Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit4

unit4

Published by nongkik13112540, 2018-08-27 04:18:59

Description: หน่วยที่ 4 ประเภทของระบบเครือข่าย
วิชา การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 4ประเภทของระบบเครือขา่ ย เสนอ ครู เพยี รวิทย์ ขาทวี จดั ทาโดย น.ส.ศริ ิลกั ษณ์ มนั ทจติ ร ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (ม.6) เลขท่ี 24

ประเภทของระบบเครอื ข่าย1.แบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ คอืPAN ยอ่ มาจาก Personal Area Network : เครือขา่ ยส่วนบคุ คลเปน็ เครือขา่ ยทีใ่ ชส้ ่วนบคุ คล เช่น การเช่อื มตอ่ คอมพิวเตอรก์ ับโทรศพั ทม์ ือถอื การเชอื่ มตอ่ พีดีเอกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ซึง่ การเชอื่ มตอ่ แบบน้จี ะอยใู่ นระยะใกล้ และมีการเชือ่ มต่อแบบไรส้ ายLAN ยอ่ มาจาก Local Area Network : เครอื ขา่ ยเฉพาะที่ เปน็ เครอื ขา่ ยทใ่ี ช้ในการเชือ่ มโยงคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่าง ๆ ทอี่ ยใู่ นพน้ื ที่ เดียวกนั หรือใกลเ้ คยี งกนั เชน่ ภายในบา้ น ภายในสานักงาน เป็นต้น

MAN ยอ่ มาจาก Metropolitan Area Network : เครอื ขา่ ยนครหลวงเป็นเครือขา่ ยที่ใชเ้ ชื่อมโยงแลนทอ่ี ยูห่ า่ งไกลออกไป เช่น การเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยระหว่างสานกั งานทอี่ าจอยู่คนละอาคารและมีระยะทางไกลกันWAN ยอ่ มาจาก Wide Area Network : เครอื ข่ายวงกวา้ งเปน็ การเช่อื มต่อเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ระยะไกล ซ่งึ มีอยูท่ วั่ โลกเขา้ ดว้ ยกัน โดยอุปกรณ์แปลงสญั ญาณ เชน่ โมเด็ม ชว่ ยในการตดิ ต่อสื่อสารหรอื สามารถนาเครือขา่ ยทอ้ งถ่นิ มาเช่ือมต่อกนั เปน็ เครอื ขา่ ยระยะไกล เช่น เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็เครือขา่ ยระบบธนาคารท่วั โลก หรอื เครอื ขา่ ยของสายการบนิ เปน็ ตน้

2. แบ่งตามหน้าที่ของคอมพวิ เตอร์Peer-to-Peer Network หรอื เครือขา่ ยแบบเทา่ เทยี มเป็นการเชือ่ มต่อเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกัน โดยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ แต่ละเครอ่ื ง จะสามารถแบง่ ทรพั ยากรตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ไฟลห์ รือเครอ่ื งพมิ พซ์ ึ่งกนั และกนั ภายในเครอื ข่ายได้ เคร่ืองแตล่ ะเครอ่ื งจะทางานในลักษณะทที่ ัดเทยี มกัน ไม่มีเคร่ืองใดเคร่ืองเครอ่ื งหน่งึ เป็นเครอื่ งหลักเหมือนแบบ Client / Server แตก่ ็ยงั คงคณุ สมบัติพน้ื ฐานของระบบเครอื ขา่ ยไว้เหมือนเดิม การเชื่อมตอ่ แบบนี้มักทาในระบบทมี่ ีขนาดเลก็ ๆ เชน่ หนว่ ยงานขนาดเลก็ ทม่ี เี ครอ่ื งใช้ไมเ่ กนิ 10 เครอื่ ง การเชอ่ื มตอ่ แบบนม้ี จี ดุ ออ่ นในเรือ่ งของระบบรกั ษาความปลอดภยั แตถ่ ้าเป็นเครอื ข่ายขนาดเล็ก และเป็นงานที่ไม่มีขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ความลับมากนกั เครอื ขา่ ยแบบนี้ กเ็ ป็นรปู แบบทน่ี า่ เลือกนามาใช้ไดเ้ ปน็ อย่างดี

Client-Server Network หรอื เครือขา่ ยแบบผู้ใชบ้ รกิ ารและผใู้ หบ้ ริการ เป็นระบบทีม่ เี ครื่องคอมพิวเตอรท์ กุ เครื่องมีฐานะการทางานทเี่ หมือน ๆกัน เท่าเทยี มกันภายในระบบ เครอื ขา่ ย แต่จะมีเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เคร่อื งหนึ่ง ท่ีทาหน้าทีเ่ ป็นเครอ่ื ง Server ที่ทาหนา้ ที่ใหบ้ ริการทรพั ยากรต่าง ๆ ใหก้ บั เครือ่ งClient หรอื เครื่องท่ขี อใชบ้ รกิ าร ซงึ่ อาจจะต้องเปน็ เครอ่ื งทมี่ ีประสทิ ธิภาพที่คอ่ นข้างสูง ถึงจะทาใหก้ ารใหบ้ ริการมปี ระสทิ ธภิ าพตามไปด้วย ข้อดขี องระบบเครือขา่ ย Client - Server เปน็ ระบบทมี่ ีการรกั ษาความปลอดภัยสงู กวา่ ระบบแบบ Peer To Peer เพราะว่าการจดั การในดา้ นรกั ษาความปลอดภยั นน้ั จะทากันบนเครอ่ื ง Server เพยี งเคร่ืองเดยี ว ทาให้ดแู ลรกั ษางา่ ย และสะดวก มกี ารกาหนดสทิ ธิการเขา้ ใชท้ รพั ยากรต่าง ๆใหก้ บั เครือ่ งผูข้ อใช้บรกิ าร หรือเครอ่ื งClient

3. แบง่ ตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มลู เป็นเกณฑ์Intranet อินทราเนต็ หรือเครือข่ายสว่ นบุคคล อนิ ทราเน็ตเป็นเครอื ขา่ ยสว่ นบคุ คลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ เชน่ เวบ็ ,อเี มล, FT เปน็ ตน้ อินทราเนต็ ใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรบั สง่ ขอ้ มลูเช่นเดียวกับอินเทอรเ์ นต็ ซึ่งโปรโตคอลนสี้ ามารถใชไ้ ดก้ บั ฮาร์ดแวรห์ ลายประเภทและสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ดแวรท์ ่ีใชส้ ร้างเครอื ข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แตเ่ ปน็ ซอฟต์แวรท์ ท่ี าให้อนิ ทราเน็ตทางานได้ อินทราเนต็ เป็นเครอื ขา่ ยทีอ่ งคก์ รสรา้ งขึ้นสาหรับใหพ้ นักงานขององคก์ รใช้เทา่ นั้น การแชรข์ อ้ มลูจะอยู่เฉพาะในอินทราเนต็ เท่าน้ัน หรอื ถา้ มีการแลกเปลย่ี นขอ้ มูลกบั โลกภายนอกหรอื อนิ เทอรเ์ น็ต องค์กรน้นั สามารถที่จะกาหนดนโยบายได้ ในขณะทก่ี ารแชร์ขอ้ มูลอนิ เทอรเ์ น็ตนั้นยงั ไม่มีองค์กรใดทสี่ ามารถควบคุมการแลกเปลยี่ นข้อมูลได้เม่อื เชือ่ มตอ่ เขา้ กบั อินเทอรเ์ นต็ พนกั งานบริษทั ของบรษิ ัทสามารถตดิ ต่อสื่อสารกับโลกภายนอกเพอื่ การคน้ หาข้อมลู หรือทาธรุ กจิ ตา่ ง ๆ การใชโ้ ปรโตคอล TCP/IPทาใหผ้ ใู้ ช้สามารถเขา้ ใชเ้ ครอื ขา่ ยจากที่หา่ งไกลได้ (Remote Access) เชน่ จากท่ีบา้ น หรือในเวลาทีต่ อ้ งเดินทางเพอ่ื ติดตอ่ ธรุ กจิ การเชือ่ มต่อเขา้ กับอินทราเนต็โดยการใชโ้ มเดม็ และสายโทรศพั ท์ กเ็ หมอื นกบั การเชือ่ มต่อเขา้ กับอินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกันท่เี ปน็ การเชอื่ มต่อเขา้ กับเครือขา่ ยสว่ นบุคคลแทนท่จี ะเปน็ เครือขา่ ยสาธารณะอย่างเช่นอนิ เทอรเ์ น็ต การเช่อื มตอ่ กนั ไดร้ ะหว่างอินทราเน็ตกบัอินเทอร์เน็ตถอื เป็นประโยชน์ที่สาคญั อย่างหน่ึง

Internet อินเทอรเ์ นต็ (Internet) เครอื ขา่ ยสาธารณะ อนิ เทอร์เนต็ เปน็ เครอื ขา่ ยท่ีครอบคลุมทวั่ โลก ซง่ึ มคี อมพวิ เตอร์เปน็ ลา้ นๆเครื่องเชอื่ มต่อเขา้ กบั ระบบและยงั ขยายตัวข้ึนเรอ่ื ย ๆ ทกุ ปี อนิ เทอรเ์ นต็ มผี ู้ใช้ทว่ั โลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใชเ้ หล่าน้ีสามารถแลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสารกนั ได้อยา่ งอสิ ระ โดยทรี่ ะยะทางและเวลาไม่เป็นอปุ สรรค นอกจากนีผ้ ใู้ ช้ยังสามารถเขา้ ดขู อ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ถี กู ตพี มิ พ์ในอนิ เทอรเ์ น็ตได้ อินเทอร์เนต็ เช่อื มแหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกันไม่ว่าจะเปน็ องคก์ รธุรกิจ มหาวิทยาลยั หน่วยงานของรฐั บาล หรอื แม้กระทั่งแหล่งข้อมูลบคุ คล องค์กรธรุ กจิ หลายองค์กรได้ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ชว่ ยในการทาการคา้ เชน่ การตดิ ตอ่ ซอ้ื ขายผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ หรืออีคอมเมริ ช์ (E-Commerce) ซ่ึงเปน็ อีกชอ่ งทางหนง่ึ สาหรับการทาธุรกจิ ที่กาลงั เปน็ทน่ี ิยม เนอื่ งจากมีตน้ ทุนท่ีถกู กว่าและมฐี านลูกคา้ ทใ่ี หญม่ าก สว่ นข้อเสยี ของอนิ เทอร์เนต็ คอื ความปลอดภยั ของขอ้ มลู เน่อื งจากทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลูทุกอย่างที่แลกเปลย่ี นผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตได้เอก็ ส์ทราเนต็ (Extranet) หรอื เครอื ข่ายรว่ ม เป็นเครือขา่ ยก่งึ อินเทอร์เนต็ กงึ่ อนิ ทราเนต็ กลา่ วคือ เอ็กสท์ ราเนต็ คือเครอื ขา่ ยทเี่ ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งอินทราเนต็ ของสององค์กร ดังนั้นจะมบี างสว่ นของเครือขา่ ยที่เปน็ เจา้ ของรว่ มกนั ระหวา่ งสององค์กรหรอื บรษิ ทั การสรา้ งอนิ ทราเน็ตจะไม่จากดั ดว้ ยเทคโนโลยี แตจ่ ะยากตรงนโยบายท่เี ก่ยี วกับการรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู ทที่ งั้ สององค์กรจะตอ้ งตกลงกนั เชน่ องคก์ รหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผใู้ ช้ของอกี องคก์ รหนงึ่ ลอ็ กอนิ เข้าระบบอนิ ทราเนต็ ของตวั เองหรอื ไม่เปน็ ตน้ การสรา้ งเอก็ สท์ ราเนต็ จะเนน้ ทรี่ ะบบการรกั ษาความปลอดภยั ข้อมลูรวมถึงการตดิ ตงั้ ไฟรว์ อลล์หรอื ระหวา่ งอินทราเน็ตและการเขา้ รหสั ขอ้ มลู และส่งิ ท่ีสาคญั ทส่ี ดุ กค็ อื นโยบายการรกั ษาความปลอดภัยขอ้ มลู และการบงั คบั ใช้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook