล์ (เฉพาะแขน) 100 ม. x 4 - ฟรีสไตล์ (เฉพาะขา) 100 ม. x 4 - ฟรีสไตล์ 100 ม. x 4 Cool down - ฟรีสไตล์ 100 ม. x 4 Distance total : 2,000 ม. หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพื่อเอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าที่รอ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ที่ 26
สัปดาห์ การจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ ที่ ผู้เรยี นขน้ั พนื้ ฐาน ผ้เู รียนขัน้ พัฒนาทักษะ 3 3.1 การเตะเท้าเเบบเคลื่อนที่ - ฝกึ การออกตัว (Start) ดว้ ยการใช้โฟมแบบโฟมสัน้ - ฝกึ การกลับตวั (Turn) และแบบโฟมยาว - จับเวลาฟรสี ไตล์ 50 ม. x 10 3.2 การพุ่งตวั เเบบลอยตวั หรอื - จับเวลาฟรีสไตล์ 100 ม. x 5 ไมเ่ ตะเท้า BACKSTROKE : 3.3 การลอยตวั เเบบตวั ตั้งตรง - โฟมสน้ั (เท้า) 100 ม. x 3 หรือเเบบยืน - โฟมยาว (เท้า) 100 ม. x 3 - เตะเทา้ (ไม่ใชโ้ ฟม) 100 ม. x 3 Distance total : 1,900 ม. 4 4.1 การพงุ่ ตวั แบบลอยตัว BACKSTROKE : 4.2 การพงุ่ ตัวแบบเตะเท้า Warm up 4.3 ทักษะการพงุ่ ตัวดว้ ยการเพมิ่ - เตะเทา้ (ไม่ใชโ้ ฟม) 100 ม. x 4 ระยะทาง Swim cords - หมุนแขนกรรเชียงข้างขวา 100 ม. x 4 - หมุนแขนกรรเชียงข้างซา้ ย 100 ม. x 4 - หมนุ แขนกรรเชยี งท้งั 2 ข้าง 100 ม. x 4 Cool down - กรรเชยี ง 100 ม. x 5 Distance total : 2,100 ม. หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพอื่ เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรยี นรู้ 12 สัปดาห์ ว่าทรี่ ้อยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หนา้ ท่ี 27
สปั ดาห์ การจัดการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรู้ ที่ ผ้เู รียนข้ันพื้นฐาน ผู้เรยี นขั้นพฒั นาทักษะ 5 5.1 การบดิ หน้าหายใจเฉพาะ BACKSTROKE : ดา้ นขวาแบบใชโ้ ฟมและ - ฝกึ การออกตัว (Start) แบบไมใ่ ช้โฟม - ฝกึ การกลบั ตวั (Turn) 5.2 การบิดหนา้ หายใจเฉพาะ - จับเวลากรรเชียง 50 ม. x 10 ดา้ นซา้ ยแบบใชโ้ ฟมและ - จับเวลากรรเชียง 100 ม. x 5 แบบไมใ่ ช้โฟม Swim cords - กรรเชยี ง (เฉพาะแขน) 100 ม. x 3 - กรรเชยี ง (เฉพาะขา) 100 ม. x 3 - กรรเชียง 100 ม. x 3 Cool down - กรรเชียง 100 ม. x 3 Distance total : 2,200 ม. 6 6.1 การหมุนแขนสำหรบั ท่า BREASTSTROKE : ฟรีสไตล์เฉพาะแขนข้างขวา - โฟมสั้น (เทา้ ) 100 ม. x 4 แบบใช้โฟมและไมใ่ ช้โฟม - โฟมยาว (เทา้ ) 100 ม. x 4 6.2 การหมนุ แขนสำหรับทา่ - ถีบขา (ไม่ใช้โฟม) 100 ม. x 4 ฟรีสไตล์เฉพาะแขนขา้ งซ้าย - กบ 100 ม. x 5 x 2 เซต็ แบบใช้โฟมและไม่ใช้โฟม Distance total : 2,200 ม. หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ติ รอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าที่รอ้ ยตรคี มชาญ รอดประเสริฐ หน้าท่ี 28
สปั ดาห์ การจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ ที่ ผเู้ รยี นขนั้ พ้นื ฐาน ผูเ้ รยี นขั้นพฒั นาทักษะ 7 7.1 การว่ายนำ้ ทา่ ฟรสี ไตลด์ ว้ ย BREASTSTROKE : การหมุนแขนทั้ง 2 ขา้ ง Warm up 7.2 การลอยตวั แบบเคลื่อนที่ - กบ 100 ม. x 4 และการลอยตัวอยูก่ บั ทแ่ี บบ Swim cords ตั้งตวั ตรง - กบ (เฉพาะแขน) 100 ม. x 4 - กบ (เฉพาะขา) 100 ม. x 4 - กบ 100 ม. x 4 Cool down - กบ 100 ม. x 4 Distance total : 2,000 ม. 8 8.1 การว่ายน้ำท่าฟรสี ไตลโ์ ดย BREASTSTROKE : เพ่ิมระยะทางเป็น 15 เมตร - ฝกึ การออกตวั (Start) 8.2 การลอยตวั แบบเคล่ือนที่ - ฝึกการกลับตวั (Turn) และการลอยตวั อยูก่ ับท่ีแบบ - จบั เวลากบ 50 ม. x 10 ต้งั ตัวตรง - จบั เวลากบ 100 ม. x 5 BUTTERFLY STROKE : - โฟมสน้ั (เท้า) 100 ม. x 4 - โฟมยาว (เทา้ ) 100 ม. x 4 - ถบี ขา (ไม่ใชโ้ ฟม) 100 ม. x 4 Distance total : 2,200 ม. หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพอ่ื เอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ทรี่ ้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หนา้ ท่ี 29
สปั ดาห์ การจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้ ที่ ผู้เรียนข้นั พน้ื ฐาน ผู้เรียนขัน้ พฒั นาทกั ษะ 9 9.1 การว่ายน้ำท่าฟรีสไตลโ์ ดย BUTTERFLY STROKE : ไม่ใช้ขา (หนีบโฟมไว้ทขี่ า) Warm up เพื่อฝกึ การหายใจและหมนุ - ผีเสอ้ื 100 ม. x 4 แขนใหม้ ีความต่อเนื่องและ Swim cords สัมพันธ์กนั - ผีเสอ้ื (เฉพาะแขน) 9.2 การว่ายนำ้ ทา่ ฟรีสไตล์โดย 100 ม. x 4 เพม่ิ ระยะทางเปน็ 25 เมตร - ผเี สื้อ (เฉพาะขา) และ 50 เมตร ตามลำดับ 100 ม. x 4 9.3 การลอยตัวแบบเคลอ่ื นที่ - ผเี สอ้ื 100 ม. x 4 และการลอยตวั อยูก่ ับทแี่ บบ Cool down ต้งั ตัวตรง - ผีเส้อื 100 ม. x 4 Distance total : 2,000 ม. 10 การวา่ ยน้ำทา่ ฟรสี ไตล์ระยะทาง BUTTERFLY STROKE : 50 เมตร - ฝกึ การออกตัว (Start) - ฝกึ การกลับตวั (Turn) Swim cords - เตะเทา้ ผเี สื้อ 100 ม. x 4 - แขนผีเสอื้ 100 ม. x 4 - จบั เวลาผีเส้ือ 50 ม. x 10 - จับเวลาผีเสื้อ 100 ม. x 5 - ผีเส้ือ 50 ม. x 5 Distance total : 2,050 ม. หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ิตรอดและแผนการจัดการเรยี นรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าทร่ี ้อยตรคี มชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 30
สัปดาห์ การจัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ ที่ ผ้เู รียนข้นั พน้ื ฐาน ผเู้ รยี นขั้นพัฒนาทกั ษะ 11 11.1 การว่ายน้ำท่าฟรสี ไตล์ Warm up ระยะทาง 50 เมตร - เตะเทา้ เด่ยี วผสม ท่าละ 11.2 ทบทวนการจดั การเรยี นรู้ 25 ม. x 4 ให้กบั ผู้เรียนกอ่ นทำการ - แขนเด่ียวผสม ท่าละ 25 ม. สอบวัดผล x4 Swim cords - เดี่ยวผสม ท่าละ 25 ม. x 4 - เดยี่ วผสม ท่าละ 50 ม. x 3 Cool down - เตะเทา้ เดย่ี วผสม ทา่ ละ 25 ม. x 4 Distance total : 2,200 ม. 12 การทดสอบวดั และประเมนิ ผล การทดสอบวัดและประเมนิ ผล สำหรบั การจัดการเรียนการสอน สำหรบั การจัดการเรียนการ กิจกรรม/กีฬาว่ายน้ำสำหรับ สอนกจิ กรรม/กฬี าวา่ ยน้ำ ผเู้ รียนขนั้ พืน้ ฐาน สำหรับผู้เรียนขัน้ พัฒนาทักษะ หลกั สูตรการวา่ ยนำ้ เพ่ือเอาชวี ิตรอดและแผนการจดั การเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ ว่าท่รี ้อยตรีคมชาญ รอดประเสริฐ หน้าที่ 31
หลกั สตู รการวา่ ยนำ้ เพ่อื เอาชวี ติ รอดและแผนการจัดการเรียนรู้ 12 สปั ดาห์ วา่ ที่รอ้ ยตรีคมชาญ รอดประเสรฐิ หน้าท่ี 32
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: