Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

การวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

Published by Bensiya Panpunyadet, 2020-05-03 07:19:22

Description: รายงานการ ศึกษาโครงการวิจัยเพื่อประเมินความคุ้มค่า ของโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

Keywords: PPSI, วิจัย, ความคุ้มค่า

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพือ่ ประเมนิ ความคมุ้ ค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใตส้ ำานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวจิ ัยแหง่ ชาติ การประเมินผลความคูุมค่าเชิงเศรษฐกิจของชุดโครงการฯ ไดูใชูวิธีการวิเคราะห์ตูนทุนและ ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) โดยกา� หนดใหปู ระเมนิ ผลประโยชนร์ วมระยะเวลา 15 ปี ใชอู ัตราคิดลดรอู ยละ 7 และก�าหนดใหู พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐานในการค�านวณ ผลการประเมนิ ความคุูมค่า พบว่า ม้ลค่าปั จจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 144.72 ลูานบาท และอัตราส่วนของ ผลประโยชนต์ อ่ ตนู ทนุ (B/C ratio) เทา่ กบั 10.40 หมายความวา่ การลงทนุ วจิ ยั 1 บาท สามารถสราู ง ผลประโยชนถ์ งึ 10.40 บาท สว่ นการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหวตอ่ การเปลยี่ นแปลง พบวา่ ชว่ งการ เปลีย่ นแปลงต�า่ สุดและส้งสุดของม้ลค่าปั จจุบันสุทธิ มีค่าอย้่ระหว่าง 64.66–315.62 ลูานบาท และอัตราส่วนของผลประโยชน์ต่อตูนทุนมีช่วงอย่้ระหว่าง 5.20–21.50 จากผลการวิเคราะห์ โดยภาพรวมสามารถสรุปไดูว่า ชุดโครงการระบบไมโครเวฟเซนเซอร์เพือ่ ตรวจวัดความอ่อนแก่ ของทเุ รยี น มีความคมุู คา่ เชิงเศรษฐกิจ รูปท่ี 3.7 เครื่องวดั ความออ่ นแก่ของทุเรยี น ขูอสังเกตจากการวิเคราะห์ คือ หากมีการน�าเครือ่ งวัดความอ่อนแก่ไปใชูในวงกวูางจะท�าใหู ผลประโยชน์เกิดขึน้ มาก อย่างไรก็ตาม การพัฒนาความสามารถของเครือ่ งวัดความอ่อนแก่ใหู สอดคลอู งกับความตูองการของผู้ใชูเป็นสิง่ ส�าคญั เชน่ การวเิ คราะหผ์ ลทีม่ คี วามแม่นย�าส้งมาก สามารถวดั ไดจู า� นวนมาก รวมถงึ สามารถใหรู ายละเอยี ดอนื่ ๆ นอกเหนอื จากการระบวุ า่ ออ่ นหรอื แก่ เช่น น�า้ หนักผลทุเรียน ระดับของการสุกของทุเรียน เป็นตูน ทัง้ นี้ เพือ่ ใหูเกิดการยอมรับและ น�าเทคโนโลยีใหม่ไปใชูทดแทนเทคโนโลยีเดิมทีใ่ ชูคนในการคัด เมื่อเกิดการยอมรับและมี การใชูในวงกวูางของผู้ใชูงาน ย่อมก่อใหูเกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจโดยตรงกับผู้ใชูงานเอง และผลประโยชนโ์ ดยอูอมกบั ผบู้ ริโภคอยา่ งมหาศาล การศึกษานี้ ชีใ้ หูเห็นว่า เทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วขูองกับการควบคุมคุณภาพของผลไมูจะมี ความสา� คญั มากยงิ่ ขนึ้ ในอนาคต เนอื่ งจากการแขง่ ขนั ในปั จจบุ นั จะเนนู การแขง่ ขนั ดาู นคณุ ภาพ มากขึน้ ชุดโครงการวิจัยนี้ จึงเป็นอีกตัวอย่างทีไ่ ดูพยายามพัฒนาอุปกรณ์เพือ่ ใชูในการตรวจ คุณภาพของทุเรียน โดยเฉพาะการวัดความอ่อนแก่ โดยไดูสรูางเครือ่ งมือส�าหรับวัดความอ่อน 49

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพื่อประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใตส้ ำ�นักบรหิ ารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวิจยั แห่งชาติ แกท่ ใี่ ชง้ านงา่ ย มคี วามแมน่ ยำ� สงู และตน้ ทนุ ตำ�่ สามารถนำ� มาใชท้ ดแทนเทคโนโลยเี ดมิ ทอี่ าศยั ความช�ำนาญของคนในการตรวจคัด ซึง่ บุคคลเหล่านีจ้ ะขาดแคลนในอนาคต การวิจัยนีจ้ ึงเป็น อีกส่วนหนึง่ ของการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านโทรคมนาคมเพือ่ ประยุกต์ใช้และสร้างประโยชน์ ต่อภาคการเกษตรของไทย ซึง่ จะเป็นพืน้ ฐานองค์ความรู้ส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้สามารถขยายผลไปสู่ การพฒั นาระบบตรวจสอบคณุ ภาพพชื เศรษฐกิจอืน่ ๆ ตอ่ ไปได้ ขอ้ สงั เกตอกี ประการหนึง่ คือ การศึกษาเพือ่ สร้างนวัตกรรมตอ้ งใชเ้ วลาในการศึกษา อย่างต่อเนือ่ ง เช่นเดียวกันกับโครงการฯ ทีใ่ ช้เวลาในการศึกษานานกว่า 10 ปี จึงจะสามารถ พฒั นาเครอื่ งตน้ แบบทมี่ คี วามเป็นไปไดใ้ นการนำ� ไปใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์ แมว้ า่ ในระหวา่ งการศกึ ษา จะได้มีการพัฒนาอุปกรณ์ในลักษณะโครงข่ายเพื่อตรวจสอบความอ่อนแก่จากต้นทุเรียน แต่ก็ยังมีข้อจ�ำกัดในการประยุกต์ใช้ เช่น ระบบมีความอ่อนไหวต่อสภาพอากาศโดยเฉพาะ ในช่วงทีฝ่ นตกชุก และมีต้นทุนสูง แต่จากองค์ความรู้พืน้ ฐานเดียวกันนี้ ก็ได้น�ำไปสู่การพัฒนา ย่อส่วนอุปกรณ์จนได้เครือ่ งวัดความอ่อนแก่ทีม่ ีขนาดเล็กกะทัดรัด ใช้งานง่าย และสามารถน�ำ ไปใช้ในเชิงพาณิชย์มากขึน้ ในอนาคตองค์ความรู้เหล่านีก้ ็จะเป็นพืน้ ฐานในการพัฒนาต่อยอด เพอื่ พฒั นาระบบการคัดทุเรียนให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขนึ้ 3.9 โครงการผลของไฮโดรคอลลอยดต์ ่อการปรับปรงุ คุณภาพเส้นกวยจั๊บอุบล ผวู้ ิจยั : ผศ.ดร.จิตรา สิงหท์ อง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ผวู้ เิ คราะหค์ วามคุม้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ : นายณฐั พล อนันตธ์ นสาร มลู นิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ โครงการผลของไฮโดรคอลลอยด์ต่อการปรับปรุงคุณภาพเส้นกวยจับ๊ อุบล ได้รับงบประมาณ สนับสนุนการด�ำเนินงานจากงบประมาณแผน่ ดินของมหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี มวี ัตถุประสงค์ เพอื่ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพเสน้ กวยจบั๊ อบุ ลใหส้ ะดวกตอ่ การบรโิ ภค สามารถเกบ็ รกั ษาไดน้ าน และมวี ธิ ี การปรงุ สกุ ทไี่ มซ่ บั ซอ้ น แตเ่ สน้ ทไี่ ดย้ งั มคี ณุ ภาพทใี่ กลเ้ คยี งกบั เสน้ กวยจบั๊ สด โดยใชส้ ารประกอบ ประเภทไฮโดรคอลลอยด์ในการปรับปรุงลักษณะเส้นกวยจับ๊ รวมทัง้ ยังศึกษากระบวนการผลิต เส้นกวยจับ๊ อุบลให้อยู่ในรูปแบบเดียวกับบะหมีก่ ึง่ ส�ำเร็จรูป จนถึงการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าสู่ ตลาดสนิ คา้ กึง่ สำ� เร็จรปู โครงการฯ เรมิ่ ทำ� การวจิ ยั ในชว่ งตน้ ปี พ.ศ. 2555 และสำ� เรจ็ ในปี เดยี วกนั แมใ้ ชเ้ วลา เพียง 1 ปี แต่สามารถน�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมาก ซึง่ เห็นได้จากรางวัลทีไ่ ด้รับ จากการเข้าร่วมประกวดในงานต่างๆ รวมทัง้ สามารถขายอนุสิทธิบัตรให้ผู้ประกอบการจ�ำนวน 3 ราย สามารถผลิตกวยจับ๊ กึ่งส�ำเร็จรูปภายใต้ตราสินค้าของตนเองออกจ�ำหน่าย และได้รับ ความสนใจเป็นอย่างมาก 50

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพือ่ ประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวิจยั และพฒั นา ภายใตส้ ำานักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจัยในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวิจัยแหง่ ชาติ รปู ที่ 3.8 ผลิตภัณฑก์ วยจั�บกึง่ สำาเรจ็ รูปของผู้ประกอบการ 3 รายทซ่ี อื้ อนสุ ิทธิบตั รจากโครงการวิจยั การวิเคราะห์ผลความคุูมค่าเชิงเศรษฐกิจของโครงการฯ ไดูใชูวิธีการวิเคราะห์ตูนทุนและ ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis: CBA) โดยก�าหนดใหูวิเคราะห์ผลประโยชน์รวมระยะ เวลา 15 ปี ใชูอัตราคิดลดรูอยละ 7 และก�าหนดใหู พ.ศ. 2558 เป็นปี ฐานในการค�านวณ ผลการวเิ คราะหค์ วามคมูุ คา่ พบวา่ มล้ คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) เทา่ กบั 54.28 ลาู นบาท อตั ราสว่ น ของผลประโยชน์ต่อตูนทุน (B/C ratio) เท่ากับ 135.28 ส่วนการวิเคราะห์ความอ่อนไหว ต่อการเปลีย่ นแปลงในรายการทีส่ �าคัญ เช่น ความยินดีจะจ่ายของผู้บริโภคทีเ่ พมิ่ ขนึ้ และอตั รา การเจริญเติบโตของยอดขายในแต่ละปี พบว่า ช่วงการเปลีย่ นแปลงต�่าสุดและส้งสุดของม้ลค่า ปั จจบุ นั สทุ ธิ (NPV) มคี า่ อยร้่ ะหวา่ ง 34.28–74.29 ลาู นบาท อตั ราสว่ นของผลประโยชนต์ อ่ ตนู ทนุ (B/C ratio) มีชว่ งอย่ร้ ะหวา่ ง 85.80–184.77 ในขณะทีก่ ารวเิ คราะห์สมมตภิ าพในสถานการณ์ ทีไ่ ม่มีกลุ่มล้กคาู ใหมเ่ พมิ่ ขนึ้ เลย พบวา่ ม้ลคา่ ปั จจุบนั สทุ ธิ (NPV) มีค่าเท่ากับ 12.25 ลาู นบาท มีอัตราส่วนของผลประโยชน์ต่อตูนทุน (B/C ratio) เท่ากับ 31.30 โดยภาพรวมจึงสามารถ สรุปไดูว่า โครงการผลของไฮโดรคอลลอยด์ต่อการปรับปรุงคุณภาพเสูนกวยจับ๊ อุบลมีความ คมุู คา่ เชิงเศรษฐกิจ สมมติฐานทีส่ �าคัญของการวิเคราะห์ คือ การประมาณอัตราการเจริญเติบโตของ ยอดขายรวมจากผู้ประกอบการทัง้ 3 ราย ในอนาคต ซึง่ ขนึ้ อยก่้ ับการขยายกา� ลังการผลติ และ การตลาดทีด่ ีของแต่ละผู้ประกอบการ เนือ่ งจากในปั จจุบันกวยจับ๊ อุบลนิยมรับประทานกันใน จงั หวดั ใกลูเคียงเท่านัน้ ซึง่ จะสามารถเพิม่ ผลประโยชน์ของโครงการไดูในอนาคต โครงการผลของไฮโดรคอลลอยดต์ อ่ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพเสนู กวยจบั๊ อบุ ลเป็นตวั อยา่ ง ทดี่ ขี องการทา� งานวจิ ยั ทตี่ อบสนองตอ่ ความตอู งการของตลาด นอกจากนี้ ยงั แสดงใหเู หน็ วา่ งาน วจิ ยั ทดี่ ไี มจ่ า� เป็นตอู งใชวู ธิ วี จิ ยั ทซี่ บั ซอู นหรอื ใชเู ทคโนโลยรี าคาแพง แตต่ อู งเป็นงานวจิ ยั ทสี่ ามารถ ตอบปั ญหาในสงั คมหรือการพฒั นาทีส่ ามารถน�ามาใชูไดจู ริง 51

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพือ่ ประเมินความคมุ้ คา่ ของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใต้ส�ำ นกั บรหิ ารโครงการสง่ เสริมการวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวิทยาลยั วิจยั แห่งชาติ 3.10 โครงการควบคมุ โรคพยาธใิ บไมต้ ับแบบบรู ณาการวถิ นี ิเวศสขุ ภาพ หัวหนา้ โครงการวิจยั : ศ.ดร.บรรจบ ศรภี า ศนู ยป์ ฏบิ ัติการวจิ ัยโรคเขตรอ้ น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ผวู้ ิเคราะหผ์ ลตอบแทนทางสงั คม: นายอรรถพนั ธ์ สารวงศ์ มลู นิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ โครงการควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับแบบบูรณาการวิถีนิเวศสุขภาพ หรือ “โครงการละว้า” มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ปรบั พฤตกิ รรมของประชาชนใหเ้ ลกิ กนิ ปลาดบิ ซงึ่ เป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การตดิ เชอื้ พยาธใิ บไมต้ บั โดยมพี นื้ ทศี่ กึ ษาอยทู่ ชี่ มุ ชนโดยรอบแกง่ ละวา้ จดุ เดน่ ของโครงการละวา้ คือ การด�ำเนินงานจะอาศัยหลักการนิเวศสุขภาพ หรือ EcoHealth ซึ่งเป็นการบูรณาการ การควบคุมโรคพยาธิ ทัง้ ในด้านคน สัตว์ และสิง่ แวดล้อม เพือ่ หยุดวงจรส่งผ่านและการแพร่ เชือ้ พยาธิ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ มีกิจกรรมส�ำคัญ คือ 1) กิจกรรมเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพ เป็นการก�ำหนดบทบาทและเสริมพลัง ให้กับกลมุ่ แกนนำ� ได้แก่ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจ�ำหมบู่ ้าน (อสม.) เจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) และ ครู เป็นต้น ซึง่ แกนน�ำเหล่านีจ้ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการ รณรงค์ใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับโรคพยาธิใบไม้ตับไปสปู่ ระชาชนและนักเรยี น 2) กิจกรรมการรณรงค์ และติดตามผล เป็นการรักษาการติดเชือ้ พยาธิทัง้ ในคนและสัตว์ และให้ความรู้แก่ประชาชน โดยคณะวจิ ยั และกลมุ่ อสม. ผา่ นการทำ� กจิ กรรมสนั ทนาการตา่ งๆ เป็นสอื่ เชน่ การฉายภาพยนตร์ เล่นเกม การแสดง เป็นตน้ เพอื่ ดงึ ดดู ความสนใจจากประชาชน นอกจากนี ้ ยังมกี ารตดิ ตามผล อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ใหป้ ระชาชนเกดิ การตนื่ ตวั และตระหนกั จนมกี ารปรบั เปลยี่ นลกั ษณะสขุ นสิ ยั และเลกิ รบั ประทานปลาดบิ โดยเดด็ ขาด จะพบวา่ การดำ� เนนิ งานจะอาศยั ความรว่ มมอื จากหลายฝ่าย โดยเฉพาะ อสม. ซงึ่ เป็นแกนน�ำหลกั ในการขับเคลือ่ นกิจกรรม ผลการด�ำเนินการของโครงการละว้า ส่งผลท�ำให้ประชาชนมีการตืน่ ตัวและเข้ามามี สว่ นรว่ มในกจิ กรรมการรณรงคแ์ ละควบคมุ มากขนึ้ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจวงจรและการแพรข่ องเชอื้ พยาธมิ ากขนึ้ รวมถงึ ตระหนกั ถงึ ผลเสยี ของโรคพยาธใิ บไมแ้ ละโรคมะเรง็ ทอ่ นำ�้ ดี ผลเชงิ ประจกั ษ์ ทสี่ ำ� คญั ของโครงการละวา้ คอื สามารถลดอตั ราการตดิ เชอื้ พยาธใิ บไมต้ บั ในหมบู่ า้ นรอบแกง่ ละวา้ จากเดิมเฉลีย่ ร้อยละ 60 ให้เหลือตํา่ กว่าร้อยละ 10 นอกจากนี้ การด�ำเนินงานโครงการละว้า ยังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของทัง้ ผู้น�ำชุมชน รพ.สต. อสม. และครู ให้มีความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรเู้ กยี่ วกบั โรคพยาธใิ บไมต้ บั และมะเรง็ ทอ่ นำ�้ ดี ทำ� ใหเ้ กดิ การ ตอ่ ยอดนวตั กรรมการรณรงค์โดยชมุ ชน เชน่ การแต่งเพลง การฟ้ อนร�ำประกอบเพลง ซงึ่ มีสว่ น ช่วยท�ำให้กิจกรรมการรณรงค์ให้ความรู้ มีความสนุกสนาน น่าสนใจ เข้าถึงประชาชนได้ง่าย และสามารถดงึ ดดู ผคู้ นใหเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดม้ ากขนึ้ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธท์ ดี่ ขี องคนในชมุ ชน โดยภาพรวม การดำ� เนินงานของโครงการละว้า ไดก้ อ่ ใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงทัง้ ในดา้ นสขุ ภาพ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะผลทางด้านสุขภาพทีด่ ขี ึน้ จากการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการ บริโภคของประชาชนในพืน้ ทีแ่ กง่ ละวา้ 52

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพื่อประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวจิ ัยและพฒั นา ภายใตส้ าำ นักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจัยในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วจิ ยั แห่งชาติ การวิเคราะหผ์ ลลพั ธข์ องโครงการละวาู โดยใชูอตั ราคิดลดรอู ยละ 3 มปี ี ฐาน คอื พ.ศ. 2558 และระยะเวลาประเมินผลประโยชน์ 7 ปี ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีม้ลค่าปั จจบุ ันสุทธิ (NPV) เทา่ กบั 43.55 ลาู นบาท มอี ตั ราผลตอบแทนทางสงั คม (SROI ratio) เทา่ กบั 3.47 หมายความวา่ ปั จจัยนา� เขาู ทีใ่ ชูในการด�าเนนิ โครงการละวาู ทุกๆ 1 บาท สามารถสราู งผลตอบแทนทางสังคม เมอื่ ตมี ล้ คา่ เป็นตวั เงนิ แลวู ไดถู งึ 3.47 บาท จะพบวา่ กลมุ่ ประชาชนและนกั เรยี น เป็นกลมุ่ ทไี่ ดรู บั ผลประโยชนส์ ง้ สดุ โดยมสี ว่ นแบง่ ผลประโยชนร์ วมกนั สง้ ถงึ รอู ยละ 73.80 ของผลประโยชนร์ วม ทัง้ หมด ซึง่ เป็นไปตามความมุ่งหมายของโครงการละวูาทีต่ ูองการใหูกิจกรรมและผลผลิตต่างๆ ของโครงการไปสราู งผลลพั ธแ์ ละผลกระทบกับกล่มุ ประชาชนและนกั เรยี น โดยผลลพั ธ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ เป็นผลทางดูานสุขภาพจากการไดูรับการรักษาการติดเชือ้ พยาธิ มีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม โดยเฉพาะการเลิกกินปลาดิบ ท�าใหูไม่ติดเชื้อพยาธิและรู้สึกว่าตนเองมีสุขภาพทีด่ ีขึ้น และในระยะยาวอาจจะก่อใหเู กดิ ผลประโยชน์ทีส่ บื เนอื่ งจากโครงการ คอื การประหยัดค่ารักษา พยาบาลของรฐั ทีป่ ระชาชนเจบ็ ป่วยลดนอู ยลง รูปที่ 3.9 กิจกรรมการรณรงค์และใหค้ วามรภู้ ายใต้โครงการละวา้ นอกจากผลลัพธ์ดูานสุขภาพแลูว ผลจากการด�าเนินงานยังก่อใหูเกิดผลเชิงสังคมทีส่ �าคัญ คือ เกิดความร่วมมือจากหลายภาคส่วนซึ่งเป็นผลมาจากการน�าเอากลุ่มทุนทางสังคมต่างๆ เช่น เจูาหนาู ที่ รพ.สต. อสม. คร้ ผู้ใหญ่บาู น เป็นตูน มาเป็นผู้ขับเคลือ่ นกจิ กรรมและท�างานร่วมกัน ใหูทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดและด�าเนินกิจกรรม ซึง่ การด�าเนินการดังกล่าวจะท�าใหู ทกุ คนรสู้ กึ วา่ ตนเองเป็นเจาู ของละวาู โมเดล ทา� ใหปู ฏบิ ตั ดิ วู ยความใสใ่ จและตอ่ เนอื่ ง และสามารถ ด�าเนินการไดูเองโดยชุมชนแมูไม่มีคณะวิจัยและเกิดผลทีย่ ัง่ ยืน อีกทัง้ ยังเป็นตูนแบบใหูกับ พนื้ ทอี่ นื่ ๆ ไดมู าศกึ ษาเรยี นรเู้ พอื่ นา� แนวทางของละวาู โมเดลไปประยกุ ตใ์ ชู จะพบวา่ การดา� เนนิ งาน ของโครงการละวูาเป็นการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประชาชนดูวยกันเอง และระหว่าง ประชาชนกับหน่วยงานภาครัฐ เพือ่ ร่วมกันแกูไขปั ญหาเชิงพืน้ ที่ ซึง่ การรวมมือกันจากทุกฝ่าย จะท�าใหผู ลการดา� เนนิ งานมีความยัง่ ยนื มากกวา่ ประโยชนข์ องการศกึ ษาครงั้ นี้ คอื การไดเู รยี นรถู้ งึ ศกั ยภาพของงานวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพือ่ น�าไปส่้การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมคนในสังคมเพือ่ ใหูมีสุขภาพทีด่ ีขึน้ และสามารถแปลงค่า ใหูเห็นเป็นตัวเงิน นอกจากนี้ การใชูเครือ่ งมือการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (SROI) 53

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพ่อื ประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวจิ ยั และพฒั นา ภายใตส้ �ำ นักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวิทยาลยั วจิ ัยแห่งชาติ จะชว่ ยใหค้ นในสงั คม นกั วจิ ยั และผสู้ นบั สนนุ ทนุ วจิ ยั มองเหน็ ภาพของผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ จากการ ดำ� เนนิ งานไดช้ ดั ขึน้ เพอื่ จะได้เป็นขอ้ มลู ส�ำหรับการก�ำหนดทศิ ทางในการพัฒนาการด�ำเนนิ งาน และสนับสนุนการดำ� เนนิ โครงการวิจัยตอ่ ไป 3.11 โครงการบริหารจัดการท่องเที่ยวเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ทอ้ งถ่นิ อำ� เภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งราย อยา่ งยั่งยืน หวั หน้าโครงการวิจัย: ผศ.ดร.ชูกลนิ่ อุนวจิ ิตร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย ผ้วู เิ คราะหผ์ ลตอบแทนทางสังคม: ศ.ดร.ม่งิ สรรพ์ ขาวสอาด มลู นิธสิ ถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ นายอรรถพนั ธ์ สารวงศ์ มูลนิธสิ ถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ นางสาววรัญญา บุตรบรุ ี มูลนิธสิ ถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ แผนงานวจิ ยั “การบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ วเพอื่ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายอย่างยัง่ ยืน” มีหัวหน้าแผนงาน คือ ผศ.ดร.ชูกลิน่ อุนวิจิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาศักยภาพการ บริหารจัดการการท่องเทีย่ วของชุมชนท้องถิน่ และพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเทีย่ ว ระดบั ทอ้ งถนิ่ โดยมพี นื้ ทศี่ กึ ษา คอื ตำ� บลบา้ นแซว อำ� เภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย มรี ะยะเวลา ท�ำวิจัย 2 ปี (กันยายน พ.ศ. 2551–เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) แผนงานวิจัยประกอบด้วย 3 โครงการวิจัยย่อย ได้แก่ 1) โครงการการพัฒนาเส้นทางท่องเทีย่ วของชุมชนท้องถิน่ อ�ำเภอ เชียงแสนเพือ่ เชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้าน 2) โครงการการจัดการโฮมสเตย์แบบมีส่วนร่วม ของชุมชนท้องถิน่ และ 3) โครงการการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของชุมชนท้องถิน่ เพือ่ รองรับ การเตบิ โตของการท่องเทีย่ วบนเสน้ ทาง R3E ในแผนงานวจิ ัย มนี ักวิจัยในพืน้ ทีม่ ารว่ มวิจัย คือ นายเศรษฐศักดิ์ พรหมมา ปลัดเทศบาลต�ำบลบ้านแซว ซึง่ เป็นผู้ขับเคลือ่ นแผนงานหลังจากที่ แผนงานวิจัยสิน้ สุดลง ท�ำให้กิจกรรมท่องเทีย่ วในบ้านท่าขันทองเป็นระบบ และก่อให้เกิดการมี สว่ นรว่ มของประชาชนในพืน้ ทีม่ ากขึน้ ผลจากการด�ำเนินงานแผนงานวิจัย ก่อให้เกิดผลลัพธ์ทัง้ ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือ การส่งเสริมการท�ำมาตรฐานโฮมสเตย์และฝึ กอบรมเพือ่ พัฒนาศักยภาพประชาชน ใหม้ คี วามพรอ้ มในการตอ้ นรบั ผมู้ าเยอื น กอ่ ใหผ้ ลประโยชนท์ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม นนั่ คอื การทำ� โฮมสเตย์ให้ได้มาตรฐานท�ำให้มีผู้สนใจมาพัก ท�ำให้สมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์มีรายได้เพิม่ ขึ้น ในขณะเดียวกันก็ได้รับผลประโยชน์ทางอ้อมจากการท�ำโฮมสเตย์ คือ ทีพ่ ักอาศัยของตนเอง สะอาดน่าอยู่มากขึ้น รวมถึงมีเพื่อนกลุ่มใหม่ทีเ่ ข้ามาพักโฮมสเตย์มากขึ้นด้วย นอกจากนี้ ผลจากการพฒั นาทอ่ งเทยี่ วและการดงู านในพนื้ ที่ ยงั ทำ� ใหม้ ผี มู้ าศกึ ษาดงู านในพนื้ ทตี่ ำ� บลบา้ นแซว 54

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ัยเพือ่ ประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใตส้ ำานกั บริหารโครงการสง่ เสรมิ การวจิ ยั ในอดุ มศึกษาและพฒั นามหาวิทยาลัยวิจยั แหง่ ชาติ โดยเฉพาะหม้่บาู นทา่ ขันทอง ทา� ใหกู ลมุ่ ตา่ งๆ ไดูแก่ กล่มุ อาหาร กลุ่มการแสดง กลมุ่ รถอีต๊อก และกลมุ่ ทอผาู มรี ายไดเู พมิ่ ขนึ้ ในขณะเดยี วกนั กท็ า� ใหเู ทศบาลตา� บลบาู นแซวไดรู บั การยอมรบั จากหน่วยงานภายนอก และไดูรับการสนับสนุนงบประมาณดูานการท่องเทีย่ วจากหน่วยงาน ภายนอกมากขึน้ ผลในเชิงสังคม พบว่า กิจกรรมต่างๆ ของแผนงานท�าใหูกลุ่มแกนน�ามีความ มนั่ ใจในตนเองมากขนึ้ กลาู แสดงออกมากขนึ้ อกี ทงั้ ภาพรวมในชมุ ชนยงั มคี วามสวยงาม สะอาด และน่าอย่้มากขึน้ การวเิ คราะหผ์ ลลพั ธข์ องแผนงาน ไดกู า� หนดขอบเขตการวเิ คราะหต์ งั้ แตป่ ี ทเี่ รมิ่ ดา� เนนิ แผนงาน พ.ศ. 2551 และพยากรณผ์ ลประโยชนข์ องแผนงานทัง้ หมด 15 ปี โดยมีขอบเขตพนื้ ที่ ทีจ่ ะวเิ คราะห์เฉพาะบาู นทา่ ขนั ทอง (หม้่ 3) และกลุม่ ขยายทีส่ นใจเขาู ร่วมแผนงานในบูานแซว (หม่้ 1) เท่านัน้ รูปที่ 3.10 โฮมสเตยบ์ ้านทา่ ขนั ทอง ตาำ บลบา้ นแซว อำาเภอเชยี งแสน จังหวดั เชียงราย ผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนของแผนงานวิจัย โดยมีขอบเขตการวิเคราะห์ ผลประโยชน์ 15 ปี โดยใชูอัตราคิดลดรูอยละ 3 และปี ฐาน คือ พ.ศ. 2558 แผนงานวิจัย มีตนู ทุนทีใ่ ชูในการด�าเนินกิจกรรม คดิ เป็นม้ลค่าปั จจุบนั เท่ากับ 1.48 ลูานบาท สามารถสรูาง ผลประโยชนเ์ มือ่ คดิ เป็นม้ลค่าปั จจบุ ันเท่ากบั 3.09 ลูานบาท จะไดูอัตราผลตอบแทนทางสงั คม (SROI ratio) เท่ากับ 2.09 หมายความว่าในการลงทุนในแผนงานวิจัย 1 บาท ก่อใหูเกิด ผลประโยชน์ทางสังคมเท่ากับ 2.09 บาท ชีใ้ หูเห็นว่า การด�าเนินงานของแผนงานวิจัยไดูสรูาง ผลกระทบต่อสงั คมเมอื่ ตีเป็นม้ลคา่ ทางการเงินแลวู มคี วามคมูุ คา่ การวเิ คราะห์นีช้ ีใ้ หเู ห็นวา่ การวิจัยเพือ่ พฒั นาชมุ ชน ในกรณีศึกษานี ้ คือ การพฒั นา มาตรฐานโฮมสเตย์ สามารถสรูางม้ลค่าทางเศรษฐกิจไดู แมูในช่วงแรกจะมีการเปลีย่ นแปลง หลายอย่างกับกลุ่มผู้เขูาร่วม เช่น การปรับพฤติกรรมในการด้แลรักษาความสะอาดของบูาน การจดั เตรยี มเครอื่ งใชู การปรบั ปรงุ บาู นเรอื น และปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอู มภายในบาู น เป็นตนู จะพบวา่ การเปลยี่ นแปลงขาู งตนู อาจจะยากล�าบากในชว่ งเริม่ ตูนของการด�าเนินงาน แต่จะใหู ผลประโยชน์ในระยะยาวแก่ผู้เขูาร่วม ทัง้ ผลทางตรง คือ มีรายไดูจากการมีผู้เขูาพักโฮมสเตย์ และผลทางออู ม คอื การมสี ขุ ภาพทดี่ จี ากการอาศยั อยใ้่ นบาู นเรอื นทสี่ ะอาด และมสี ภาพแวดลอู ม ทีน่ ่าอย่้ นอกจากนี้ ยังเป็นการเปิ ดโลกทัศน์ เปิ ดประสบการณ์ใหม่ของผู้เขูาร่วมโครงการ จากการไดรู จู้ กั กลมุ่ คนใหมๆ่ ไดแู ลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณ์ ทา� ใหชู วี ติ มสี สี นั มากยงิ่ ขนึ้ 55

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ัยเพอื่ ประเมินความค้มุ ค่าของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใต้ส�ำ นกั บริหารโครงการสง่ เสรมิ การวิจยั ในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แหง่ ชาติ ผลจากกระบวนการวจิ ยั ของแผนงาน ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาของกระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ระหวา่ งคนในชมุ ชน ผมู้ าเยอื น สถาบนั การศกึ ษา และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ซงึ่ กระบวนการ เหล่านีจ้ ะก่อให้เกิดการระดมความคิดเพือ่ หาแนวทางในการปรับปรุงการด�ำเนินงานให้เกิดผล ทยี่ งั่ ยนื แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม งานวจิ ยั ควรมสี ว่ นสำ� คญั ทพี่ ฒั นาทงั้ ระบบโดยเฉพาะการพฒั นาทกั ษะ ของคน และมคี วามตอ่ เนอื่ งในระยะหนงึ่ ดงั นนั้ การวจิ ยั จงึ ควรเป็นการวจิ ยั ระดบั โปรแกรมทตี่ อ้ ง บูรณาการความรู้หลายภาคส่วนในมหาวิทยาลัยไว้ด้วยกัน และเป็นโปรแกรมต่อเนือ่ ง โดยมี มหาวิทยาลยั เป็นทีพ่ งึ่ ทางปั ญญา ชุมชนสามารถกลับมาหาความรูเ้ พิม่ เติมไดต้ ลอดเวลา 3.12 ชุดโครงการงานวจิ ัยเทคโนโลยีการบ�ำบัดขยะมูลฝอยด้วยวธิ ีการแบบเชิงกลและ ชวี ภาพ หวั หน้าโครงการวิจยั : ผศ.ดร.วีรชัย อาจหาญ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร สำ� นกั วิชาวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ผู้วเิ คราะห์ความคุ้มคา่ เชงิ เศรษฐกจิ : นายณฐั พล อนนั ต์ธนสาร มูลนธิ ิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีขยะมลู ฝอยเกดิ ขึน้ 26.85 ล้านตนั แต่มีขยะมลู ฝอยทถี่ ูกกำ� จดั คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.68 ของขยะทงั้ หมด และมวี ธิ กี ารกำ� จดั ทถี่ กู ตอ้ งเพยี งประมาณครงึ่ หนงึ่ เทา่ นนั้ นอกจากนี้ เมอื่ พจิ ารณาถงึ การใชป้ ระโยชนข์ องขยะมลู ฝอยมเี พยี งรอ้ ยละ 18.38 ของขยะทเี่ กดิ ขนึ้ และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ซึ่งทัง้ หมดแสดงให้เห็นว่าการจัดการขยะมูลฝอยของไทย ในปั จจบุ ันยังไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ ชดุ โครงการงานวจิ ยั เทคโนโลยกี ารบำ� บดั ขยะมลู ฝอยดว้ ยวธิ กี ารแบบเชงิ กลและชวี ภาพ (Mechanical and Biological Treatment: MBT) ได้งบประมาณสนับสนุนการวิจัยทัง้ หมด 3 โครงการ ไดแ้ ก่ โครงการของคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) 1 โครงการ และสำ� นกั งานนโยบาย และแผนพลงั งาน (สนพ.) 2 โครงการ นอกจากนัน้ ยังไดร้ ับเงนิ สนบั สนนุ จากกระทรวงพลงั งาน จ�ำนวน 20 ล้านบาท เพือ่ มาเผยแพร่เทคโนโลยีกับชุมชนใน 15 จังหวัด แทนทีก่ ารฝั งกลบ มีวัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการขยะโดยใช้เทคโนโลยีการการบ�ำบัดขยะด้วยวิธีการ แบบเชงิ กล–ชวี ภาพทอี่ าศยั กระบวนการทางชวี วทิ ยาของแบคทเี รยี ในการยอ่ ยสลายอนิ ทรยี วตั ถุ ทีม่ ีอยู่ในขยะมูลฝอยร่วมกับการพลิกกลับกองขยะด้วยเทคนิคเชิงกล ท�ำให้สามารถลดระยะ เวลาในการหมักเหลือเพยี ง 1 เดอื น จดุ เดน่ ของเทคโนโลยี คือ สามารถรองรับขยะต�ำ่ สดุ ไดถ้ งึ 5 ตันต่อวัน ได้ผลผลิตจากการจัดการขยะเป็นเชือ้ เพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) และใช้พืน้ ทีไ่ ม่มากนัก ซึง่ ต่างจากการจัดการแบบฝั งกลบต้องมีหลุมกลบทีต่ ้องการพืน้ ทีใ่ นการ สร้างขนาดใหญ่ และห่างไกลชุมชน ท�ำให้ต้องเสียค่าขนส่งขยะจ�ำนวนมาก ซึง่ หลายชุมชนทีม่ ี ขยะนอ้ ยจะไมค่ ุม้ กับค่าขนสง่ จนท�ำให้เกิดการเผาขยะแทนการก�ำจัดทีถ่ ูกตอ้ ง 56

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจยั เพ่อื ประเมินความคุ้มค่าของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใตส้ าำ นกั บรหิ ารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยในอดุ มศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลยั วจิ ัยแห่งชาติ การวิเคราะห์ความคูุมค่าเชิงเศรษฐกิจในครัง้ นี้ จะใชูวิธีการวิเคราะห์ตามแนวคิดการวิเคราะห์ ตูนทนุ ผลประโยชน์ (Cost–Benefit analysis: CBA) โดยใชูอตั ราคดิ ลดรอู ยละ 7 อตั ราเงนิ เฟู อ ทีร่ อู ยละ 2 ต่อปี มปี ี ฐานในการค�านวณ คือ พ.ศ. 2558 ระยะเวลาวิเคราะห์ผลประโยชน์รวม 15 ปี โดยทา� การวเิ คราะห์ 2 แบบ คอื 1) วเิ คราะหโ์ ครงการเทา่ ทมี่ แี ผนกอ่ สราู งในปั จจบุ นั และ 2) วิเคราะหโ์ ครงการเพิม่ เติมปี ละ 25 ตัน ซึง่ เป็นปริมาณการจัดการขยะเพิม่ ขนึ้ โดยเฉลีย่ ตัง้ แต่ เริม่ ชุดโครงการ โดยเพิม่ โรงจัดการขยะ 5 ตนั จา� นวน 5 แห่ง ในอนาคตทุกๆ ปี รปู ที่ 3.11 การบำาบัดขยะด้วยวิธกี ารแบบเชิงกล–ชวี ภาพ (MBT) ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี ผลการวิเคราะห์ความคุูมค่าทางเศรษฐกิจ พบว่า ม้ลค่าปั จจุบันสุทธิ (NPV) มีค่าเท่ากับ 3,920.90 ลาู นบาท และ 4,125.48 ลูานบาท ตามล�าดับ และมอี ัตราส่วนผลประโยชนต์ ่อทนุ (B/C ratio) เทา่ กบั 77.64 และ 81.64 ตามลา� ดบั หมายความวา่ ลงทนุ วจิ ยั 1 บาท สามารถสราู ง ผลประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ไดู 77.64–81.64 บาท สามารถสรปุ ในภาพรวมไดวู า่ ชดุ โครงการงานวจิ ยั เทคโนโลยกี ารบ�าบดั ขยะม้ลฝอยดูวยวธิ กี ารแบบเชิงกลและชวี ภาพมีความคมูุ ค่าเชงิ เศรษฐกิจ ส�าหรับการวิเคราะห์ความอ่อนไหว พบว่า ตัวแปรทีม่ ีผลกระทบต่อความคุูมค่า มากทสี่ ดุ คอื สดั สว่ นการผลติ เชอื้ เพลงิ ขยะและราคาเชอื้ เพลงิ ขยะ ซงึ่ เป็นตวั แปรทสี่ ง่ ผลกระทบ กบั รายไดหู ลกั ของโรงจดั การขยะทกุ ขนาด จงึ ทา� ใหชู ดุ โครงการมมี ล้ คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธเิ ทา่ กบั 3,391 ลาู นบาท ในขณะทตี่ วั แปรในสว่ นของหลมุ ฝั งกลบทมี่ ผี ลกระทบมากทสี่ ดุ คอื รายไดจู ากคา่ จดั เกบ็ และการขายกา๊ ซ ส่งผลใหูชุดโครงการมมี ล้ คา่ ปั จจบุ นั สุทธเิ ท่ากับ 2,184 ลาู นบาท ชุดโครงการวิจัยเทคโนโลยีการบ�าบัดขยะม้ลฝอยดูวยวิธีการแบบเชิงกลและชีวภาพ เป็นตวั อยา่ งทดี่ สี า� หรบั การใหทู นุ วจิ ยั เพอื่ แกปู ั ญหาการจดั การขยะอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเป็นมติ ร กบั สงิ่ แวดลอู ม เนอื่ งจากในปั จจบุ นั จา� นวนขยะทเี่ กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะปี มแี นวโนมู เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซึง่ ส่วนหนึง่ มาจากการเติบโตของอตุ สาหกรรมท่องเทีย่ ว 57

รายงานการศึกษาโครงการวิจัยเพื่อประเมนิ ความค้มุ คา่ ของโครงการวจิ ยั และพัฒนา ภายใตส้ ำ�นกั บริหารโครงการสง่ เสริมการวจิ ยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ 3.13 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการบ�ำบัดขยะมูลฝอยด้วยวิธีการแบบเชิงกลและชีวภาพ กรณศี กึ ษาเทศบาลต�ำบลท่าวงั ผา อำ� เภอท่าวังผา จังหวดั นา่ น หวั หน้าโครงการวิจัย: ผศ.ดร.วรี ชัย อาจหาญ สาขาวิชาวศิ วกรรมเกษตร ส�ำนกั วชิ าวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี ผู้วเิ คราะหค์ วามคุ้มคา่ เชงิ เศรษฐกจิ : นายณัฐพล อนันต์ธนสาร มลู นิธสิ ถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ นายอรรถพันธ์ สารวงศ์ มลู นธิ สิ ถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ นางสาววรญั ญา บตุ รบุรี มูลนิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ ในอดีตเทศบาลต�ำบลท่าวังผาเป็นอีกหนึ่งพืน้ ทีท่ ีม่ ีปั ญหาการจัดการขยะ และได้หาแนวทาง ในการพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การขยะมาอย่างตอ่ เนือ่ ง แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การก�ำจัดขยะด้วยวิธีการขุดหลุมฝั งกลบร่วมกับการเผา โดยการเทกองในขุดหลุมขยะทีไ่ ม่มี แผ่นยางรองก้นหลุม และจะฝั งกลบก็ต่อเมือ่ ขยะเต็มหลุม ซึ่งเป็นการด�ำเนินงานทีไ่ ม่ถูกต้อง ตามหลักสุขาภิบาล ท�ำให้มีปั ญหาน�้ำชะจากขยะ ส่งกลิน่ เหม็นและไหลซึมผ่านไปยังล�ำห้วย ทีอ่ ยู่ใกล้บริเวณบ่อขยะ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพดินและน�ำ้ ระยะที่ 2 การก�ำจัดขยะด้วยวิธี ผสมผสานระหวา่ งการฝั งกลบ การหมักปุ ย๋ และการรีไซเคลิ ได้จดั ตัง้ “ศูนยจ์ ดั การสิง่ แวดล้อม อยา่ งยงั่ ยนื เทศบาลตำ� บลทา่ วงั ผา” (พ.ศ. 2552–2556) โดยมอบหมายใหม้ หาวทิ ยาลยั นเรศวร จงั หวดั พษิ ณโุ ลก มาวจิ ยั เพอื่ ออกแบบรปู แบบการจดั การขยะ โดยไดเ้ ลอื กรปู แบบการกำ� จดั ขยะ ทีผ่ สมผสานระหว่างการฝั งกลบ การหมกั ปุ ๋ย และการรไี ซเคิล นอกจากนี ้ ยังไดร้ ณรงค์การลด ปริมาณขยะในครัวเรือน อย่างไรก็ตาม ผลการด�ำเนินงานตามแนวทางดังกล่าวยังคงมีปั ญหา โดยเฉพาะปั ญหาปรมิ าณขยะทเี่ พมิ่ สงู ขนึ้ และไมส่ อดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั องคป์ ระกอบขยะของ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ทำ� ใหย้ งั มปี รมิ าณขยะทตี่ อ้ งนำ� ไปฝั งกลบมากถงึ รอ้ ยละ 80 และระยะที่ 3 เทคโนโลยีการบ�ำบัดขยะด้วยวิธีการแบบเชิงกลและชีวภาพ (MBT) (พ.ศ. 2556) จากการไป ศึกษาดูงานเทคโนโลยกี ารจัดการขยะแบบ MBT ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี และได้น�ำ เอาแนวทางมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นพนื้ ทเี่ ทศบาลตำ� บลทา่ วงั ผา ผลจากการใชว้ ธิ ี MBT พบวา่ สามารถ น�ำขยะไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ท�ำให้มีจ�ำนวนขยะทีเ่ หลือและต้องน�ำไปฝั งกลบลดลงมาก เหลอื เพยี งประมาณรอ้ ยละ 30 โดยขยะทผี่ า่ นกระบวนการ MBT แลว้ จะสามารถผลติ ขยะเชอื้ เพลงิ และผลิตภัณฑ์ปุ ๋ยชีวภาพมากขึน้ โดยใช้ระยะเวลาในการหมักปุ ๋ยชีวภาพประมาณ 1 เดือน นอกจากนี้ ยงั ชว่ ยลดปั ญหากลนิ่ และแมลงรบกวนตา่ งๆ ภายในบรเิ วณศนู ยจ์ ดั การสงิ่ แวดลอ้ ม ซึง่ เป็นการสรา้ งภาพลกั ษณ์ทีด่ ีในการจัดการขยะ 58

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ยั เพอ่ื ประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใต้สาำ นักบริหารโครงการสง่ เสริมการวิจัยในอดุ มศึกษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วิจยั แห่งชาติ จากการอภิปรายกลุ่มร่วมกับผู้มีส่วนไดูส่วนเสียกลุ่มต่างๆ พบว่า ในกลุ่มประชาชนมองว่า การมีเทคโนโลยี MBT แมูว่าจะก่อใหูเกิดผลดีในภาพรวมทีท่ �าใหูระบบการจัดการขยะ ในชุมชนมีประสิทธิภาพดีขึน้ แต่กลับมองว่าผลการด�าเนินงานดังกล่าวไม่ไดูส่งผลใหูเกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั สา� คัญกับตนเองทัง้ ทางดาู นรายไดู สขุ ภาพ และสงั คม เนือ่ งจากมองว่า ก่อนหนูาทีจ่ ะมีเทคโนโลยี MBT ศ้นย์จัดการสิง่ แวดลูอมก็มีระบบการจัดการขยะทีถ่ ้กหลัก สุขาภิบาลอย้่แลูว และไม่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดลูอมและประชาชนในชุมชน ดังนัน้ การมี เทคโนโลยี MBT ทเี่ พมิ่ เตมิ เขาู มา สราู งผลกระทบอยา่ งมากในแงข่ องการลดงบประมาณการจดั การ ขยะ และมรี ายไดูเพมิ่ ขึน้ จากการขายขยะ รวมถงึ มสี ว่ นชว่ ยในการจัดการกลนิ่ ขยะภายในศน้ ย์ ใหลู ดลง ทา� ใหภู าพลกั ษณข์ องศน้ ยด์ ขี นึ้ โดยไมส่ ง่ ผลใหเู กดิ การเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอู ม ในชุมชนเมือ่ เทียบกับกรณีทีย่ ังไม่มีเทคโนโลยี MBT ซึ่งกลุ่มทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงอย่างเห็น ไดูชัดมากทีส่ ุด คือ เทศบาลต�าบลท่าวังผา โดยเกิดการเปลีย่ นแปลง 3 ผลลัพธ์ส�าคัญ คือ 1) งบประมาณในการจดั การขยะลดลง 2) รายไดูจากการขายผลติ ภณั ฑ์จากขยะเพิม่ ขนึ้ และ 3) เทศบาลมชี อื่ เสียงมากขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม ผลลัพธ์สา� คัญ 2 ผลลัพธ์ คอื งบประมาณในการ จัดการขยะลดลงและรายไดจู ากการขายผลติ ภณั ฑ์จากขยะเพมิ่ ขนึ้ ไดูถ้กวเิ คราะห์ผลตอบแทน แลูวดูวยวิธีการวิเคราะห์ตูนทุนและผลประโยชน์ ในกรณีศึกษาที่ 9 ดังนัน้ ในการวิเคราะห์ ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน จะวิเคราะห์ผลลัพธ์ส�าคัญ คือ เทศบาลต�าบลท่าวังผา มีชอื่ เสยี งมากขึน้ ในกรณเี ทศบาลตา� บลทา่ วงั ผา พบวา่ การจดั การขยะดวู ยเทคโนโลยี MBT มสี ว่ นชว่ ย ใหเู กดิ ผลลพั ธท์ างเศรษฐกจิ เป็นสา� คญั โดยเฉพาะงบประมาณในการจดั การขยะทลี่ ดลงอยา่ งมาก และเกิดรายไดูจากการขายผลิตภัณฑ์ขยะ พบว่าภายใน 14 ปี จากขูอก�าหนดใหูปี ฐาน คือ พ.ศ. 2558 และอัตราคิดลดรูอยละ 7 ไดูก่อใหูเกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจส้งถึงประมาณ 14 ลูานบาท อีกทัง้ ยังก่อใหูเกิดประโยชน์ทางสังคมทีส่ �าคัญ คือ เทศบาลต�าบลท่าวังผา มชี อื่ เสยี งมากขนึ้ โดยในการศกึ ษานไี้ ดวู ดั เฉพาะผลทางสงั คมจากการมชี อื่ เสยี งเพมิ่ ขนึ้ ชวี้ ดั การ เปลีย่ นแปลงจากจ�านวนการมาศึกษาด้งานการจัดการขยะของเทศบาลทีเ่ พิม่ ขึน้ ประมาณปี ละ 10 คณะ และแปลงเป็นม้ลค่าทางการเงินโดยคิดจากตูนทุนในการมาด้งานของคณะด้งาน สามารถคิดเป็นมล้ ค่าทางการเงนิ ภายใน 14 ปี ไดปู ระมาณ 2.59 ลูานบาท รูปท่ี 3.12 การศึกษาดูงานการจัดการขยะโดยใช้เทคโนโลยี MBT ของเทศบาลตำาบลท่าวงั ผา จงั หวัดน่าน ท่มี �: เทศบ�ลตำ�บลท�่ วังผ� (2560) 59

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจยั เพอื่ ประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใตส้ ำ�นกั บริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจัยในอดุ มศึกษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วิจัยแห่งชาติ การศกึ ษานเี้ ป็นการวเิ คราะหผ์ ลประโยชนต์ อ่ เนอื่ งจากกรณศี กึ ษาที่ 9 เพอื่ ใหค้ รอบคลมุ ผลในเชงิ สงั คม โดยใชก้ รณีศกึ ษาของเทศบาลต�ำบลท่าวงั ผาเพียง 1 แหง่ ในการวิเคราะห์ ดงั นัน้ เมอื่ น�ำ ผลประโยชนส์ ว่ นนีไ้ ปรวมกับผลประโยชนห์ ลกั ทีม่ ีมลู ค่าปั จจุบนั สทุ ธสิ ูงถึง 3,920.90–4,125.48 ลา้ นบาท กน็ บั เป็นผลประโยชนเ์ พยี งสว่ นนอ้ ย แตเ่ มอื่ พจิ ารณาในภาพรวม ผลทางสงั คมทเี่ กดิ ขนึ้ กับหนว่ ยงานทีน่ ำ� เทคโนโลยี MBT ไปใช้จะมมี ูลค่าทีส่ งู กวา่ นี้ โดยเฉพาะในพืน้ ทีท่ ีม่ พี นื้ ฐานการ จดั การขยะทีย่ งั ไมเ่ หมาะสม สาเหตหุ ลกั ทผี่ ลทางสงั คมของเทศบาลทา่ วงั ผาเปลยี่ นไปไมม่ ากนกั เนอื่ งจากเทคโนโลยี การฝั งกลบของมหาวทิ ยาลยั นเรศวรทที่ ำ� มากอ่ นหนา้ นี้ มกี ารวางระบบการจดั การผลกระทบตอ่ ประชาชนและสิง่ แวดล้อมไว้ดีแล้วในระดับหนึง่ แต่เทคโนโลยี MBT ได้มีส่วนช่วยจุดประกาย ให้ประชาชนในพืน้ ทีเ่ ทศบาลต�ำบลท่าวังผามีทัศนคติทีด่ ีต่อการจัดการขยะ รวมถึงสร้างความ เชือ่ มัน่ ในการท�ำงานของคณะผู้ท�ำงานและเทศบาลให้สามารถด�ำเนินงานได้อย่างภาคภูมิใจ จากการมตี วั อยา่ งทีป่ ระสบความส�ำเรจ็ สามารถน�ำไปบอกตอ่ เผยแพร่ แบง่ ปั นให้ผู้อืน่ ได้ ทำ� ให้ ประชาชนเขา้ มาร่วมกจิ กรรมและใหค้ วามร่วมมือกับเทศบาลมากขึน้ ในอนาคต ก่อให้เกดิ ความ รู้สึกเป็นเจ้าของ ซึง่ จะน�ำไปสู่การท�ำกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชนมากขึน้ และน�ำไป สู่การพฒั นาทีย่ ัง่ ยืนของเทศบาลต�ำบลทา่ วังผา 3.14 โครงการวิจัยบรรพชีวนิ วิทยา หัวหนา้ โครงการวิจัย: ดร.วราวุธ สุธธี ร ศนู ย์วจิ ัยและการศึกษาบรรพชีวนิ วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผวู้ เิ คราะห์ความค้มุ ค่าเชิงเศรษฐกิจ: นายณัฐพล อนันตธ์ นสาร มลู นิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ อ.ดร.ธัญมัชฌ สรุงบุญมี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ นายอรรถพันธ์ สารวงศ์ มูลนิธิสถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ นางสาววรญั ญา บตุ รบรุ ี มลู นธิ สิ ถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ โครงการวิจัยบรรพชีวินวิทยา เป็นการศึกษาถึงความเป็นมาของสิง่ มีชีวิตในอดีตโดยอาศัยซาก หรือร่องรอยของพืชและสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ รวมถึงสายวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิต ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสงิ่ มชี วี ติ ในอดตี และปั จจบุ นั สงิ่ มชี วี ติ ในอดตี กบั การเทยี บความสมั พนั ธเ์ พอื่ กำ� หนดลำ� ดบั เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในประวตั คิ วามเป็นมาของโลก จากการคน้ พบฟอสซลิ กระดกู ไดโนเสาร์ เป็นครงั้ แรกในประเทศไทยโดยไมไ่ ดต้ งั้ ใจ โดยนกั ธรณวี ทิ ยาจากกรมทรพั ยากรธรณี ในปี พ.ศ. 2519 ทีไ่ ด้ออกส�ำรวจหาแร่ทีบ่ ริเวณอ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น แล้วพบกระดูกสัตว์ขนาดใหญ่ 60

รายงานการศกึ ษาโครงการวจิ ยั เพ่ือประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใตส้ ำานักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวิจยั ในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ หลังจากตรวจสอบแลูวพบวา่ เป็นสว่ นหนึง่ ของกระดก้ ตนู ขาไดโนเสารก์ ินพืชชนิดหนึง่ จึงน�าไปส่้ การสา� รวจและศกึ ษาทางดาู นบรรพชวี นิ วทิ ยาในประเทศไทยอยา่ งจรงิ จงั ในปี พ.ศ. 2523 ซงึ่ นบั วา่ เป็นจุดเริม่ ตูนการศึกษาบรรพชีวินในประเทศไทย โดยมี ดร.วราวุธ สุธีธร ผู้เชีย่ วชาญดูาน บรรพชวี นิ วทิ ยาของประเทศไทย เป็นผบู้ กุ เบกิ งานสา� รวจขดุ คนู ฟอสซลิ ไดโนเสารใ์ นประเทศไทย ผลงานสา� คญั ของโครงการวจิ ยั คอื การขดุ พบฟอสซลิ กระดก้ ไดโนเสารใ์ นประเทศไทยถงึ 16 ชนดิ ในจ�านวนนีเ้ ป็นไดโนเสาร์ชนิดใหม่ของโลก 5 ชนิด ไดูแก่ สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส (Siamotyrannus isanensis) อีสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isanosaurus attavipatchi) ภ้เวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae) ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ (Psittacosaurus sattayaraki) และสยามโมซอรสั สธุ ธี รนิ (Siamosaurus suteethorni) รปู ที่ 3.13 พพ� ธ� ภณั ฑ์สริ นิ ธร จงั หวดั กาฬสินธุ์ ผลจากการดา� เนนิ งานทา� ใหมู กี ารคนู พบซากสตั วด์ กึ ดา� บรรพแ์ ละองคค์ วามรใู้ หมเ่ ป็นจา� นวนมาก จึงน�าไปส้่การจัดตัง้ ศ้นย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ในปี พ.ศ. 2541 ศน้ ย์ศึกษาวจิ ยั และพพิ ิธภณั ฑไ์ ดโนเสาร์ภ้เวยี ง ในปี พ.ศ. 2544 และศ้นย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์สิรินธร ในปี พ.ศ. 2551 การก่อตัง้ พิพิธภัณฑ์ ไดกู อ่ ใหเู กดิ แหลง่ สะสมองคค์ วามรแู้ ละแหลง่ เรยี นรดู้ าู นบรรพชวี นิ วทิ ยาใหกู บั ประชาชน เยาวชน นกั วชิ าการ ตลอดจนเป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสา� คญั และเป็นแหลง่ พบปะของเครอื ขา่ ยในชมุ ชนทอู งถนิ่ การศกึ ษานี้ เป็นการวเิ คราะหเ์ ฉพาะมล้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการสะสมความรู้ จากโครงการวิจัยดูานบรรพชีวินวิทยา เนือ่ งจากการลงทุนในการสะสมความรู้มีอย่างต่อเนือ่ ง และยาวนานตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2523 จนถึงปั จจุบัน ท�าใหูไม่อาจเก็บขูอม้ลงบประมาณการวิจัย ทีใ่ ชูในอดีตไดู ดังนัน้ การศึกษานีจ้ ึงพยายามสะทูอนใหูเห็นม้ลค่าทีเ่ กิดจากการใหูคุณค่าของ องค์ความรู้ของประชาชน โดยการวิเคราะห์ผลประโยชน์ทีว่ ัดจากความยินดีจ่ายของประชาชน เพอื่ มาเยยี่ มชมพพิ ธิ ภณั ฑท์ นี่ า� เสนอความรดู้ าู นบรรพชวี นิ ดวู ยวธิ ตี นู ทนุ การทอ่ งเทยี่ วแบบแบง่ เขต (Zonal Travel Cost Method: ZTCM) โดยกา� หนดใหวู เิ คราะหม์ ล้ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ ของพพิ ธิ ภณั ฑ์ สิรินธร จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ผลการศึกษาพบวา่ มล้ ค่าเชงิ เศรษฐกิจของพิพิธภณั ฑ์สริ ินธรโดยรวม เท่ากบั 1,340.21 ลูานบาท แต่เมอื่ คดิ เฉพาะผู้เยีย่ มชมจะมีมล้ คา่ เท่ากับ 23.15 ลูานบาท และ 61

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพือ่ ประเมนิ ความค้มุ ค่าของโครงการวจิ ัยและพัฒนา ภายใต้สำ�นกั บรหิ ารโครงการส่งเสรมิ การวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวจิ ยั แห่งชาติ มีมูลค่าเท่ากับ 44.63 บาทต่อครัง้ ต่อปี เมือ่ เปรียบเทียบกับค่าธรรมเนียมค่าเข้าชมตามทีเ่ ก็บ ในปั จจุบันเฉลีย่ ตามสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 25.50 บาทต่อครัง้ ต่อปี จะท�ำให้ผู้ทีม่ า เยีย่ มชมพิพิธภัณฑ์สิรินธรมีส่วนเกินผู้บริโภคเท่ากับ 19.13 บาทต่อครัง้ ต่อปี เมือ่ พิจารณา ผลประโยชน์สุทธิของพิพิภัณฑ์สิรินธร จึงจ�ำเป็ นต้องหักต้นทุนทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงานของ พพิ ธิ ภณั ฑ์ โดยในปี พ.ศ. 2558 พพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธรมตี น้ ทนุ การดำ� เนนิ งานเทา่ กบั 14.53 ลา้ นบาท ในขณะทีผ่ ลประโยชนร์ วมจากการเข้ามาผเู้ ยีย่ มชมมมี ูลค่าเทา่ กับ 23.15 ล้านบาท เมอื่ หกั ด้วย ต้นทุนการด�ำเนินงานของพิพิธิภัณฑ์แล้ว จะได้มูลค่าเชิงเศรษฐกิจสุทธิเท่ากับ 8.62 ล้านบาท ดังนัน้ สามารถสรุปไดว้ ่าการด�ำเนนิ งานของพพิ ิธภณั ฑ์มีความคุ้มคา่ ในเชงิ เศรษฐกจิ ในแต่ละปี การศกึ ษานี้ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ องคค์ วามรดู้ า้ นบรรพชวี นิ วทิ ยาทไี่ ดส้ ะสมมาอยา่ งยาวนานนนั้ เป็ นสิง่ ทีค่ นในสังคมให้ความสนใจและเห็นคุณค่า ดังนัน้ การวิจัยและการส�ำรวจค้นหา ซากดกึ ด�ำบรรพใ์ นอนาคต ถือว่าเป็นสงิ่ ทีท่ ้าทายนักบรรพชวี นิ วทิ ยา เนือ่ งจากในปั จจบุ นั คนใน สังคมค่อนข้างตืน่ ตัวและให้ความสนใจมากขึน้ ทัง้ นี้ หากมีช่องทางการเผยแพร่องค์ความรู้ที่ หลากหลายและน่าสนใจ ซึง่ ในปั จจุบันก็มีหลากหลายรูปแบบทัง้ พิพิธภัณฑ์ หรือสวนสนุกทีม่ ี แบบจำ� ลองไดโนเสารท์ เี่ คลอื่ นไหวได้ กจ็ ะสามารถชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจโดยเฉพาะกลมุ่ เดก็ ไดด้ ี ก็จะยิง่ ท�ำให้องค์ความรู้ด้านบรรพชีวินวิทยาถูกขยายไปในวงกว้าง ท�ำให้มีคนได้ท�ำความรู้จัก เรียนรู้ เหน็ คณุ ค่า และรู้สกึ หวงแหนสมบตั ขิ องชาติเหลา่ นีม้ ากขึน้ นอกจากผลประโยชนใ์ นเชิง วชิ าการแลว้ องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั สตั วด์ กึ ดำ� บรรพต์ า่ งๆ ยงั ถกู นำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการตอ่ ยอดและ สรา้ งสรรคเ์ ป็นผลงานตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สตั วด์ กึ ดำ� บรรพห์ รอื ไดโนเสาร์ เชน่ หนงั สอื ภาพยนตร์ ของทรี่ ะลกึ เป็นตน้ ซงึ่ สามารถสรา้ งผลตอบแทนเชงิ เศรษฐกจิ ทเี่ หน็ ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรมอกี ดว้ ย ดังนัน้ การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยด้านบรรพชีวินวิทยาในประเทศไทยยังคง มีความจ�ำเป็น เนือ่ งจากยังมีพืน้ ทีศ่ ึกษาอีกหลายแห่งทีย่ ังไม่ได้ส�ำรวจขุดค้นและรอการส�ำรวจ ซึง่ จะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ทีจ่ ะเกิดขึน้ อีกเป็นจ�ำนวนมาก และก่อให้เกิดผลประโยชน์ทัง้ ใน เชงิ วชิ าการ เศรษฐกจิ และสังคม 62

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพื่อประเมนิ ความคมุ้ คา่ ของโครงการวิจัยและพฒั นา ภายใต้สำานกั บรหิ ารโครงการส่งเสริมการวจิ ัยในอดุ มศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วจิ ัยแห่งชาติ 3.15 ชุดโครงการโตะหุ่นยนตฟ์ น ฟูการเคลื่อนไหวแขน (Sensible TAB) หวั หน้าโครงการวจิ ยั : ดร.ปราการเกยี รต ิ ยังคง สถาบนั วิทยาการหนุ่ ยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี นพ.ภาริส วงศแ์ พทย์ สาขาเวชศาสตร์ฟน„œ ฟู โรงพยาบาลสา� โรง ผูว้ ิเคราะห์ความคุม้ คา่ เชิงเศรษฐกิจ: นายณัฐพล อนนั ต์ธนสาร มูลนิธสิ ถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ ชุดโครงการโต๊ะหุ่นยนต์ฟื้ นฟ้การเคลือ่ นไหวแขน เป็นโครงการทีผ่ ลิตโต๊ะหุ่นยนต์ทีใ่ ชูในการ ฟื้นฟ้สมรรถภาพในการเคลือ่ นไหวแขนของผู้ป่ วยทีเ่ ป็นอัมพฤกษ์ทีม่ ี ดร.ปราการเกียรติ ยังคง เป็ นหัวหนูาโครงการฯ จากสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลูาธนบุรีร่วมกับนายแพทย์ภาริส วงศ์แพทย์ กรรมการบริหารและแพทย์สาขา เวชศาสตร์ฟื้ นฟ้ โรงพยาบาลส�าโรง โดยใชูทุนจ�านวน 10 ลูานบาท ในปั จจุบันโต๊ะหุ่นยนต์ เป็นอปุ กรณท์ างการแพทยน์ า� เขาู ทมี่ รี าคาแพง การศกึ ษาวจิ ยั รว่ มกนั นที้ า� เกดิ เทคโนโลยโี ตะ๊ หนุ่ ยนต์ ฟื้ นฟ้การเคลื่อนไหวแขนหรือมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Sensible TAB ไดูรับรางวัลชนะเลิศ ดาู นการออกแบบผลติ ภณั ฑจ์ าก สา� นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สนช.) ประจา� ปี พ.ศ. 2555 ผลจาก การเผยแพรเ่ ทคโนโลยไี ดกู อ่ ใหเู กดิ ผลลพั ธส์ า� คญั คอื ผขู้ ายผลติ ภณั ฑม์ กี า� ไรจากการขายโตะ๊ หนุ่ ยนต์ และผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองทใี่ ชอู ปุ กรณโ์ ตะ๊ หนุ่ ยนตม์ คี ณุ ภาพชวี ติ เพมิ่ ขนึ้ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั การฟื้นฟส้ มรรถภาพการเคลือ่ นไหวแขนโดยนักกายภาพบ�าบัด รูปที่ 3.14 โตะ หุน่ ยนตฟ์ �นœ ฟกู ารเคลื่อนไหวแขน (Sensible TAB) ท่มี �: สถ�บนั วทิ ย�ก�รหุ่นยนตภ์ �คสน�ม (ฟโ� บ)้ มห�วทิ ย�ลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล��ธนบุร� (มจธ.) และบริษทั ทจี เ� อม็ ไอ จ�ำ กัด 63

รายงานการศกึ ษาโครงการวิจยั เพ่ือประเมินความคุม้ คา่ ของโครงการวจิ ยั และพัฒนา ภายใตส้ �ำ นกั บริหารโครงการสง่ เสริมการวจิ ยั ในอุดมศกึ ษาและพัฒนามหาวทิ ยาลัยวิจยั แหง่ ชาติ การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลประโยชนข์ องชดุ โครงการวจิ ยั ไดก้ ำ� หนดใหใ้ ชอ้ ตั ราคดิ ลดรอ้ ยละ 3 ตอ่ ปี และอัตราเงินเฟ้ อร้อยละ 2 ต่อปี มีปี ฐานในการค�ำนวณ คือ พ.ศ. 2558 และมีระยะเวลา ประเมนิ ผลประโยชน์ 10 ปี ผลการวิเคราะหค์ วามคมุ้ คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ พบว่า ชุดโครงการโต๊ะหุ่นยนต์ฟื้นฟูการเคลือ่ นไหวแขน (Sensible TAB) มีมูลค่าปั จจุบันสุทธิเท่ากับ 53.86 ลา้ นบาท และมอี ตั ราสว่ นผลประโยชนต์ อ่ ทนุ 1.33 หมายถงึ การลงทนุ 1 บาท สามารถ สรา้ งผลประโยชนไ์ ด้ 1.33 บาท โดยแบง่ เป็นกำ� ไรของบรษิ ทั 26.12 ลา้ นบาท และเป็นคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ พมิ่ ขนึ้ 27.74 ลา้ นบาท สว่ นการวิเคราะห์ความอ่อนไหว พบว่า โดยตัวแปรส่งผลกระทบต่อ ผลประโยชน์ของโครงการมากทีส่ ุดคือ ค่าบริการโดยหุ่นยนต์ ทีท่ �ำให้โครงการมีมูลค่าปั จจุบัน สทุ ธเิ ปลยี่ นแปลงมากทีส่ ุดเทา่ กับ 19.70 ลา้ นบาท มอี ัตราส่วนผลประโยชน์ต่อทุนเท่ากับ 1.10 อยา่ งไรกต็ าม หากพจิ ารณาความคุ้มทนุ ของการใชโ้ ต๊ะหุน่ ยนต์ พบวา่ ถา้ โรงพยาบาลตอ้ งการ คืนทุนจากการซือ้ โต๊ะหุ่นยนต์ในระยะเวลา 5 ปี จะต้องเก็บค่าบริการไม่น้อยกว่า 600 บาท ต่อชวั่ โมง ซึง่ เป็นค่าบรกิ ารทีย่ ังไม่รวมต้นทุนคา่ บุคลากรและค่าสถานที่ ข้อสังเกตประการหนึ่งในการวิเคราะห์ พบว่า ชุดโครงการโต๊ะหุ่นยนต์ฟื้ นฟูการ เคลือ่ นไหวแขนเป็นงานวิจัยทีไ่ ด้รับทุนวิจัยจากภาคเอกชนเกือบทัง้ หมดเป็นระยะเวลาถึง 5 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ให้ทุนเห็นถึงศักยภาพของนักวิจัยของมหาวิทยาลัยทีจ่ ะสามารถท�ำวิจัยจน ประสบความส�ำเร็จ และผลิตออกขายในเชิงพาณิชย์ได้ นอกจากนัน้ ชุดโครงการนีย้ ังแสดงให้ เห็นถงึ ความรว่ มมอื กันของนักวิจยั สาขาวศิ วกรรมศาสตร์และแพทยศาสตร์ เพอื่ พฒั นางานวจิ ยั จนเป็นนวตั กรรมทไี่ ดร้ บั รางวลั ระดบั ชาตแิ ละสามารถนำ� ผลงานวจิ ยั ใชป้ ระโยชนใ์ นอตุ สาหกรรม ไดจ้ ริง 3.16 โครงการอุปกรณ์ตรวจวัดระดับความง่วงด้วยคล่ืนสัญญาณสมองแบบอัตโนมัติ (Alertz) หัวหนา้ โครงการวจิ ยั : ผศ.ดร.ยศชนนั วงศส์ วัสดิ์ ภาควิชาวศิ วกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ผู้วเิ คราะหค์ วามคมุ้ ค่าเชิงเศรษฐกจิ : นายณฐั พล อนันต์ธนสาร มลู นิธสิ ถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ นวตั กรรม “อปุ กรณช์ ว่ ยเตอื นหลบั ในขณะขบั รถดว้ ยสญั ญาณสมอง” หรอื มชี อื่ ในเชงิ พาณชิ ยว์ า่ “Alertz” เป็นเทคโนโลยสี ำ� หรบั การตรวจจบั ความเป็นไปไดก้ อ่ นเกดิ อาการหลบั ใน เพอื่ แจง้ เตอื น คนขับล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะเกิดอุบัติเหตุ Alertz เกิดขึน้ จากผลงานวิจัยของกลุ่มนักศึกษาจากศูนย์ ปฏิบัติการเชือ่ มต่อสัญญาณสมองด้วยคอมพิวเตอร์ (Brain–Computer Interface Center) น�ำทีมโดย ผศ.ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และเพอื่ พฒั นาสกู่ ารผลติ ในภาคอตุ สาหกรรมและประยกุ ตใ์ ชท้ วั่ ไป นกั วจิ ยั ไดร้ ่วมมือกับ บรษิ ัท ทมี พรซี ิชัน่ จำ� กัด มหาชน ก่อตัง้ บรษิ ัท ไฟเนส เมด ดีไซน์ จ�ำกดั (Finest 64

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ยั เพื่อประเมนิ ความคุม้ ค่าของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใตส้ าำ นกั บริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศกึ ษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวิจยั แห่งชาติ Med Design Co., Ltd.) ซงึ่ ถอื เป็นบรษิ ทั Start–up บรษิ ทั แรกในกลมุ่ นกั ศกึ ษาภาควชิ า ทมี่ งุ่ เนนู ผลิตนวตั กรรมทางดูานวศิ วกรรมชวี การแพทยม์ าเป็นผลิตภัณฑท์ างการคูา การใชูงาน Alertz ผู้ใชูงานตูองสวมสายคาดศีรษะซึ่งจะมีเซ็นเซอร์วัดคลื่นสมอง บรเิ วณหนาู ผากโดย Alertz จะแจงู เตอื นผใู้ ชงู านเมอื่ มอี าการหลบั ใน โดยสญั ญาณสมองทวี่ ดั ไดู จะถ้กส่งไปประมวลผลยังคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เมือ่ ผู้ใชูเกิดอาการง่วงทีท่ �าใหูเกิดการหลับใน เครือ่ งจะสัน่ เตือนผู้ใชูงาน และจะหยุดเตือนก็ต่อเมือ่ ผู้ใชูงานมีความรู้สึกตืน่ ตัวหรือหายง่วง ซึ่งมีความแม่นย�าถึงรูอยละ 90.4 ผลจากการเผยแพร่เทคโนโลยี จะช่วยผู้ขับขีย่ านพาหนะ ทใี่ ชเู ครอื่ ง Alertz ลดความเสยี่ งในการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ และลดความเสยี่ งจากความสญ้ เสยี ตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ินลง รูปที่ 3.15 อปุ กรณช์ ่วยเตือนหลับในขณะขบั รถดว้ ยสัญญาณสมองแบบอตั โนมตั ิ (Alertz) ทมี่ �: ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ �รเชอื่ มตอ่ สญั ญ�ณสมองดว้ ยคอมพว� เตอร์ (Brain–Computer Interface Center) ภ�ควชิ �วศิ วกรรมชวี ก�รแพทย์ คณะวศิ วกรรมศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยมหิดล (2560) การวเิ คราะหต์ นู ทนุ และผลประโยชนข์ องชดุ โครงการวจิ ยั ไดกู า� หนดใชอู ตั ราคดิ ลดรอู ยละ 3 ตอ่ ปี และอตั ราเงนิ เฟู อรอู ยละ 2 ตอ่ ปี มปี ี ฐานในการคา� นวณคอื พ.ศ. 2558 และมรี ะยะเวลาประเมนิ ผลประโยชน์ 10 ปี ผลการวิเคราะห์ความคูุมค่าทางเศรษฐกิจของโครงการฯ พบว่า อุปกรณ์ ตรวจวัดระดับความง่วงดูวยคลืน่ สัญญาณสมองแบบอัตโนมัติ (Alertz) มีม้ลค่าปั จจุบันสุทธิ เท่ากับ 10.27 ลูานบาท และมีอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อทุน 9.77 หมายถึง การลงทุนวิจัย 1 บาท สามารถสราู งผลประโยชนถ์ งึ 9.77 บาท สว่ นการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว พบวา่ โดยตวั แปร ส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของโครงการมากทีส่ ุดคือ ยอดขายเปลีย่ นแปลงจากแผนธุรกิจ ทีท่ �าใหูโครงการมีม้ลค่าปั จจุบันสุทธิเปลีย่ นแปลงมากทีส่ ุดเท่ากับ 8.18 ลูานบาท มีอัตราส่วน ผลประโยชนต์ ่อทนุ เท่ากับ 7.99 โครงการผลิตภัณฑ์ช่วยเตือนหลับในขณะขับรถดูวยสัญญาณสมอง (Alertz) เป็นโครงการทีไ่ ดูรับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัย วจิ ยั แหง่ ชาตทิ งั้ หมด ซงึ่ โครงการไดแู สดงใหเู หน็ ถงึ การนา� งานวจิ ยั มาพฒั นาเพอื่ ใหเู กดิ การนา� ไป ใชูจริง โดยวธิ กี ารตัง้ บริษทั Start–up ร่วมกับภาคเอกชนทีเ่ ป็นกลมุ่ นกั ศึกษาของมหาวิทยาลยั เพอื่ มุ่งเนูนการนา� นวัตกรรมทางดาู นวิศวกรรมทางการแพทยม์ าเป็นผลติ ภณั ฑข์ องบริษัท 65

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ยั เพอ่ื ประเมินความค้มุ คา่ ของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใต้สำ�นักบริหารโครงการสง่ เสรมิ การวจิ ัยในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวทิ ยาลัยวิจัยแห่งชาติ 3.17 ชดุ โครงการนวัตกรรมชว่ ยฝึกเดินสำ� หรบั ผูป้ ว่ ยอมั พาตคร่ึงซีก (IWalk) หัวหน้าโครงการวจิ ยั : ผศ.ดร.บรรยงค์ ร่งุ เรอื งด้วยบญุ ศนู ยก์ ารออกแบบและพฒั นาตน้ แบบทางวศิ วกรรมอยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creative Design Thinking) คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ผู้วิเคราะห์ความคมุ้ ค่าเชิงเศรษฐกจิ : นายณฐั พล อนนั ตธ์ นสาร มลู นิธสิ ถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ชุดโครงการนวัตกรรมช่วยฝึ กเดินส�ำหรับผู้ป่ วยอัมพาตครึ่งซีก (IWalk) เป็นโครงการทีผ่ ลิต หุ่นยนต์ทีใ่ ช้ในการฟื้ นฟูสมรรถภาพในการเคลื่อนไหวขาของผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมองทีม่ ี ผศ.ดร.บรรยงค์ รงุ่ เรอื งดว้ ยบญุ เป็นหวั หนา้ โครงการฯ จากศนู ยก์ ารออกแบบและพฒั นาตน้ แบบ ทางวิศวกรรมอย่างสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ ผศ.ดร.พัชรี คุณค�้ำชู ภาควชิ ากายภาพบำ� บดั คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ใชท้ นุ วจิ ัยจ�ำนวน 5.20 ล้านบาท และไดผ้ ลติ ออกมาใชใ้ นโรงพยาบาลของรฐั แลว้ จ�ำนวน 10 เครือ่ ง ในปั จจบุ นั หนุ่ ยนต์ ช่วยฝึ กเดินเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์น�ำเข้าทีม่ ีราคาแพงประมาณ 2–18 ล้านบาทต่อเครือ่ ง แต่โครงการขาย IWalk ในราคาเพียง 4.3 แสนบาทต่อเครือ่ งเทา่ นัน้ โดย IWalk มีจดุ เด่นทีก่ าร ฝึกเดนิ เป็นการเดนิ ขนึ้ บนั ได ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยฟื้นฟไู ดด้ ขี นึ้ นอกจากนนั้ ยงั ใชร้ ะบบสปรงิ ตดิ กบั แผ่นรองทีเ่ ท้า เพือ่ ให้นักกายภาพบ�ำบัดเห็นว่าผู้ป่ วยได้ออกแรงในการเดินระหว่างการบ�ำบัด ซงึ่ โครงการ IWalk ไดร้ ับรางวัลโล่เกยี รตยิ ศ พร้อมประกาศนยี บตั ร ภายในงานประชุมวชิ าการ เรื่องวิศวกรรมการฟื้ นฟูสมรรถภาพและเทคโนโลยีสิง่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับคนพิการ (i–CREATe 2015) ณ มหาวทิ ยาลยั นนั ยางเทคโนโลยี สาธารณรฐั สงิ คโปร์ โดยผลจากการเผยแพร่ เทคโนโลยไี ด้กอ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์สำ� คญั คือ ผขู้ ายผลติ ภณั ฑม์ กี ำ� ไรจากการขายเครอื่ ง IWalk และ ผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองทใี่ ชเ้ ครือ่ ง IWalk มคี ณุ ภาพชีวิตเพิม่ ขนึ้ โดยมีสมรรถนะเทียบเท่ากบั การใช้นักกายภาพบำ� บดั แตส่ ามารถทำ� งานได้นานกว่า การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลประโยชนข์ องชดุ โครงการวจิ ยั ไดก้ ำ� หนดใหใ้ ชอ้ ตั ราคดิ ลด ร้อยละ 3 ตอ่ ปี และอัตราเงนิ เฟ้ อรอ้ ยละ 2 ต่อปี มีปี ฐานในการคำ� นวณคือ พ.ศ. 2558 และมี ระยะเวลาประเมินผลประโยชน์ 10 ปี ผลการวิเคราะหค์ วามคุ้มคา่ ทางเศรษฐกจิ ของโครงการฯ พบว่า ชุดโครงการนวัตกรรมช่วยฝึกเดินส�ำหรับผู้ป่วยอัมพาตครึง่ ซีก (IWalk) มีมูลค่าปั จจุบัน สุทธเิ ทา่ กบั 567 ลา้ นบาท และมอี ัตราส่วนผลประโยชนต์ อ่ ทนุ 4.16 หมายถงึ การลงทนุ วิจยั 1 บาท สามารถสรา้ งผลประโยชนถ์ งึ 4.16 บาท โดยแบง่ เป็นกำ� ไรของบรษิ ทั 96 ลา้ นบาท และเป็น คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ 472 ลา้ นบาท สว่ นการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว พบวา่ โดยตวั แปรสง่ ผลกระทบ ตอ่ ผลประโยชนข์ องโครงการมากทสี่ ดุ คอื คา่ บรกิ าร IWalk ทที่ ำ� ใหโ้ ครงการมมี ลู คา่ ปั จจบุ นั สทุ ธิ เปลีย่ นแปลงมากทีส่ ุดเท่ากับ 380 ล้านบาท และมีอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อทุนเท่ากับ 2.39 อยา่ งไรกต็ าม หากพจิ ารณาความคมุ้ ทนุ ของการใชน้ วตั กรรมชว่ ยฝึกเดนิ IWalk พบวา่ ถา้ โรงพยาบาล ตอ้ งการคนื ทนุ จากการซอื้ โตะ๊ หนุ่ ยนตใ์ นระยะเวลา 5 ปี จะตอ้ งเกบ็ คา่ บรกิ ารไมน่ อ้ ยกวา่ 60 บาท ตอ่ ชวั่ โมง ซึง่ เป็นค่าบรกิ ารทีย่ งั ไมร่ วมตน้ ทนุ คา่ บุคลากรและคา่ สถานที่ 66

รายงานการศึกษาโครงการวจิ ยั เพ่อื ประเมินความคมุ้ คา่ ของโครงการวิจยั และพัฒนา ภายใตส้ ำานกั บริหารโครงการสง่ เสริมการวจิ ัยในอดุ มศึกษาและพัฒนามหาวทิ ยาลยั วจิ ยั แหง่ ชาติ ชดุ โครงการนวตั กรรมชว่ ยฝึกเดนิ สา� หรบั ผปู้ ่วยอมั พาตครงึ่ ซกี (IWalk) เป็นโครงการทที่ า� ใหผู ปู้ ่วย สามารถเขาู ถงึ เทคโนโลยกี ารรกั ษาโรคไดมู ากขนึ้ เนอื่ งจากมตี นู ทนุ ในการรกั ษาทถี่ ก้ กวา่ เครอื่ งที่ นา� เขาู มาจากตา่ งประเทศ และยงั เป็นงานวจิ ยั ทีไ่ ดูรบั ทุนวจิ ัยถงึ 3 ครัง้ ในระยะเวลาเพียง 5 ปี ซึง่ แสดงใหูเห็นว่าผู้ใหูทุนเห็นถึงศักยภาพของคณะนักวิจัยและความส�าคัญของการท�างานวิจัย อยา่ งต่อเนือ่ ง จนสามารถประสบความส�าเรจ็ และออกขายเชิงพาณิชย์ไดู รปู ท่ี 3.16 นวตั กรรมช่วยฝƒกเดินสำาหรับผปู้ †วยอัมพาตคร�่งซกี ” (IWalk) ที่ม�: ‘IWalk’ นวตั กรรมฟ�œนฟผู ปู้ ว† ยอมั พ�ตคร�ง่ ซีก https:// www.pptvthailand.com/news/ประเดน็ รอ้ น/24240 67

รายงานการศึกษาโครงการวิจยั เพอ่ื ประเมินความคมุ้ ค่าของโครงการวิจัยและพัฒนา ภายใต้สำ�นักบริหารโครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยในอุดมศึกษาและพฒั นามหาวทิ ยาลยั วิจยั แหง่ ชาติ 68



HERP-NRU ส นั บ ส นุ น โ ด ย จั ด ท ำ โ ด ย สำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา มลู นิธิสถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ (PPSI) 328 ถนนศรีอยธุ ยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 145/5 หมู่ 1 ตำบลชา้ งเผอื ก อำเภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50300 เบอรโ์ ทรอัตโนมัติ 0 2610 5200 โทรศัพท์ 0 5332 7590–1 โทรสาร 0 2354 5524-6 โทรสาร 0 5332 7590–1 # 16 เว็บไซต์ www.mua.go.th เว็บไซต์ www.ppsi.or.th