หนว่ ยท่ี 1การสื่อสารข้อมูลและเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เบื้องตน้ เสนอ ครู เพยี รวทิ ย์ ขาทวี จัดทาโดย น.ส.ศิริลักษณ์ มนั ทจติ ร ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (ม.6) เลขที่ 24
ความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั เครือข่าย การประดษิ ฐค์ อมพิวเตอรใ์ นสมัยแรกมีจุดประสงค์ เพอื่ จะให้คอมพวิ เตอร์ทางานบางอย่างแทนมนษุ ย์ เชน่ การคานวณเลข เพราะคอมพวิ เตอร์สามารถคานวณได้เรว็ กว่า อกี ท้งั ยังมีความแมน่ ยาและมคี วามผดิ พลาดนอ้ ยกว่ามนุษย์ การทางานน้นั ถา้ จะใหม้ ปี ระสิทธภิ าพสูงจะตอ้ งทาเปน็ หมู่คณะ หรือทีมเวริ ์ค (Teamwork) คอมพิวเตอรก์ ็เชน่ กนั หากทาการเชื่อมตอ่กนั เป็นเครือขา่ ย กย็ อ่ มมปี ระสิทธภิ าพมากกว่าการทางานแบบเดยี่ ว ๆ การทางานเปน็ กลุ่มของคอมพวิ เตอร์นจ้ี ะเรียกวา่“เครอื ขา่ ย” (Network)
ความหมายของเครอื ข่ายและการสื่อสารการสอ่ื สาร(communication) หมายถงึ กระบวนการถา่ ยทอดหรอื แลกเปลย่ี นสารหรอื สอื่ ระหวา่ งผู้สง่ กับผรู้ บั โดยส่งผ่านช่องทางนาสารหรอื ส่ือเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจซง่ึ กันและกนัการส่ือสารขอ้ มลู (datacommunication) หมายถงึกระบวนการหรือวิธีถา่ ยทอดข้อมูลระหว่างผ้ใู ชก้ ับคอมพวิ เตอร์ที่มักจะอย่หู า่ งไกลกัน และจาเปน็ ตอ้ งอาศัยระบบการสือ่ สารโทรคมนาคม (telecommunication) เปน็ สื่อกลางในการรับสง่ ขอ้ มลูเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) หมายถงึ การเชอ่ื มโยงระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอรต์ ง้ั แต่ 2 เครือ่ งขึน้ ไปเพ่อื ใหส้ ามารถส่ือสารและแลกเปลยี่ นข้อมลู รวมท้ังสามารถใช้อปุ กรณ์คอมพิวเตอรภ์ ายในเครอื ขา่ ยร่วมกนั ได้ เชน่ ฮาร์ดดสิ ก์เครือ่ งพิมพ์ เปน็ ตน้
สว่ นประกอบของระบบส่ือสารข้อมูล 1. ผูส้ ง่ (Sender) เป็นอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการส่งขา่ วสาร (Message) เปน็ ตน้ ทางของการสอ่ื สารข้อมลู มีหน้าทเี่ ตรียมสร้างขอ้ มลู เชน่ ผ้พู ดู โทรทัศน์ กลอ้ งวดิ โี อ เปน็ ตน้ 2. ผรู้ บั (Receiver) เปน็ ปลายทางการส่อื สาร มีหนา้ ทีร่ บั ข้อมูลทส่ี ง่ มาให้ เช่น ผู้ฟังเครือ่ งรบั โทรทศั น์ เครอ่ื งพมิ พ์ เป็นต้น 3. สือ่ กลาง (Medium) หรือตวั กลาง เปน็ เส้นทางการสื่อสารเพ่อื นาข้อมูลจากต้นทางไปยงั ปลายทาง สื่อสง่ ข้อมูลอาจเป็นสายคบู่ ดิ เกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสงหรือคลืน่ ทีส่ ง่ ผ่านทาง 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสญั ญาณอิเลก็ ทรอนกิ สท์ ี่ส่งผา่ นไปในระบบสือ่ สาร ซง่ึอาจถกู เรยี กว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รปู แบบ ดังน้ี 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอกั ขระต่าง ๆ ซึง่ จะแทนดว้ ยรหัสตา่ ง ๆ เชน่ รหัสแอสกี เป็นต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใชแ้ ทนตัวเลขต่าง ๆ ซึง่ ตัวเลขไม่ไดถ้ ูกแทนด้วยรหัสแอสกีแตจ่ ะถกู แปลงเปน็ เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ขอ้ มลู ของรปู ภาพจะแทนด้วยจุดสเี รียงกันไปตามขนาดของรปู ภาพ 4.4 เสียง (Audio) ขอ้ มูลเสียงจะแตกตา่ งจากขอ้ ความ ตัวเลข และรปู ภาพเพราะขอ้ มลู เสียงจะเปน็ สญั ญาณตอ่ เน่ืองกนั ไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลอื่ นไหว ซ่ึงเกดิ จากการรวมกนั ของรูปภาพหลายๆ รปู 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรอื กฎระเบียบทใ่ี ช้ในการส่ือสารข้อมูลเพ่ือให้ผู้รบั และผู้สง่ สามารถเขา้ ใจกนั หรอื คยุ กนั ร้เู รื่อง โดยท้งั สองฝัง่ ท้ังผรู้ บั และผูส้ ง่ ไดต้ กลงกนั ไว้กอ่ นลว่ งหน้าแล้ว
การใชเ้ ทคโนโลยีการสื่อสารข้อมลู ในปจั จุบนั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการส่อื สาร ทาให้เราหันมาให้ความสาคัญต่อการติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเช่ือมโยงข้อมูลถึงกันได้ท่ัวโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อส่ือสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆเป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการติดต่อสื่อสารส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ซ่ึงเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันท่ีต้องการการแข่งขันท่ีค่อนข้างสูง จากจุดเริ่มแรกทาให้มีการใช้บริการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมเพ่ิมมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพ่ือการพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการส่ือสารแบบอนาล็อกเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทัล ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงข้ึน และส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลซึ่งสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อมๆ กัน อีกท้ังการใช้ดาวเทียมสื่อสารทาให้สามารถส่งข้อมูลภาพและเสียงข้ามซีกโลกได้อย่างรวดเร็ว รวมท้ังการใช้เซลลูลาห์หรือเครือข่ายไร้สายอนื่ ๆ
ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์1. ความสะดวกในการจดั เก็บขอ้ มลู การจดั เก็บขอ้ มลู ซึง่ อยใู่ นรูปของสญั ญาณอเิ ล็กทรอนกิ สส์ ามารถจดั เกบ็ ไว้ในแผน่ บันทกึ ทม่ี ีความหนาแน่นสงู ได้2. ความถกู ต้องของขอ้ มลู โดยปกติมีการส่งขอ้ มลู ด้วยสญั ญาณอเิ ล็กทรอนกิ ส์จากจุดหน่ึงไปยังอีกจดุ หน่งึ ดว้ ยระบบดจิ ทิ ลั3. ความเรว็ ของการทางาน สัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเรว็ เท่าความเรว็ แสงทาให้การใช้คอมพวิ เตอรส์ ่งขอ้ มลู จากซกี โลกหนึ่งไปยงั อีกซกี โลกหน่งึ4. ประหยดั ตน้ ทนุ ในการสือ่ สารขอ้ มลู การเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอรก์ ันเปน็ เครอื ขา่ ยเพอ่ื สง่ หรอื สาเนาขอ้ มลู ไมส่ ูงนกั เมอื่ เทยี บกบั การจัดส่งแบบวิธีอนื่5. สามารถเกบ็ ข้อมูลเปน็ ศนู ยก์ ลาง สามารถมีขอ้ มูลเพยี งชุดเดยี วในระบบเครอื ขา่ ยซึ่งถอื เป็นข้อมลู สว่ นกลาง โดยในแตล่ ะแผนกในบริษัทสามารถดงึ ไปใชไ้ ด้จากท่เี ดียวกนั6. การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ในระบบเครือขา่ ยน้นั จะทาให้สามารถใชอ้ ุปกรณ์คอมพิวเตอรร์ ว่ มกนั ได้ โดยทอ่ี ปุ กรณต์ ัวน้ัน อาจต่ออยู่กบั เครอื่ งใดเครอ่ื งหนง่ึ ในเครอื ขา่ ย7. การทางานแบบกลุ่ม สามารถใชร้ ะบบเครอื ขา่ ยในการทางานในแผนกหรือกลุ่มงานเดียวกันได้เป็นอยา่ งดี
การสื่อสารโทรคมนาคม การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถงึ การตดิ ตอ่ สื่อสารดว้ ยการรบั ส่งขอ้ มลู ขา่ วสารระหวา่ งตัวประมวลผล โดยผา่ นสอื่ กลางทเ่ี ชื่อมตน้ ทางและปลายทางทีห่ ่างกัน โดยใช้อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์หลายรปู แบบ ตามกฎเกณฑ์หรอื ระเบียบวธิ กี ารท่ีกาหนดขน้ึ ในแต่ละอุปกรณ์ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเชอ่ื มต่อเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ตง้ั แตส่ องเครื่องขึ้นไป เพื่อขยายขีดความสามารถทม่ี จี ากัด ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนขอ้ มูล หรอื แบ่งปันทรพั ยากรใหม้ กี ารใช้งานรว่ มกัน โปรโตคอล (Protocol) หมายถงึ ระเบยี บวิธีการ มาตรฐาน หรอื กฎเกณฑ์ในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ระหวา่ งกนั ของเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์คอมพิวเตอรต์ า่ ง ๆ หรือ วธิ ีทถ่ี ูกกาหนดข้นึ เพอื่ การสอื่ สารขอ้ มลู ซึง่ ผู้ส่งขอ้ มลู จะตอ้ งส่งข้อมูลในรปู แบบตามวิธกี ารสอ่ื สารท่ตี กลงไวก้ บั ผ้รู ับขอ้ มลู จึงจะสามารถสอื่ สารขอ้ มลู กันได้ อินเทอรเ์ น็ต (Internet) หมายถงึ การเช่อื มโยงเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เข้าดว้ ยกัน ตามโครงการของอารป์ า้ เน็ต (ARPAnet = Advanced ResearchProjects Agency Network) เปน็ หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ(U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อต้ังเมอ่ื ประมาณ ปคี .ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพฒั นาเรอ่ื ยมา
ความน่าเชอ่ื และมาตรฐานเครอื ขา่ ยความนา่ เชอื่ ถือของระบบเครอื ข่าย สามารถประเมินไดจ้ ากความถ่ีของความลม้ เหลวเครอื ขา่ ยทกุ ระบบมโี อกาสลม่ ไดเ้ สมอ อยา่ งไรก็ตามเครอื ข่ายทีไ่ ด้รับการออกแบบท่ดี ี หากเครอื ขา่ ยเกิดขอ้ ขัดขอ้ งหรอื ลม้ เหลวดว้ ยประการใดกต็ าม ควรส่งผลกระทบตอ่ ผใู้ ช้งานใหน้ ้อยทสี่ ดุ เท่าทเ่ี ป็นไปไดแ้ ละหากเครือขา่ ยมคี วามถ่ใี นการล้มเหลวอยบู่ อ่ ยคร้ัง นน่ั หมายถึงเครือขา่ ยนนั่ มคี วามน่าเชือ่ ถอื ตา่ระยะเวลาในการก้คู นืระยะเวลาในการกู้คืนระบบ กรณเี ครอื ข่ายลม่ หรอื เกิดขอ้ ขัดขอ้ งใด ๆ หากการกู้คืนระบบสามารถแก้ไขได้ด้วยระยะเวลาอนั สั้น ยอ่ มดกี ว่าการกู้คนื ระบบทีต่ อ้ งใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการกู้คืนหมายถึงการกู้ระบบให้กลบั คนื สภาพเดิมท่ีสามารถใชง้ านได้ รวมถึงการกู้คืนขอ้ มลู กรณที ขี่ ้อมูลเกดิ ความสูญเสียความคงทนตอ่ ขอ้ ผดิ พลาดเครอื ขา่ ยทีด่ ีจะตอ้ งมรี ะบบปอ้ งกนั ภยั ต่าง ๆ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากเหตกุ ารณ์ใด ๆ ทไ่ี ม่คาดคิดได้เสมอไม่วา่ จะเปน็ ระบบไฟฟ้า รวมถงึ ภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถคาดการณล์ ว่ งหน้าได้ ดังน้นั ระบบเครอื ขา่ ยทด่ี จี งึ ต้องได้รับการออกแบบใหม้ ีระบบสารองข้อมลู ทน่ี า่ เชอื่ ถอื รวมถึงอปุ กรณส์ าคญั ของระบบ หากทางานขัดขอ้ ง อุปกรณ์ตวั แทนสารถทางานแทนได้ทนั ที เปน็ ต้น
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: