โรงเรยี นปากเกร็ด PAKKRED SCHOOL
ข้อมูลโรงเรยี น รหัสโรงเรยี น 10 หลัก : 1012230162 รหสั Smis 8 หลกั : 12022004 รหัส Obec 6 หลกั : 230162 ชอื่ สถานศึกษา(ไทย) : ปากเกร็ด ชื่อสถานศกึ ษา(อังกฤษ) : PAKKRED ที่อยู่ : 128/37 หมู่ท่ี 3 ต.ปากเกรด็ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120 โทรศัพท์ : 029606060 โทรสาร : 029606006 ระดับทีเ่ ปดิ สอน : มัธยมศึกษาตอนต้น-มัธยมศึกษาตอนปลาย วัน-เดือน-ปี ทีก่ ่อต้งั : 1 พฤษภาคม 2447
คณะผ้บู รหิ าร ดร. วิณัฐธพชั ร์ โพธิเเพชร ผูอ้ านวยการโรงเรียนปากเกร็ด
คณะผบู้ ริหาร นางกัญญภา อนิ ทรปญั ญา นายภริ มย์ ชุม่ ชาติ นางสาวดาราณีย์ โกพลรตั น์ รองผ้อู านวยการ รองผู้อานวยการกล่มุ การบริหารงบประมาณและบคุ คล รองผอู้ านวยการ กลมุ่ การบรหิ ารงานวิชาการ รองผ้อู านวยการกลมุ่ บริหารงานทั่วไป กลุม่ การบริหารกิจการนกั เรียน
ขอ้ มลู ครพู เี่ ลี้ยง นางสาวจันทรจ์ รสั ศิริวาลย์ นางสาวโชติกา พลู ทรพั ย์ ครูชานาญการ ครูชานาญการ
แบบบนั ทกึ การสังเกตการสอน แบบบันทึกการสงั เกตการสอนของครูพี่เลย้ี ง ครั้งที่ 1 รายวิชาทสี่ ังเกต วิชาภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่อื ง โคลงโลกนติ ิ ระดบั ช้นั ม.1/3
แบบบนั ทกึ การสังเกตการสอน 1. กาหนดจดุ ประสงค์ 1.1 สามารถแปลบทประพันธ์จากเรอ่ื งโคลงโลกนิตไิ ด้ 1.2 บอกคณุ ค่าของวรรณคดีจากเร่ืองโคลงโลกนิตไิ ด้ 1.3 บอกข้อคิดจากเร่อื งโคลงโลกนิตไิ ด้ 2. การใชว้ ิธีการสอน/เทคนิคการสอนของครู 2.1 กระตนุ้ ความสนใจโดยใช้ส่อื PowerPoint เกมทายคาศัพท์ 2.2 นาบทร้อยกรองโคลงส่สี ุภาพจานวน 1 บทมาให้ผู้เรยี นอ่านและสงั เกต 2.3 ต้งั คาถามกระตุน้ ความคิดความสนใจ 2.3 เกมทายคาศพั ท์สรา้ งความสนใจ 2.4 ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อา่ นโคลงสี่สุภาพเร่อื งโคลงโลกนิติ ครยู กตวั อยา่ งสานวนท่สี อดคลอ้ งกบั บทประพนั ธ์
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน 3. การนาส่ือมาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ 3.1 power point เร่ืองโคลงโลกนิติ 3.2 เอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ งโคลงโลกนติ ิ 3.3 ไมโครโฟน 3.4 หนังสือเรยี นวรรณคดีและวรรณกรรม ม.๑ 4. การใชว้ ธิ ีการวัดและประเมนิ /เครอื่ งมือที่ใช้ 4.1 ขอ้ สอบเกบ็ คะแนนชุดที่ 2 เรอื่ งโคลงโลกนิติ 4.2 แบบฝึกคัดลายมือบทร้อยกรองเร่อื งโคลงโลกนติ ิ
แบบบันทกึ การสงั เกตการสอน 5. บรรยากาศในชน้ั เรยี น 5.1 นกั เรยี นใหค้ วามสนใจกับสอ่ื PowerPoint 5.2 สนุกสนาน 5.3 มงุ่ มานะในการเรยี น กลา้ แสดงออก 5.4 โต้ตอบด้วยการแสดงความคิดเห็น 5.5 มจี ิตอาสาในการเป็นตัวแทนการอ่านบทร้อยกรอง 6. การจัดการช้ันเรยี น 6.1 ทักทายนักเรยี นดว้ ยความสนทิ สนม 6.2 ใชว้ าจาสภุ าพในการตักเตือน 6.3 สุ่มนกั เรยี นอ่านบทประพนั ธ์หากมกี ารพูดคยุ เสยี งดงั 6.4 ให้คะแนนเสริมแรงจากการตอบคาถาม
แบบบนั ทกึ การสังเกตการสอน 7.การใช้จติ วิญญาณความเป็นครู : พฤติกรรมที่สงั เกตได้ 7.1 ความเอือ้ อาทร/เอาใจใส่ตอ่ ผู้เรียน - ตงั้ ใจถา่ ยทอดความรู้ - ตงั้ คาถามกระตุ้นความสนใจนกั เรยี น - มีปฏสิ มั พันธ์ท่ีดีต่อนกั เรยี น - ครเู ข้าถึงนักเรียนทุกคนตั้งแต่หน้าหอ้ งถงึ หลงั หอ้ ง - เชค็ ช่อื นกั เรยี นทุกครง้ั ก่อนหมดคาบเรยี น 7.2 การมปี ฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รยี น - พดู คุยกบั กลุม่ นักเรียนในห้องเรยี นอย่างเป็นกนั เอง - เรยี นช่ือเลน่ ของนักเรียนในเวลาสื่อสาร - ตามงานที่นักเรียนไม่สง่ อยบู่ อ่ ยคร้ัง
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน 7.3 การยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผู้อื่น -นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นและตอบคาถามไดต้ ามความคิดของตนเอง -นกั เรียนสามารถซกั ถามในส่วยท่ีไม่เข้าใจหรอื สงสยั 7.4 ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ - ใชน้ ้าเสียงทเ่ี มาะสมในการตักเตอื น 7.5 มคี วามรับผิดชอบ ซอ่ื สัตย์ ตรงต่อเวลา อุทิศตนให้กับการพัฒนาผู้เรยี น -กอ่ นเริ่มการเรยี นการสอนครูจะใหน้ ักเรียนทาความสะอาดหอ้ งเรยี นทง้ั หน้าหอ้ งและหลังหอ้ ง -เข้าสอนตรงเวลา -เตรียมความพร้อมในเรือ่ งของเนื้อหาและส่ือ
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน 7.6 วางตนเหมาะสม เปน็ แบบอย่างทด่ี ีในเรอ่ื งความประพฤติ และบุคลกิ ภาพ - แตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย - พดู จาไพเราะ ใช้น้าเสยี งท่เี หมาะสม - มบี ุคลิกภาพท่ีดี 7.7 มีทศั นคติทด่ี ตี อ่ อาชพี ครู - เปน็ ตัวของตวั เอง - เตรียมความพรอ้ มในการสอนอยเู่ สมอ - บุคลกิ ภาพและการวางตัวเหมาะสม
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครูพเ่ี ล้ียง ครั้งที่ 2 รายวชิ าท่สี ังเกต วิชาภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เรือ่ ง การอา่ นตีความ ระดบั ชน้ั ม.1/10
แบบบันทกึ การสังเกตการสอน 1. กาหนดจุดประสงค์ 3. การนาสอ่ื มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 1.1 บอกความหายของการอ่านตีความ 3.1 รูปภาพสตั ว์ เช่น หงส์ กา นก ลงิ 1.2 จับคู่ความหมายโดยตรงกับความหมายโดยนัย 3.2 PowerPoint เร่ืองการอา่ นตคี วาม 1.3 ปฏิบัติตนตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3 ไมโครโฟน 3.4 หนงั สอื เรียนหลกั ภาษาไทย ม.๑ 2. การใชว้ ิธีการสอน/เทคนิคการสอนของครู 2.1 ทกั ทายนักเรยี น 4. การใช้วธิ ีการวัดและประเมิน/เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ 2.2 ตง้ั คาถามกระตุ้นความสนใจ 4.1 แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม 2.3 เนน้ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง 4.2 แบบฝกึ หัดเรอ่ื งการอ่านตีความ 2.4 เสรมิ แรงด้วยการใหค้ ะแนน 4.3 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 3 เร่ืองการอ่านตีความ
แบบบันทกึ การสังเกตการสอน 5. บรรยากาศในชนั้ เรียน 5.1 หอ้ งเรียนสะอาดเรยี บร้อย 5.2 นกั เรียนให้ความร่วมมอื 5.3 กลา้ แสดงออก กล้าแสดงความคดิ เหน็ 6. การจัดการชนั้ เรียน 6.1 เตรียมความพรอ้ ม จัดระเบียบห้องเรียน 6.2 กระต้นุ เสรมิ แรง 6.3 ใช้คาสภุ าพในการตักเตือน
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครพู ่เี ลย้ี ง ครงั้ ท่ี 3 รายวิชาทส่ี ังเกต วิชาภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การวจิ ารณ์เร่ือง ระดบั ชั้น ม.1/10
แบบบันทกึ การสงั เกตการสอน 1. กาหนดจดุ ประสงค์ 1.1 ตอบคาถามจากเร่อื งท่ีอา่ นได้ 1.2 จบั ใจความสาคญั ของบทประพันธไ์ ด้ 1.3 เขยี นวจิ ารณ์เรื่องท่ีอา่ นได้ 1.4 ส่งงานตรงเวลา 2. การใช้วิธกี ารสอน/เทคนิคการสอนของครู 2.1 เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ 2.2 การเรียนร้แู บบร่วมมอื 2.3 ให้นักเรียนดูตัวอยา่ งการเขยี นวพิ ากษ์วิจารณแ์ ละชว่ ยกันเสนอหลักในการเขียน โดยครูเปน็ ผใู้ ห้คาแนะนา 2.4 นักเรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง หลังจากน้ันเข้ากลุ่มเพื่อหาคาประพันธ์ในโคลงโลกนิตมิ าถอดความหมาย และวพิ ากษ์วิจารณใ์ นแง่มุมตา่ ง ๆ
แบบบันทกึ การสงั เกตการสอน 3. การนาสอื่ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ 3.1 ใบความรู้ เร่อื ง การเขียนคาวิพากษ์วิจารณ์ 3.2 หนงั สอื เรยี นหลกั ภาษาไทย ม.๑ 4. การใชว้ ธิ กี ารวัดและประเมิน/เคร่อื งมือที่ใช้ 4.1 แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรม 4.2 แบบฝกึ หัดเรื่องการเขียนวิพากษว์ ิจารณ์ 5. บรรยากาศในชัน้ เรียน 5.1 นักเรียนให้ความรว่ มมอื ในกลมุ่ ตนเอง 5.2 มีความกระตอื รือร้นในการหาข้อมูล 5.3 แสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออก 6. การจดั การช้ันเรยี น 6.1 ครูเดินเข้าหาเปน็ รายบุคคล 6.2 ตกั เตือนนักเรยี นท่ไี มป่ ฏิบตั ิตามคาส่ัง
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครูพเี่ ล้ียง ครัง้ ท่ี 4 รายวชิ าทสี่ งั เกต วชิ าภาษาไทย หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง การอา่ นจบั ใจความ ระดับชัน้ ม.1/3
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน 1. กาหนดจุดประสงค์ 1.1 บอกความหมายของการอา่ นจับใจความได้ 1.2 ตง้ั คาถามและตอบคาถามเก่ยี วกับเรอ่ื งที่อ่านได้ 1.3 จับใจความสาคัญจากเรอื่ งทอ่ี ่านได้ 1.4 มคี วามกระตือรอื ร้นในการเรยี นรู้ 2. การใช้วธิ กี ารสอน/เทคนิคการสอนของครู 2.1 เน้นผู้เรียนเป็นศนู ยก์ ลาง 2.2 กระตุน้ โดยใช้คาถาม 2.3 เสริมแรงโดยการให้คะแนนเพมิ่ 2.4 ครูเปดิ นิทานเร่อื งไสเ้ ดอื นกับห่ิงหอ้ ยใหน้ กั เรียนฟงั และดู 2.5 ครสู นทนากบั นักเรยี นเกี่ยวกบั การอา่ นจบั ใจความ หลักการ จุดมุ่งหมาย 2.6 ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน 3. การนาสอ่ื มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 5. บรรยากาศในช้นั เรียน 3.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านจบั ใจความ 5.1 นักเรยี นใหค้ วามร่วมมือในการเรียนรู้ 3.2 หนงั สือเรยี นหลกั ภาษาไทย ม.๑ 5.2 กลา้ แสดงความคิดเห็น 3.3 สอ่ื วดี ิโอนิทานเรื่อง ไสเ้ ดือนกบั ห่งิ ห้อย 5.3 โต้ตอบคาถามระหวา่ งครูกบั นกั เรียน 4. การใช้วิธีการวัดและประเมิน/เครอื่ งมือทีใ่ ช้ 6. การจัดการช้ันเรียน 4.1 แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรม 6.1 หอ้ งเรยี นสะอาด ปลอดภัย 4.2 แบบฝึกหัดเรื่องการอ่านจับใจความ 6.2 กระตุ้นเสริมแรง 4.3 แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 3 เรือ่ งการอา่ นจับใจความ 6.3 วาจาสภุ าพเหมาะสมในการกล่าวตักเตอื น 6.4 ถามคาถามกระตุ้นความสนใจนักเรยี นที่ไม่ต้งั ใจเรยี น
การบันทึกสรุปผล การสงั เกตการณส์ อนของครพู ี่เล้ยี ง
การบนั ทึกสรุปผลการสงั เกตการณส์ อนของครูพี่เลยี้ ง 1. นกั ศกึ ษาเรยี นรอู้ ะไรจากการสังเกตและการวิเคราะห์การสอนของครู จากการสังเกตและการวิเคราะห์ทาให้ทราบในสิ่งท่ีเกิดข้ึนในขณะท่ีจัดการเรียนการสอน ทาให้เกิดความเข้าใจในตัวนักเรียนแต่ละบุคคลท่ีมีพฤติกรรมและความต้องการต่อการเรียนรู้ แตกตา่ งกัน การเป็นครตู อ้ งเตรียมความพร้อมในเร่ืองของวธิ ีการจดั การเรียนรู้ เทคนิคต่าง ๆ ที่ทาให้นักเรียนสามารถเข้าใจในเน้ือหาท่ีครูสอน รวมถึงการท่ีครูควรเอาใจใส่นักเรียน สิ่งเหล่านี้ จะทาให้การจดั การชั้นเรียนของครงู ่ายขน้ึ การที่ได้เรียนรู้ในเวลา 10 วนั นี้ เปน็ ความรู้ท่ีสามารถ นาไปพฒั นาตนเอง สะท้อนภาพการเรียนการสอนของครูนาไปปรบั ปรงุ และพัฒนายงิ่ ข้ึนไป
การบนั ทึกสรปุ ผลการสงั เกตการณ์สอนของครพู เ่ี ลยี้ ง 2. นกั ศกึ ษาจะนาส่ิงท่ไี ดร้ ับจากการเรียนรู้ไปใช้พฒั นาตนเองอย่างไร 1.นารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยและเทคนิควิธีการสอนไปปรับใช้ให้เข้ากับพฤติกรรมของนักเรียนที่มี พฤตกิ รรมการเรียนรแู้ ตกตา่ งกนั 2.การทางานร่วมกันระหว่างผู้อ่ืน การวางตนให้เหมาะสม การมีบุคลิกภาพท่ีดี เป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับนักเรียนและ เพือ่ นร่วมงาน 3.การจดั การเรียนรู้ใหม้ มี าตรฐาน หมน่ั ศกึ ษาวิธกี ารจัดการเรยี นรู้และเทคนิคเพ่ือนาไปปรับใชก้ ับนกั เรียนอยู่เสมอ 4.มีปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดีกับนักเรยี นเพอ่ื ให้นักเรยี นรสู้ กึ อบอุ่น 3. นักเรียนตอ้ งการพฒั นาตนเองเรอ่ื งใดและจะพัฒนาอย่างไร - ความแม่นยาในเนื้อหา ความรู้ ความเข้าใจในบทเรียน - การจัดการชัน้ เรียน - การควบคมุ อารมณต์ นเอง
กรณีศกึ ษา (Case Study) คร้งั ที่ 1 พฤตกิ รรมทแ่ี สดง คร้ังท่ี 2 พฤติกรรมท่แี สดง ครงั้ ที่ 3 พฤติกรรมท่ีแสดง วันท่ี 17สิงหาคม 2563 ณ ห้องเรียนช้ัน วันท่ี 20 สิงหาคม 2563 ณ วั น ท่ี 28สิ ง ห า ค ม 2563 ม.1/10 ก่อนเริ่มการจัดการเรียนการสอน ห้องเรียนช้ัน ม.1/10 ในขณะท่ีมีการจัดการ ณ ห้องเรียน ม.1/10 ระหว่างมีกิจกรรม เดก็ ชายธญั เทพมีพฤติกรรมเรียกร้องความสนใจ เรียนการสอนเด็กชายธัญเทพไม่ให้ความ การเรียนการสอนพบว่าเด็กชายธัญเทพไม่ คือ โยนขวดน้าในขณะท่ีครูส่ังให้เพื่อนทาความ ร่วมมือในการทากิจกรรม เช่น ครูเปิดสื่อ สนใจในสิ่งที่ครูสอน แอบเล่นโทรศัพท์มน สะอาดห้องเรียน เมอ่ื เร่มิ การสอนเด็กชายธัญเทพ วีดิโอเกมทายคาศัพท์ เด็กชายธัญเทพก็ไม่ ร ะ ห ว่ า ง ท่ี ค รู ส อ น ไ ม่ ท า ก า ร บ้ า น ที่ ค รู อยนู่ ่งิ ไมไ่ ด้ ลุกจากทน่ี งั่ ไปมารบกวนเพ่ือนคนอ่ืนที่ สนใจ ชวนเพื่อนคุยหรือเล่น ทาให้ครูลงโทษ มอบหมาย ครูต้องตามงานและให้ทาในคาบ กาลังนั่งเรียน ครูจึงลงโทษด้วยการให้อ่านบท ธัญเทพด้วยการอ่านคาตอบและเขียนลงสมุด เรียน แต่เม่ือครูให้เด็กชายธัญเทพเป็นผู้นา ร้อยแก้ว เรื่อง จระเข้สามพัน ผลปรากฏว่า ปัญหาท่ีเพ่ิมเติมจากวันที่ 17 สิงหาคม 2563 สถานการณ์คือ ให้เด็กชายธัญเทพส่ังงาน เดก็ ชายธัญเทพอ่านไม่ออก ไม่สามารถอ่านคาง่าย คือ เด็กชายธัญเทพเขียนคาศัพท์พื้นฐาน ม.1 เพ่ือนให้ทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 หลังจาก ๆ ได้ ตวั อย่าง คาวา่ กรดี รอ้ ง รวมถึงพัฒนาการ ไมไ่ ด้ ตัวอย่างเช่น คาวา่ สรุ าษฎรธ์ านี ซึง่ ทาให้ นั้นเด็กชายธัญเทพก็มีท่าทางดีใจ ยิ้มแย้ม ล่าช้ากว่านักเรียนคนอื่น นอกจากน้ีในขณะท่ีครู เห็นได้ชัดว่าเด็กชายธัญเทพอ่านไม่ออกเขียน แจ่มใส กลับมาน่ังทางานที่ตนเองส่ังและ ส่ังงานให้ทาในชั้นเรียน เด็กชายธัญเทพนั่งเล่น ไมไ่ ด้ ผลงานของเด็กชายธัญเทพก็มีควา ม ปากกาหรือถุงรองเท้าของตน ไม่สนใจในส่ิงท่ีครู เรยี บร้อย สง่ งานตรงตามเวลาท่ีครูกาหนด สอนหรือมอบหมายงาน
กรณีศึกษา (Case Study) สรุปปัญหาของผู้เรียน 1. นักเรยี นมพี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ขณะอยู่ในห้องเรียน หรอื แม้กระทัง่ ในขณะท่คี รูสอน นักเรียนรบกวนเพ่ือนคนอืน่ ๆ ในขณะที่เพ่ือน คนอนื่ ๆ ต้งั ใจเรยี น นักเรยี นเรียกร้องความสนใจจากครผู ู้สอนรวมถึงไมใ่ หค้ วามรว่ มมือในการทางานเป็นกล่มุ 2. นกั เรยี นขาดทักษะการอา่ น อา่ นไม่คลอ่ ง อา่ นไม่ออก 3. นักเรียนขาดทกั ษะการเขียน เขียนไม่ถูกต้อง เขียนไมไ่ ด้ แนวทางแกป้ ญั หา 1. ให้ความสนใจกับนักเรียนเป็นพิเศษเสริมแรงโดยการให้เป็นผู้นา ให้นักเรียนรู้สึกสาคัญและมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน มอบหมายหน้าท่ีในการทางานและสงั เกตพฤตกิ รรมอย่างใกลช้ ดิ 2. ใชว้ ธิ ีการจัดการเรยี นรแู้ ละเทคนิคทเ่ี หมาะสมกบั นักเรียนท่ีเหมาะสมและพยามใหน้ ักเรยี นมสี ่วนร่วมในการทางานอย่เู สมอ 3. นักเรียนมีปัญหาทางการอ่าน การเขียน แนวทางการแก้ไข คือ จัดทาแผนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมทักษะด้านการอ่านและการเขียน พยามให้นักเรียนฝึกอา่ นหนังสือวรรณคดี ม.1 หรือหลักภาษา ม.1 โดยการมอบหมายงานให้นักเรียนฝึกเขียนควบคู่กับการอ่าน โดย ยดึ ถือเน้ือหาจากหนงั สอื เรยี น
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครูพเี่ ล้ียง ครัง้ ท่ี 4 รายวชิ าทสี่ งั เกต วชิ าภาษาไทย หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง การอา่ นจบั ใจความ ระดับชัน้ ม.1/3
แบบบนั ทกึ การสังเกตการสอน รายการบนั ทึก วิเคราะห์การบันทกึ ผสู้ อนสามารถสอนไดต้ รงตามจดุ ประสงคไ์ ด้อย่าง 1. กาหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน นักเรยี นเขา้ ใจและสามารถปฏิบตั ิไดต้ าม จดุ ประสงค์ท่ีผู้สอนได้ต้ังไว้ 1.1 นกั เรยี นสามารถอธบิ ายลกั ษณะของคาสมาสได้ถกู ตอ้ ง 1.2 นักเรียนสามารถนาคาบาลี – สนั สฤต มาประสมกนั ใหเ้ กิดคาใหมไ่ ด้ เป็นการเรยี นการสอนท่ใี ชก้ ารบรรยายเปน็ หลัก 1.3 นักเรยี นรูก้ ฎในการใชค้ าสมาส เนอื้ หาในการจัดการเรียนการสอนคอ่ นข้างเยอะและ ซับซอ้ น 2. การใชว้ ธิ สี อน/เทคนคิ การสอนของครู เนือ้ หาแยกเป็นประเดน็ ชดั เจน มตี วั อยา่ ง ตัว 2.1 ทักทายก่อนเรม่ิ เรียน หลังสอื ใหญ่มองเหน็ ได้จากหลังหอ้ ง 2.2 เฉลยแบบฝึกหดั จากคาบทแ่ี ล้ว 2.3 เรม่ิ เน้อื หา 2.4 มกี ารตงั้ คาถามเพื่อกระตนุ้ ความสนใจของผูเ้ รียน 2.5 ทาแบบฝกึ หัดทา้ ยคาบ 3. มีการนาสื่อมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 3.1 PowerPoint เร่อื งการสรา้ งคา
แบบบันทกึ การสงั เกตการสอน รายการบนั ทกึ วิเคราะหก์ ารบันทกึ 4. การใช้วิธกี ารวัดและประเมินผล 4.1 แบบฝกึ หดั ท้ายบท ใช้แบบฝึกหดั ท้ายบทเพ่อื ประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจในเรอื่ งทเี่ รียน 5. บรรยากาศในชนั้ เรยี น แบบฝึกหดั มีความยาก – ง่าย เหมาะแกว่ ัยของผเู้ รียน 5.1 นกั เรียนพูดคุยกนั บ้างเลก็ นอ้ ย 5.2 บรรยากาศในช้นั เรียนเป็นกนั เอง นักเรยี นมพี ูดคุยกนั บา้ งเลก็ นอ้ ย 6. การจดั การชั้นเรียน 6.1 ครูผ้าสอนเงียบเม่ือนักเรียนเรม่ิ เสยี งดัง ผสู้ อนไมต่ ะคอกหรือสง่ เสยี งดงั ใสผ่ ู้เรยี นเมอื่ ผูเ้ รยี นพดู คยุ แตจ่ ะคยุ ด้วยเหตุผล
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน วเิ คราะห์การบนั ทึก รายการบนั ทกึ 7. การใชจ้ ิตวิญญาณความเปน็ ครู : พฤตกิ รรทส่ี ังเกตได้ 7.1 ความเอ้อื อาทร / เอาใจใส่ตอ่ ผู้เรียน 7.2 การมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผสู้ อนกบั ผู้เรียน 7.3 ยอมรบั ความคดิ เห็นของผอู้ ่นื 7.4 ควบคุมอารมณต์ นเองได้ 7.5 มีความรบั ผิดชอบ ซ่ือสัตย์ ตรงตอ่ เวลา 7.6 วางตนเหมาะสม เปน็ แบบอย่างท่ดี ี 7.7 มีทศั นคตทิ ด่ี ตี ่ออาชพี ครู
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครูพเี่ ล้ียง ครัง้ ท่ี 4 รายวชิ าทสี่ งั เกต วชิ าภาษาไทย หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง การอา่ นจบั ใจความ ระดับชัน้ ม.1/3
แบบบนั ทกึ การสงั เกตการสอน รายการบันทึก วเิ คราะหก์ ารบนั ทึก 1. กาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ผ้สู อนสามารถสอนไดต้ รงตามจุดประสงค์ได้อยา่ ง ชัดเจน นักเรียนเขา้ ใจและสามารถปฏิบตั ิไดต้ าม 1.1 นกั เรียนรู้กฎในการใชค้ าสมาส จุดประสงค์ทผ่ี ้สู อนได้ตง้ั ไว้ เป็นการเรยี นการสอนทใ่ี ชก้ ารบรรยายเป็นหลัก 2. การใช้วิธสี อน/เทคนิคการสอนของครู เน้อื หาในการจัดการเรยี นการสอนค่อนขา้ งเยอะและ 2.1 ทักทายกอ่ นเรม่ิ เรยี น ซับซ้อน 2.2 เฉลยแบบฝึกหดั จากคาบท่ีแล้ว 2.3 ทาแบบฝึกหัดทา้ ยคาบ เนอื้ หาแยกเป็นประเด็นชัดเจน มีตัวอยา่ ง ตวั หลังสอื ใหญ่มองเห็นได้จากหลงั ห้อง 3. มกี ารนาส่ือมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 3.1 PowerPoint เร่ืองการสร้างคา
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน รายการบันทึก วิเคราะห์การบันทกึ 4. การใชว้ ิธีการวัดและประเมนิ ผล ใช้แบบฝกึ หดั ท้ายบทเพ่ือประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจในเร่อื งทีเ่ รียน 4.1 แบบฝึกหัดทา้ ยบท แบบฝกึ หัดมีความยาก - งา่ ย เหมาะแก่วัยของผเู้ รียน 5. บรรยากาศในช้นั เรยี น นักเรยี นมพี ูดคยุ กันเสยี งดังภายในหอ้ ง นกั เรยี นเขา้ หอ้ งช้า ใน เวลาเร่ิมเรียนภายนอกห้องเรยี นเสียงส่ง สง่ ผลใหน้ กั เรยี น 5.1 นักเรียนพูดคุยกนั บา้ งเลก็ น้อย ภายในหอ้ งไม่มีสมาธิในการเรียน 5.2 บรรยากาศในช้นั เรียนเปน็ กันเอง 6. การจัดการช้ันเรียน ผสู้ อนมกี ารตักเตือนนกั เรยี นท่ีสง่ เสึยงดัง ยึดโทรศัพท์นกั เรียน 6.1 ครูผา้ สอนเงียบเม่อื นกั เรียนเริม่ เสยี งดงั ที่เล่นเลน่ คาบเรียนและใหค้ ืนหลังจบคาบเรียน
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครพู เี่ ลยี้ ง คร้งั ท่ี 3 รายวิชาทส่ี งั เกต วชิ าภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง การสร้างคา (คาสนธ)ิ ระดับชั้น ม.2/3
แบบบันทกึ การสงั เกตการสอน รายการบันทกึ วเิ คราะหก์ ารบันทกึ 1. กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ผู้สอนสามารถสอนได้ตรงตามจุดประสงคไ์ ด้อย่างชัดเจน 1.1 นักเรียนรกู้ ฎในการใช้คาสมาส นักเรียนเขา้ ใจและสามารถปฏิบตั ไิ ดต้ ามจดุ ประสงค์ที่ผู้สอนได้ ตัง้ ไว้ 2. การใช้วิธีสอน/เทคนิคการสอนของครู เป็นการเรียนการสอนทใี่ ชก้ ารบรรยายเป็นหลัก เน้ือหาในการ 2.1 ทักทายกอ่ นเริม่ เรียน จดั การเรียนการสอนคอ่ นข้างเยอะและซับซ้อน 2.2 เฉลยแบบฝึกหดั จากคาบทแ่ี ล้ว 2.3 ทาแบบฝกึ หดั ท้ายคาบ เน้อื หาแยกเป็นประเดน็ ชัดเจน มีตวั อยา่ ง ตวั หลังสือใหญ่ 3. มีการนาสอ่ื มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ มองเหน็ ได้จากหลังหอ้ ง PowerPoint เรือ่ งการสรา้ งคา
แบบบันทึกการสงั เกตการสอน รายการบันทกึ วเิ คราะหก์ ารบันทกึ 4. การใช้วธิ กี ารวัดและประเมินผล ใชแ้ บบฝกึ หัดทา้ ยบทเพือ่ ประเมินความรู้ความเขา้ ใจใน เรอ่ื งทเ่ี รียน แบบฝึกหดั มีความยาก - ง่าย เหมาะแกว่ ัย 4.1 แบบฝกึ หดั ท้ายบท ของผู้เรยี น นักเรยี นมพี ดู คุยกนั บา้ งเล็กน้อย 5. บรรยากาศในช้นั เรยี น 5.1 นักเรียนพูดคยุ กันบา้ งเลก็ น้อย ผูส้ อนใชค้ าพูดที่สุภาพในการตกั เตอื น ใช้เหตุผลกับผู้เรียน 5.2 นกั เรยี นน่งั เปน็ ระเบียบ เพ่อื ให้ผเู้ รียนตระหนกั ได้ดว้ ยตนเอง 6. การจัดการชน้ั เรยี น 6.1 ผูส้ อนตกั เตอื นนักเรียนท่พี ดู คุย
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครพู เี่ ลยี้ ง คร้งั ท่ี 4 รายวิชาทส่ี งั เกต วชิ าภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง การสร้างคา (คาสนธ)ิ ระดับชั้น ม.2/3
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน รายการบนั ทึก วิเคราะห์การบนั ทกึ ผู้สอนสามารถสอนได้ตรงตามจดุ ประสงคไ์ ดอ้ ย่าง 1. กาหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน นกั เรยี นเข้าใจและสามารถปฏิบัตไิ ดต้ าม จุดประสงค์ที่ผ้สู อนไดต้ ัง้ ไว้ 1.1 นกั เรยี นรู้กฎในการรวมคาของคาสนธิ 1.2 ท่องพยัญชนะวรรคได้ เป็นการเรียนการสอนท่ใี ช้การบรรยายเปน็ หลัก เนอ้ื หาในการจดั การเรียนการสอนค่อนข้างเยอะและ 2. การใชว้ ธิ ีสอน/เทคนิคการสอนของครู ซบั ซอ้ น 2.1 เฉลยแบบฝกึ หดั คาบทแ่ี ล้ว เนื้อหาแยกเปน็ ประเดน็ ชัดเจน มตี ัวอยา่ ง ตวั 2.2 เริม่ เน้อื หาจากคาบท่แี ลว้ โดยใชส้ อื่ นาเสนอ PowerPoint หลงั สอื ใหญ่มองเหน็ ได้จากหลังหอ้ ง 2.3 ท่องพยญั ชนะวรรค 2.4 ทาแบบฝึกหดั 3. มีการนาสื่อมาใช้ในการจดั การเรียนรู้ 3.1 PowerPoint เรือ่ งการสร้างคา
แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน รายการบนั ทกึ วิเคราะหก์ ารบนั ทึก 4. การใชว้ ิธีการวัดและประเมนิ ผล ใชแ้ บบฝกึ หัดทา้ ยบทเพ่ือประเมนิ ความรูค้ วามเข้าใจใน 4.1 แบบฝกึ หดั ท้ายบท เร่อื งทเี่ รยี น แบบฝึกหัดมคี วามยาก - ง่าย เหมาะแก่ วัยของผู้เรยี น 5. บรรยากาศในช้นั เรียน 5.1 นกั เรียนมคี วามกระตอื รือรน้ ในการเรยี น บรรยากาศในชัน้ เรียนดาเนินไปดว้ ยความเรยี บร้อย 5.2 นักเรยี นกล้าตงั้ คาถามและตอบคาถาม นกั เรียนกล้าทจี่ ะแสดงความคดิ เห็น กลา้ ตงั้ คาถาม จึงทาใหก้ ารเรียนดาเนินการไปด้วยดีและมีความ 6. การจดั การช้นั เรยี น สนุกสนาน 6.1 ครพู ยายามหาสือ่ มาชว่ ยสอน เพอ่ื กระตุน้ ความอยากรู้ของผู้เรยี น ผสู้ อนจัดการชน้ั เรียนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี พยายามสังเกต ผู้สอนไม่ทาใหห้ ้องเรยี นนา่ เบอื่ หรอื เงยี บ บรรยากาศภายในช้ันเรยี น และทาใหแ้ บบยากาศในช้นั เรียนไมน่ ่าเบอ่ื สนกุ สนานและน่าตืน่ เตน้ อยเู่ สมอ
การบันทึกสรุปผล การสงั เกตการณส์ อนของครพู ี่เล้ยี ง
การบนั ทกึ สรุปผลการสงั เกตการณ์สอนของครูพีเ่ ลยี้ ง 1. นกั ศึกษาเรียนรู้อะไรจากการสังเกตและวิเคราะหก์ ารสอนของครู 1.1 เน้อื หาและความเรว็ ของการสอนนักเรียนแตล่ ะหอ้ งแตกต่างกัน 1.2 นักเรยี นแต่ละหอ้ งต่างกนั วิธกี ารสอนอาจแตกต่างกัน 2. นักศกึ ษาจะนาสิ่งทีไ่ ดร้ ับจากการเรียนร้ไู ปใชพ้ ัฒนาตนเองอย่างไร 2.1 ศึกษานักเรียนในแต่ละห้องว่ามีลักษณะการเรียนอย่างไร และศึกษาอุปนิสัยของนักเรียนแต่ละห้อง เพื่อท่ีจะได้จัดการ เรียนการสอนใหเ้ หมาะสม 2.2 ใชค้ าพูดที่เหมาะสม ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บเพอื่ เป็นตวั อยา่ งทด่ี ใี หแ้ ก่นักเรยี น 3. นกั เรียนตอ้ งการพัฒนาตนเองเรื่องใดและจะพัฒนาอย่างไร 3.1 เร่อื งเนื้อหาในการจัดการเรียนรู้ ควรมคี วามแม่นยาในเน้ือหาที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอน และควรศึกษาเนือ้ หาให้ละเอยี ด 3.2 เรือ่ งการควบคุมอารมณต์ นเอง เน่ืองจากผู้เรียนอยู่ในช่วงวัยรุ่น อาจมีพฤติกรรม หรือคาพูดท่ีเกิดจากความยับย้ัง ควรเข้าใจในวัยและสภาพ อารมณ์ของผเู้ รยี น
กรณีศกึ ษา (Case Study) ครงั้ ท่ี 1 พฤติกรรมทีแ่ สดง ครง้ั ท่ี 2 พฤตกิ รรมทแี่ สดง ครงั้ ที่ 3 พฤตกิ รรมท่ีแสดง วันที่ 17 สิงหาคม 2563 วันท่ี 20 สิงหาคม 2563 วนั ที่ 28สิงหาคม 2563 นั ก เ รี ย น พู ด คุ ย ใ น ห้ อ ง เ สี ย ง ดั ง นักเรียนเปล่ียนที่นั่งภายในห้องเรียน นักเรียนเร่ิมต้ังใจฟังครูผู้สอน บริเวณท่ีนักเรียนนั่งคือบริเวณหลังห้อง นักเรยี นนงั่ ติดกนั กับเพอื่ นเป็นแถวยาง มากขึ้น เน่ืองจากถูกเรียกตอบคาถาม นกั เรยี นชวนเพอ่ื นขา้ ง ๆ คุยแทบจะตลอด 3 คน ทาให้คุยกันมากข้ึน ครูผู้สอนหัน บ่อยจากคาบท่ีแล้ว แต่ผ่านไปสักระยะ คาบเรยี น ครูผูส้ อนหันมาตักเตอื นบ้างเป็น มาตักเตือนผู้เรียนเป็นระยะ พร้อมท้ัง เ ม่ื อ ผู้ ส อ น ไ ม่ เ รี ย ก ต อ บ ค า ถ า ม ครั้งคราว นักเรียนลุกข้ึนเดินในห้อง ถามคาถาม ด.ญ แพรวพรร ตลอด นั ก เ รี ย น ก็ จ ะ พู ด คุ ย เ ห มื อ น เ ดิ ม ขณะท่ผี ูส้ อนกาลังสอน นกั เรียนไม่มีความ การอธิบายเนื้อหา ทาให้นักเรียนพูดคุย นักเรียนชวนเพื่อนข้าง ๆ คุย ผู้สอน พร้อมด้านอุปกรณ์การเรียน เม่ือถึงเวลา น้อยลง เม่ือให้ทาแบบฝึกหัดครูผู้สอน เร่ิมตักเตือนด้วยน้าเสียงท่ีดังข้ึนกว่า ครูให้ส่งสมุดที่ทาแบบฝึกหัด นักเรียนไม่ ต้องมาเดินดูทุกครั้ง ไม่อย่างน้ัน ครั้งท่ีผ่าน ๆ มา ผู้เรียนเงียบจนจบ ส่งเพราะทาไมเสร็จ เน่ืองจากพูดคุยกับ นกั เรยี นจะไมย่ อมทา คาบ เพือ่ นข้าง ๆ
กรณศี กึ ษา (Case Study) สรุปปญั หาของผูเ้ รยี น แนวทางแกป้ ญั หา 1. พดู คยุ ในชน้ั เรียน ทาให้เพ่อื นขา้ ง ๆ เสียสมาธิในการเรยี น 1. ใหน้ ักเรยี นน่งั แยกจากเพอ่ื นท่สี นทิ เพ่อื ลดการพูดคยุ 2. อุปกรณ์การเรียนไมพ่ รอ้ ม 1. หากเป็นไปไดค้ รคู วรมีอุปกรณก์ ารเรยี นติดไว้ เพือ่ ให้ นกั เรยี นยมื เพ่ือลดปัญหาความวุ่นวายในชัน้ เรียน 2. ต้งั คาถามเพอ่ื ให้นักเรยี นตอบ เมื่อนักเรียนตอบได้ ผสู้ อนใหอ้ ปุ กรณ์การเรียนเป็นรางวัล
ภาพบรรยากาศในขณะสงั เกตการสอน
ภาพบรรยากาศในขณะสงั เกตการสอน
ภาพบรรยากาศในขณะสงั เกตการสอน
กจิ กรรมเพ่มิ เติม เขา้ ดนู ักเรียน แทนครูประจาวิชา เน่อื งจากครปู ระจาวชิ าตดิ ภาระกจิ เชค็ ชอ่ื นกั เรียน
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: