ก คำนำ รายงานผลการดาเนินงานโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ฉบับน้ี เป็นการรายงานผลการดาเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจาปี 2565 บรรณารักษไ์ ดร้ บั มอบหมายใหร้ วบรวมขอ้ มูล ความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วม กิจกรรมและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม ท้ังนี้เพ่ือเป็นข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการวางแผน พัฒนาการดาเนนิ งานตอ่ ไป บรรณารักษ์ ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะบุคลากรท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ตลอดจนผู้ตอบแบบ ประเมินทุกท่าน ท่ีให้การสนับสนุนในการดาเนินกิจกรรมสาเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประเมินผลการดาเนินโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ฉบับน้ี จะสามารถเป็นข้อมูลในการพัฒนาสานักงาน กศน.จังหวัด เพชรบรู ณ์ อย่างเตม็ รูปแบบต่อไป หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบงึ สามพัน คณะผู้จัดทา
สำรบญั ข บทที่ 1 บทนำ หน้ำ ความเปน็ มาและความสาคัญ วตั ถปุ ระสงค์ 1 เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการสรุป 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 3 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง ความหมายห้องสมุดประชาชน 4 ความหมายการศึกษาตลอดชวี ิต 4 ความหมายการศกึ ษาตามอัธยาศัย 5 การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 5 Digital literacy คืออะไร 6 ยุทธศาสตรช์ าติ 6 บทที่ 3 วธิ กี ำรดำเนินงำน 8 ขน้ั ตอนการร่วมกนั วางแผน (Plan) 9 ขนั้ ตอนการรว่ มกนั ปฏบิ ัติ ( Do) 9 ข้นั ตอนการร่วมกันประเมิน ( Check ) 9 ขั้นตอนการร่วมปรบั ปรุง ( Act) 10 บทที่ 4 ผลกำรดำเนินกำรและวเิ ครำะห์ข้อมลู ผลการดาเนนิ งานโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ 14 Co-Learning Space 14 14 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ 15 วัตถุประสงค์ 15 เปา้ หมาย 15 เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลการดาเนนิ การ ปัญหา/ข้อเสนอแนะ
ค บรรณำนุกรม ภำคผนวก โครงการ คาสั่ง แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ สรุปแบบสอบถามความคดิ เห็น ตอ่ การจดั กิจกรรม รายชือ่ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ภาพกจิ กรรม แบบแสดงความคิดเหน็ ของฝา่ ยบรหิ าร
1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ วิถีชีวิต การเรียนรู้ การทางานของคนในยุคปัจจุบันที่เปล่ียนไป รูปแบบการทางาน มักจะไปนั่ง ทางาน อ่านหนังสือ ประชุม หรือทางานกลุ่มตามสถานที่สาธารณะ มากข้ึนไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ หอ้ งสมุด หรอื ตาม Co - working Space ตา่ ง ๆ ดว้ ยเหตผุ ลหลากหลายไม่วา่ จะเป็นตอ้ งการพ้ืนท่ใี นการ สร้างแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ท่ีเอื้อต่อการเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ในการทางาน หรือบางครั้งจะรู้สึกว่ามีสมาธิ มากกว่าที่บ้าน ท่ีโรงเรียน หรือท่ีทางาน แต่พื้นที่ลักษณะเช่นน้ีท่ีมีให้บริการอยู่ในปัจจุบันยังเป็นข้อจากัด ในการเข้าถงึ ของหลาย ๆ คน ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องของระยะเวลา การเปิด – ปดิ บริการ ค่าใชจ้ ่าย หรือถา้ เปิด ให้ใช้บริการฟรีสง่ิ อานวยความสะดวกต่าง ๆ หรือบรรยากาศ อาจยังไม่ตอบโจทยส์ าหรบั การทางาน หรือ การอ่านหนังสืออย่างมีสมาธิ รวมไปถึงความปลอดภัยต่าง ๆ ในการเดินทางไปใช้บริการตามสถานท่ี เหล่าน้ัน ประกอบกับสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปทาให้รูปแบบการเรียนรู้ของผู้รับบริการห้องสมุด เปลี่ยนไปด้วยคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการค้นคว้าหาความรู้มากขึ้น ด้วยเหตุน้ี ห้องสมุดประชาชนจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ การเรียนรู้ต้องพัฒนาให้มีรูปแบบที่ หลากหลายเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัยยิ่งข้ึน จากแนวคิดดังกล่าวสู่การพัฒนา ห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co - Learning Space ซึ่งสานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหนง่ึ ซึ่งมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหล่งเรียนรู้ให้บริการ หลากหลายรูปแบบ หอ้ งสมุดประชาชนกเ็ ป็นหนึง่ ในแหล่งเรียนรทู้ ่ีให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอ่ืน ๆ ของ กศน. จึงถึงเวลาแล้วท่ีจะพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนร้สู าหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มีโอกาส เข้าถึงได้ง่ายสามารถตอบทุกโจทย์ปญั หาความต้องการของประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ น้ แบบ (Co - Learning Space) หรือพ้ืนท่ีแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน จึงเกิดขึ้นภายใต้แนวคิดท่ีว่า การให้ที่มากกว่า แค่เพียง “พื้นท่ี” แต่ยังเป็นสถานที่ในการสร้างแรงบันดาลใจ และแสดงถึงการแบ่งปัน ที่ไม่เพียงแค่ แบ่งปนั พื้นท่ีสาหรับทุกคน ได้ใชป้ ระโยชน์ร่วมกันแตท่ กุ คนทม่ี ายงั ได้ความรู้และแรงบันดาลใจดี ๆ กลบั ไป ด้วยเสมอ การนาแนวคิดในการปรับเปลยี่ นการใหบ้ รกิ ารหอ้ งสมุดประชาชนให้เปน็ แหลง่ เรยี นรใู้ นลักษณะ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ในการพั ฒ นา กศน. ตาบล ให้มี บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหน่ึงโดยการจัด ให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาห้องสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
2 และกาหนดใหศ้ ูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) มีพ้ืนทบี่ ริการการเรียนรู้รว่ มกนั ตามความ สนใจและความต้องการของผู้รบั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัยทุกช่วงวยั ดังนั้นห้องสมุดประชาชนอาเภอบึงสามพัน ได้ดาเนินการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้ Co - Learning Space เพ่ือสร้างนิสัยรักการอ่าน เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่ง การเรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูและการเรียนรู้ของนักเรียนในทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ซึ่งห้องสมุดเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกฝ่ายที่ เก่ียวข้องและประชาชนท่ัวไป มีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงห้องสมุด จัดบรรยากาศและดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ทอ่ี านวยความสะดวกต่อการใช้บริการของนกั เรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่ัวไป สง่ เสรมิ การเรียนรูใ้ นทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และเพ่อื ใหค้ รู นกั เรยี น นักศกึ ษาและประชาชนทั่วไป มีแหลง่ เรียนรู้ สาหรบั ศกึ ษาคน้ คว้า หาความรู้ด้วยตนเองมคี วามสุขและเกิดนิสัยรักการอา่ นมากขน้ึ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรียน การสอนและการศกึ ษาคน้ ควา้ 2. เพอ่ื สง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน ผา่ นกิจกรรมอย่างเปน็ รูปธรรม 3. เพือ่ ปรับปรุงบรรยากาศและภมู ทิ ัศน์ท้ังภายในและภายนอกห้องสมุดใหน้ ่าใช้บริการ เอื้อต่อ การอ่านและการเรยี นรู้ 1.3 เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ พฒั นาห้องสมดุ ประชาชน อาเภอบงึ สามพนั ให้เป็นศนู ย์การเรียนรู้ Co-Learning Space เชิงคณุ ภาพ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบงึ สามพัน ให้เปน็ แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน ท่มี รี ะบบการใหบ้ รกิ าร และสภาพแวดล้อมทมี่ ีชีวติ และมกี ารจัดกระบวนการเรยี นรู้ในห้องสมดุ โดยใหบ้ รกิ ารการศึกษาค้นแก่ นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนและผู้รบั บริการห้องสมุด ทาใหเ้ กิดสังคมแห่งการเรยี นรู้ และนกั ศึกษา กศน. ผู้รับบริการหอ้ งสมุด สามารถนาความรู้ทไี่ ด้ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ได้อย่างมีความสขุ สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
3 1.4 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในครั้งน้ี 1. แบบประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้บรกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” 1.5 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั ผู้เข้าร่วมโครงการฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนอาเภอบึงสามพันมีนิสัยรักการอ่าน มี โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีนิสัยรักการเรียนรู้ตลอดชีวิต ห้องสมุดประชาชนอาเภอ บึงสามพัน ได้พัฒนาระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมของห้องสมุดให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space และมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการในระดับมากข้นึ ไปร้อย ละ 80 สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชนให้เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง การดาเนินการสรปุ ผลการโครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co- Learning Space เจ้าหน้าท่ีได้ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งในประเดน็ ต่าง ๆ ดังน้ี - ความหมายห้องสมุดประชาชน - ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต - ความหมายการศกึ ษาตามอธั ยาศัย - การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน - Digital literacy คืออะไร - ยุทธศาสตรช์ าติ ความหมายห้องสมุดประชาชน หอ้ งสมดุ ประชาชน (Public Library) เป็นสถานทใ่ี ห้บริการสารสนเทศแกผ่ ู้ใช้บริการหลายระดับ หลายวัย เป็นแหล่งให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับการศกึ ษา เป็นแหล่งสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือ และวัสดุอื่น ๆ โดยไม่เสียค่าบริการใด ๆ เป็นแหล่งกลางท่ีจะปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและ การศึกษาค้นคว้า เป็นศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ต่าง ๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์และความเคล่ือนไหว ของโลก ท่ีให้พื้นฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็นพ้ืนฐานของ ความเติบโตทางด้าน วัฒนธรรม และสตปิ ญั ญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวฒั นธรรมของท้องถิ่น เปน็ แหล่งกลางในการ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนได้ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และให้รจู้ ักพกั ผ่อนหย่อนใจ ดว้ ยการอา่ นหนังสือ เปน็ แหล่งสง่ เสริมกจิ กรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกล่มุ ชนหรือองค์การในสังคม เพือ่ พฒั นาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสังคม เป็นแหล่งที่ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ เปน็ ประโยชน์ ได้อย่างเต็มที่ ตามความตอ้ งการและสภาพแวดล้อมของประชาชน ความหมายการศกึ ษาตลอดชีวติ อัมพรพงษ์ กังสนานันท์ (2550) ได้สรุปว่า การศึกษาตลอดชีวิตเป็นกระบวนการที่ส่งเสริมบุคคล ได้รับความรู้ ทักษะประสบการณ์และมคี วามจาเป็นท่ีจะต้องสง่ เสริมบุคคลได้รับการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อ เรียนรู้ให้เท่าทันและพัฒนาตนเองให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในสังคมโลกท้ังวิทยาศาสตร์ สรุปผลการโครงการ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
5 เทคโนโลยีเศรษฐกจิ สังคมการเมืองและชุมชนโดยบุคคลจะไดร้ ับการศึกษาตลอดชวี ิตจากกิจกรรมท่ีจัดข้ึน จากการผสมผสานและเช่ือมโยงกันระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึก ษาตาม อัธยาศยั ความหมายการศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) หมายถึง การศึกษาท่ีเป็นการจัดสภาพแวดล้อม สถานการณ์และปัจจัยให้เก้ือหนุนผู้เรียนเพื่อส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส สามารถเรียนได้ตลอดเวลาและเกิดขึ้นในทุกช่วงวัยตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชวี ตทิ งั้ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม (บุศรา นยิ มเวช, 2563, น33) การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน การอ่านถือเป็นเครื่องมือสาคัญในการเรียนรู้ ดังนั้นเม่ือสังคมเปล่ยี นแปลงไป การอ่านย่อมต้องมี วิวัฒนาการ และเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกันเทคโนโลยีต่าง ๆ มีอิทธิพล ทาให้สังคมแปรเปล่ียน และมี ข้อจากัดมากมายที่ส่งผลให้การอ่านของคนไทยลดลง การปรับเปลี่ยนเรื่องการอ่านและการเตรียมความ พรอ้ ม เพื่อรองรับเทคโนโลยใี นยคุ แห่งการเปลี่ยนแปลงจึงเป็นสิง่ สาคญั การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จะทาให้กลุ่มเป้าหมายได้รบั ประโยชน์ในทางตรง คือการพัฒนา ทักษะการอ่านจนเป็นนิสัยรักการอ่าน และประโยชน์ทางอ้อมท่ีมีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ และ ความสามารถในการช่วยจูงใจ เร้าความสนใจต่อหนังสือ และการอ่าน ฝึกทักษะ ทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน พัฒนาความคิดมีเจตคติท่ีดีต่อการอ่าน เพลิดเพลิน และผ่อนคลายความตึงเครียด อีกท้ังส่งเสริมให้ เกิดความสามัคคี เอ้ือเฟอ้ื ช่วยเหลือกัน กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านท่ดี ีตอ้ งมคี วามเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย แต่ละชว่ งวยั การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นให้มปี ระสิทธภิ าพควรมีการเตรียมพร้อม และคานึงถึงในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี 1. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องสมุด ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เพื่อให้ ผู้ใช้บริการได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เข้าสู่บรรยากาศของการอ่าน และได้ใกล้ชิดกับหนังสือมากยิ่งข้ึน เชน่ จัดนทิ รรศการหนงั สือในโอกาสตา่ ง ๆ จดั กิจกรรมเชิญชวนให้อา่ นหนังสืออย่างสม่าเสมอ ฯลฯ 2. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเตรียมพร้อมในด้านวิธีการจัดกิจกรรมส่ือและอุปกรณ์ เพอื่ ให้การจดั กิจกรรมดาเนินไปด้วยความเรียบรอ้ ยบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมท่ีกาหนด สรุปผลการโครงการ พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
6 3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ต้องเป็นกิจกรรมที่เร้าใจ และดึงดูดความสนใจมีความ หลากหลาย เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏิบัติอย่างมีความสุขควรเป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ปฏิบตั ิจรงิ และสามารถแสวงหาความร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง 4. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการอ่านของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพอื่ ใหก้ ารจัดกจิ กรรมตอบสนองกับความตอ้ งการ และความสนใจในคร้ังต่อไปได้อยา่ งเหมาะสม 5. จัดสภาพแวดล้อมในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม เพ่ือให้กิจกรรมน่าสนใจแปลกใหม่ และ สามารถนาไปปฏิบัตจิ รงิ ได้ Digital literacy คอื อะไร ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนา เครือ่ งมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยดี จิ ิทัลทีม่ อี ยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรม คอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทางาน ร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี ประสทิ ธภิ าพ ทักษะดงั กล่าวครอบคลมุ ความสามารถ 4 มิติ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสรา้ ง (create) เขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยดี ิจทิ ัล ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หลกั การตามนโยบาย ประจาปีงบประมาณ 2565 1. ปลดลอ็ ก ปรบั เปลี่ยน และเปิดกวา้ ง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมงุ่ ให้ครอบคลุมถึงการ จัดการศึกษาเพ่อื คณุ วุฒิ และการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ท่สี ามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 จุดเน้นประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ 3. การศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทา พัฒนา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์อาชีพ การเสริม ทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพิ่มทักษะใหม่ท่ีจาเป็น (Re-Skills) ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
7 ผู้อยู่ในระบบการศึกษา (การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบการศึกษา (3) วัย แรงงาน และ (4) ผู้สูงอายุ เพ่ือให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดจาก เทคโนโลยีดิจิทัลและอาชีพที่เกิดข้ึนใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพ่ิมบทบาทของ กศน.ในการ Re- Skills ดา้ นอาชีวศกึ ษากบั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งม่ันขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คานึงถึงหลักการบริหารจัดการ ทง้ั ในเรื่องหลักธรรมาภบิ าล หลักการกระจาย อานาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทางานและ การเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้น การพัฒนาคุณภาพ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนาไปสู่การสร้างโอกาสและ ลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสาหรับทุก กล่มุ เป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจ ใหก้ ับผรู้ ับริการ โดยไดก้ าหนดนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สรปุ ผลการโครงการ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
8 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการ รายงานผลการดาเนินงานโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space โดยได้นา PDCA วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คา ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏบิ ตั ิ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนินการให้เหมาะสม) ดงั น้ี 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1. ประชุมบุคลากรกศน.อาเภอบึงสามพัน เพ่ือสร้างความเข้าใจเกีย่ วกบั รูปแบบการจดั กิจกรรมวางแผน 2. บุคลากรรว่ มกนั กาหนดเป้าหมายงานการศกึ ษาตามอธั ยาศัยหอ้ งสมุดประชาชน อาเภอบึงสามพันและกศน.ตาบล 3. เสนอโครงการเพ่ืออนุมตั แิ ละแต่งตงั้ คณะทางาน 4. ประสานงานขอใช้สถานที่ในการจัดกจิ กรรม และประสานกล่มุ เป้าหมายเขา้ รว่ ม กจิ กรรม สรุปผลการโครงการ พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนให้เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
9 2. ขัน้ ดาเนินการ (Do) 1. ดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้ Co-Learning Space ตามช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 1-2 ปีงบประมาณ 2565 ช่วงวันท่ี 1 เดอื น ตลุ าคม 2564 – 31 มีนาคม 2565 2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space (ห้องสมุดประชาชนอาเภอ) เป้าหมายไตรมาส 1 - 2 จานวน 250 คน 3. ขนั้ ตอนการประเมิน ( Check ) 1. ดาเนินการประเมินผลการดาเนินกิจกรรม โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้ Co-Learning Space โดยใชแ้ บบประเมินความพึงพอใจ 2. ข้อมูลท่ีเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ ท้ังใน รายขอ้ และภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดงั น้ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยูในระดบั มากท่สี ดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู นระดบั น้อย 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู นระดบั น้อยทส่ี ดุ ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินความพึงพอใจ ใช้วิธีวิเคราะห์เน้ือ เรอื่ ง (Content Analysis) สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 1) คา่ ร้อยละ 3. สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space รายงานผลการดาเนินงานต่อผู้บรหิ ารและบคุ ลากร กศน.อาเภอบงึ สามพนั 4. ขน้ั ตอนการปรบั ปรงุ (Act) นาผลประเมินความพึงพอใจที่ได้มาทาการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาแผน ในการปรับปรุงต่อไป เสนอแนะปัญหาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไขปัญหา และพัฒนาจุดทมี่ ีอยแู่ ลว้ ให้ดีย่งิ ข้ึนไป สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
10 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ การและวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space สามารถสรุปตามขน้ั ตอนในการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ขัน้ ตอนการรว่ มกันวางแผน (Plan) ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดาเนินการโดยมีข้ันตอน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่าง ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงาน บุคลากร กศน. อาเภอบึงสามพัน แล้วขยายผลสู่นักศึกษาภาคีเครือข่าย ได้รับ ความร่วมมือและสนับสนุนการทากิจกรรมเป็นอย่างดี และนาเสนอผู้บริหารเพ่ือพิจารณาเห็ นชอบ โครงการ/กิจกรรม ได้รับการอนุมัติจัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบจึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ และกาหนดแนวทางในการดาเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม กาหนดระยะเวลาในการ ดาเนินการ และวิธีประเมินผล ตามลาดบั ขน้ั ตอนการรว่ มกันปฏิบตั ิ ( Do) การปฏิบัตงิ านตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขนั้ ตอนในการดาเนินงาน คอื การบันทึกเสนอผ้บู ริหาร เพื่อขออนุญาตดาเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ดาเนินการ และผลการดาเนินงานโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565 ณ ห้องสมุดประชาชนอาเภอบึงสามพัน กศน.ตาบล อาเภอบึงสามพัน โดยมี กลุ่มเป้าหมายเป็น นักเรียน นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป จานวน 250 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 334 คน ข้ันตอนการรว่ มกันประเมิน ( Check ) การประเมินผลการดาเนินการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ ตามโครงการ พัฒนาห้องสมุด ประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space โดยใชแ้ บบสอบถามความคิดเหน็ พบว่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย ค่าร้อยละ จากแบบประเมินความพึงพอใจ โดยแปล ความหมายดังต่อไปนี้ 4.51 - 5.00 หมายความว่า ระดบั ความพึงพอใจ ในระดับ มากทีส่ ดุ 3.51 – 4.50 หมายความวา่ ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มาก 2.51 - 3.50 หมายความวา่ ระดับความพึงพอใจ ในระดบั ปานกลาง สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
11 1.51 - 2.50 หมายความวา่ ระดบั ความพงึ พอใจ ในระดบั พอใช้ 1.00 - 1.50 หมายความวา่ ระดับความพงึ พอใจ ในระดบั ปรับปรุง สรปุ ผลการโครงการ พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
12 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมนิ ได้ผลการประเมิน ดงั นี้ ( รายการประเมินอาจเปลย่ี นแปลงตามความเหมาะสม) ขอ้ ที่ รายการ N = 507 ระดับความ ลาดับ ������̅ (S.D) คิดเห็น มากที่สดุ 7 1 รูปแบบกจิ กรรมตอบสนองความตอ้ งการของผ้รู บั บรกิ าร 4.65 0.57 มากท่สี ุด 2 มากที่สดุ 4 2 กจิ กรรมการเรยี นรูท้ าให้เข้าใจงา่ ย 4.80 0.42 มากทส่ี ดุ 9 มากทส่ี ดุ 5 3 สอ่ื /วสั ดอุ ุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการทากิจกรรมมีความเหมาะสม 4.79 0.41 4 ระยะเวลาท่ีใช้ในการจดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.57 0.54 5 เน้ือหาของกจิ กรรม เหมาะกับระดบั ความรู้ ความสามารถของผรู้ บั บริการ 4.76 0.49 6 ผรู้ ับบริการไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจและทักษะตาม มากที่สดุ 6 เน้อื หาและกิจกรรมการเรียนรู้ 4.70 0.60 7 วธิ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกับเนือ้ หา 4.79 0.45 มากทส่ี ุด 3 มากทส่ี ุด 1 8 ผู้รับบรกิ ารมคี วามสนุกสนานในการทากจิ กรรม 4.86 0.38 มากที่สดุ 8 9 ผู้รับบรกิ ารนาความร้ทู ่ีไดจ้ ากการทากจิ กรรมไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ 4.57 0.70 เฉล่ีย 4.71 มากที่สดุ จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับความพอใจจากมากที่สุดไป น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุด ผู้รับบริการมีความสนุกสนานในการทา กิจกรรม ( X= 4.86 ,SD = 0.38 ) รองลงมาคือ กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้เข้าใจง่าย ( X= 4.80 ,SD = 0.42 ) รองลงมาคอื วิธีการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกบั เนอื้ หา ( X= 4.79 ,SD = 0.45 ) รองลงมา คือ ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทากิจกรรมมีความเหมาะสม ( X= 4.79 ,SD = 0.41 ) รองลงมาคือ เน้ือหาของกิจกรรม เหมาะกับระดับความรู้ความสามารถของผู้รับบริการ ( X=4.76 ,SD = 0.49 ) รองลงมาคือ ผู้รับบริการได้รับความรู้ ความเข้าใจและทักษะตามเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนรู้ ( X=4.70 ,SD = 0.60 ) รองลงมา คือ รปู แบบกจิ กรรมตอบสนองความตอ้ งการของผู้รบั บริการ สรุปผลการโครงการ พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
13 ( X=4.65 ,SD = 0.07) รองลงมา คือ ผู้รับบริการนาความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ ( X=4.57 ,SD =0.07 ) น้อยที่สุด คือ ระยะเวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม ( X=4.57 ,SD = 0.54 ) ตามลาดับ ขั้นตอนการร่วมปรบั ปรงุ ( Act) เมื่อประเมินผลแล้วจึงได้จัดทาสรุปผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะกลุ่ม งานผู้รับผิดชอบและได้นาสารสนเทศที่ได้นาเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ และนาผลการทาเนินงานมากปรบั ปรุงพัฒนาการงานให้มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้ เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในครัง้ นี้ 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” การเกบ็ รวบรวมข้อมลู มขี ้นั ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมลู ดังนี้ 1. ผู้จัดโครงการแจกแบบประเมินความพงึ พอใจให้กับกลมุ่ เปา้ หมาย/ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ห้องสมุดประชาชนอาเภอบงึ สามพัน สรปุ ผลการโครงการ พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
14 บทท่ี 5 สรปุ ผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การ ตามสรุปผลการโครงการ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้ Co-Learning Space ไดผ้ ลสรุปดงั น้ี 1. วัตถุประสงค์ 2. เปา้ หมาย 3. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. สรปุ ผลการดาเนินการ 6. ข้อเสนอแนะ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการเรยี น การสอนและการศึกษาค้นคว้า 2. เพ่ือส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่าน ผา่ นกิจกรรมอย่างเปน็ รปู ธรรม 3. เพ่ือปรับปรงุ บรรยากาศและภูมทิ ัศน์ท้งั ภายในและภายนอกห้องสมุดใหน้ า่ ใชบ้ ริการ เอ้ือต่อ การอ่านและการเรียนรู้ เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปอาเภอบึงสามพัน 250 คน เชงิ คุณภาพ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบึงสามพัน ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ในชุมชน ท่ีมีระบบการให้บรกิ ารและ สภาพแวดลอ้ มที่มีชวี ิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดยให้บริการการศึกษาคน้ แก่ นกั ศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนและผู้รบั บรกิ ารห้องสมดุ ทาใหเ้ กดิ สังคมแห่งการเรียนรู้ และนกั ศึกษา กศน. ผู้รบั บรกิ ารหอ้ งสมดุ สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ได้อย่างมีความสุข เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในคร้งั นี้ 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” สรปุ ผลการโครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
15 การเก็บรวบรวมข้อมูล มขี ัน้ ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั น้ี 1. ผู้จัดโครงการแจกแบบประเมินความพึงพอใจใหก้ บั กล่มุ เป้าหมาย /ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม โครงการ พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ตามแบบประเมินความ พึงพอใจในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม “กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565”หอ้ งสมดุ ประชาชน อาเภอบงึ สามพนั สรุปผลการดาเนนิ การ 1. ได้ดาเนนิ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีภายใต้ โครงการ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนย์การเรยี นรู้ Co-Learning Space โดยดาเนินการแล้วเสร็จ และสรุปรายงานต่อผ้บู รหิ ารทง้ั ส้นิ 2. ผลการดาเนินการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอ ตามแผนปฏิบัติการประจาปีภายใต้โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co-Learning Space ไตรมาส 1-2 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 334 คน สรปุ โดยภาพรวม พบว่า การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านท่จี ัดขึ้นภายใตโ้ ครงการ พัฒนา ห้องสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ Co-Learning Space สาเรจ็ ลุล่วงด้วยดจี ากการสอบถามความ พงึ พอใจของผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องในกิจกรรม พบว่า ผ้มู สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งสว่ นใหญ่มีความความคิดเห็นตอ่ การจดั กิจกรรมโดยเฉล่ียอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ปัญหา/ข้อเสนอแนะ การจัดทาส่ือส่งเสริมการอ่านต้องเข้าใจกฎหมายลิขสิทธิ์และระวังการละเมิดลิขสิทธิ์และการให้ เครดิตเจา้ ของผลงาน สรุปผลการโครงการ พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space
บรรณานกุ รม บศุ รา นยิ มเวช. (2563). บทบาทของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในเขต กรุงเทพมหานครต่อการสรา้ งการมีสว่ นร่วมและเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.(2564).นโยบายและจุดเนน้ การ ดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564.กรุงเทพฯ:สานกั งาน กศน. สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สานักงาน ก.พ.).(2564). Digital literacy คอื อะไร. กรุงเทพมหานคร:สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน อัมพร พงษกงั สนานนั ท์. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการศกึ ษานอกระบบในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานเพอ่ื สงเสริมการศึกษาตลอดชวี ติ . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
ภาคผนวก
หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบึงสามพนั 1) ชือ่ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ ศนู ย์การเรียนรู้ Co-Learning Space 2) สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หลกั การตามนโยบาย ประจำปงี บประมาณ 2565 1. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึง การจดั การศึกษาเพ่อื คณุ วฒุ ิ และการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตทส่ี ามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 จุดเน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 3. การศึกษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทำ พัฒนา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์อาชีพ การเสริม ทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพ่ิมทักษะใหม่ที่จำเป็น (Re-Skills) ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยู่ใน ระบบการศึกษา (การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบการศึกษา (3) วัยแรงงาน และ (4) ผ้สู ูงอายุ เพื่อใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะสอดคล้องกบั การเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดจากเทคโนโลยีดิจทิ ัลและอาชีพท่ีเกิดขึ้น ใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพิ่มบทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้านอาชีวศึกษากับสำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคล่ือนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเร่ืองหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และ ปฏิบตั ิการด้านขอ้ มลู ขา่ วสาร การสรา้ งบรรยากาศในการทำงานและการเรยี นรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการ จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้น การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการ คุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำ ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพ่ิม ประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้รับริการ โดยได้กำหนด นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หลักการ กศน. เพ่ือประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ขอ้ ท่ี 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นท่ี ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ทอ้ งถน่ิ เพื่อสร้างมลู คา่ เพิ่ม พัฒนาสวู่ ิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพ่มิ ชอ่ งทางประชาสัมพันธ์และชอ่ งทางการจำหนา่ ย 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพ่ือให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดำรงชวี ติ ทเ่ี หมาะกับชว่ งวัย
2.7 ส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรมของผูเ้ รยี น กศน. 2.8 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในชุมชน 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมท้ังรวบรวมและเผยแพร่เพ่ือให้ หนว่ ยงาน / สถานศกึ ษา นำไปใชใ้ นการพัฒนากระบวนการเรียนรรู้ ว่ มกนั ข้อที่ 3 ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรคู้ ณุ ภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ท่ีเน้น Library Delivery เพื่อเพ่ิมอัตราการอ่าน และ การร้หู นงั สือของประชาชน 3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพ้ืนท่ีการเรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- Learning Space เพ่ือการสรา้ งนิเวศการเรียนรูใ้ ห้เกิดขน้ึ สงั คม การขับเคลือ่ นการดำเนินงาน กศน.WOW ดา้ นที่ 2 การพฒั นาหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ : Good Place-Best Check in 3. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานกศน. 2 มาตรฐาน 5 ประเด็น มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น/ผ้รู บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือ กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรตู้ ามอธั ยาศยั 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2.2 ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อหรือนวัตกรรม และส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 3) หลกั การและเหตุผล วิถีชีวิต การเรียนรู้ การทำงานของคนในยุคปัจจุบันท่ีเปล่ียนไป รูปแบบการทำงาน มักจะไปนั่งทำงาน อ่านหนังสือ ประชุม หรือทำงานกลุ่มตามสถานที่สาธารณะ มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด หรือตาม Co - working Space ต่าง ๆ ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่ว่าจะเป็นต้องการพ้ืนที่ในการสร้างแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ท่ีเอ้ือต่อการเกิดแนวคิดใหม่ ๆ ในการทำงาน หรือบางคร้ังจะรู้สึกว่ามีสมาธิมากกว่าท่ีบ้าน ท่ีโรงเรียน หรือ ที่ทำงาน แต่พื้นท่ีลักษณะเช่นน้ีที่มีให้บริการอยู่ในปัจจุบันยังเป็นข้อจํากัดในการเข้าถึงของหลาย ๆ คน ไม่ว่าจะ เป็นเร่ืองของระยะเวลา การเปิด – ปิดบริการ ค่าใช้จ่าย หรือถ้าเปิดให้ใช้บริการฟรีส่ิงอำนวยความสะดวกต่าง ๆ หรือบรรยากาศ อาจยงั ไม่ตอบโจทย์สำหรับการทำงาน หรือการอ่านหนงั สืออย่างมสี มาธิ รวมไปถึงความปลอดภัย ต่าง ๆ ในการเดินทางไปใช้บริการตามสถานท่ีเหล่าน้ัน ประกอบกับสภาพสงั คมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้รปู แบบการ เรียนรู้ของผู้รับบริการห้องสมุดเปลี่ยนไปด้วยคนในปัจจุบันเปล่ียนไปมีการน ำเทคโนโลยีมาใช้ในการค้นคว้าหา ความรู้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้ห้องสมุดประชาชนจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ การเรยี นรู้ตอ้ งพัฒนา ให้มีรูปแบบท่ีหลากหลายเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัยย่ิงขึ้น จากแนวคิดดังกล่าวสู่ การพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co - Learning Space ซึ่งสำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงาน หนึ่งซึ่งมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหล่งเรียนรู้ให้บริการ หลากหลายรูปแบบ ห้องสมุดประชาชนก็เป็นหน่ึงในแหล่งเรยี นรู้ที่ให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอ่ืน ๆ ของ กศน. จึงถึงเวลาแล้วท่ีจะพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มีโอกาสเข้าถึงได้ง่าย
สามารถตอบทุกโจทย์ปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) หรือพ้ืนทแ่ี ห่งการเรยี นรู้รว่ มกัน จึงเกิดขึ้นภายใต้แนวคิดท่วี ่า การให้ท่ีมากกว่าแค่เพียง “พนื้ ท”่ี แต่ยังเป็น สถานทใ่ี นการสร้างแรงบันดาลใจ และแสดงถึงการแบ่งปัน ท่ีไมเ่ พียงแค่แบ่งปันพ้ืนท่ีสำหรับทุกคน ได้ใช้ประโยชน์ ร่วมกนั แตท่ ุกคนทีม่ ายงั ไดค้ วามรู้และแรงบันดาลใจดี ๆ กลบั ไปดว้ ยเสมอ การนำแนวคิดในการปรับเปลี่ยนการให้บริการห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะศูนย์การ เรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการขับเคล่ือน กศน. สู่ กศน.WOW ของรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ในการพั ฒ นา กศน. ต ำบล ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหนึ่งโดยการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมภิ าค เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co - Learning Space) และกำหนดให้ศูนย์การเรยี นรู้ ต้นแบบ (Co - Learning Space) มีพื้นท่ีบริการการเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของ ผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ทกุ ชว่ งวัย ดังน้ันห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน ได้ดำเนินการพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Co - Learning Space เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูและการเรียนรู้ของนักเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่าง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ซึ่งห้องสมุดเป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงห้องสมุด จัดบรรยากาศและดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกต่อการ ใช้บริการของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนท่ัวไป ส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และเพื่อให้ครู นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีแหล่งเรียนรู้สำหรับศึกษาค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเองมีความสุขและ เกิดนิสัยรักการอ่านมากขึ้น 4) วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการเรยี น การสอนและการศกึ ษาคน้ ควา้ 2. เพื่อสง่ เสริมนสิ ยั รกั การอา่ น ผา่ นกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรม 3. เพ่ือปรับปรุงบรรยากาศและภูมิทัศน์ท้ังภายในและภายนอกห้องสมุดให้น่าใช้บริการ เอื้อต่อ การอ่านและการเรยี นรู้ 5) เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชน อำเภอบึงสามพัน ให้เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Co-Learning Space เชงิ คณุ ภาพ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่มีระบบการให้บริการและ สภาพแวดล้อมที่มีชีวิตและมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ในห้องสมุด โดยให้บริการการศึกษาค้นแก่นักศึกษา การศกึ ษานอกโรงเรยี นและผรู้ ับบริการห้องสมดุ ทำให้เกิดสงั คมแห่งการเรียนรู้ และนักศกึ ษา กศน. ผู้รบั บริการ หอ้ งสมดุ สามารถนำความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ได้อยา่ งมีความสุข
6) วิธดี ำเนนิ การ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ดำเนนิ การ ผบู้ ริหารและ จำนวน 1 แหง่ ธันวาคม 4,000.- 1. ขั้นเตรยี มการ ประชมุ วางแผน บคุ ลากร กศน.อำเภอ หอ้ งสมดุ 2564 หารูปแบบการ และ บึงสามพัน ประชาชนอำเภอ วธิ กี ารดำเนนิ งาน บงึ สามพัน 2. เสนอโครงการเพ่อื เพื่อขออนมุ ัติ กจิ กรรมใน กศน.อำเภอ 1 โครงการ หอ้ งสมดุ พฤศจิกายน ประชาชนอำเภอ 2564 ขออนมุ ตั กิ ิจกรรม การดำเนนิ งาน บึงสามพนั บึงสามพัน 3. ดำเนินการ ควรมีพนื้ ทใี่ ห้บรกิ าร ผใู้ ชบ้ รกิ ารห้องสมดุ จำนวน 250 คน ห้องสมุด มกราคม พัฒนาหอ้ งสมดุ การเรียนรู้ทตี่ อบสนอง ประชาชนอำเภอ ประชาชนอำเภอ 2565 ประชาชนให้เปน็ ความต้องการของ บึงสามพัน บึงสามพนั ศนู ย์การเรยี นรู้ ผรู้ บั บริการดงั น้ี มนี าคม Co-Learning 1. โซนกจิ กรรม ห้องสมุดประชาชน 1 แหง่ กศน.อำเภอ 2565 Space Activities Zone อำเภอบงึ สามพัน บึงสามพัน 4. ติดตามผลและ 2. โซนการทำงาน รายงานผลการ Working Zone ดำเนนิ งานตาม 3. โซนเด็ก กจิ กรรมฯ Kids Zone 4. โซนพกั ผอ่ น Relax Zone 5. โซนสอื่ สารสนเทศ Multimedia Zone 6. โซนห้องประชุม Meeting Zone 7. โซนอา่ น Reading Zone เพ่ือสรปุ และรายงานผล การดำเนินงาน
7) วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณใช้ในการดำเนิน แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน ห้องสมุด ประชาชนอำเภอบึงสามพัน งบดำเนิน งาน รหัสงบประมาณ 2000236005000000 รหัสกิจกรรมหลัก 200026700Q2599 เปน็ จำนวนเงนิ 4,000 บาท (ส่ีพันบาทถ้วน) รายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท (ส่ีพนั บาทถว้ น) 1. คา่ ซ่อมแซมบำรงุ รกั ษาทรัพย์สนิ เพ่อื ให้สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ (ค่าใช้สอยวัสดุ) ราคา 1,000 บาท 2. ป้ายประชาสมั พนั ธ์ จำนวน 5 ปา้ ย ราคา 3,000 บาท รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ 4,000 บาท (ส่ีพนั บาทถ้วน) (ทกุ รายการขอถวั เฉลยี่ ตามท่ีจา่ ยจรงิ ) 8) แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 (ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-มี.ค.65) (เม.ย-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65) 1. ดำเนินงานตามโครงการโดยจัดซ้ือวัสดุ/ - 1,000 บาท - - 3,000 บาท ครุภัณฑ์ ดงั นี้ - คา่ ซอ่ มแซมบำรงุ รักษาทรัพย์สนิ เพ่ือให้ สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ (ค่าใช้สอยวัสด)ุ - ป้ายประชาสมั พนั ธ์ จำนวน 5 ป้าย 9) ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสาวนิสาชล แกว้ มลู เมอื ง ตำแหน่งบรรณารักษ์ปฏบิ ัติการ 9.2 นางสาวอุษา กิง่ สีเสยี ด ตำแหนง่ บรรณารกั ษ์จ้างเหมาบรกิ าร 10) เครือขา่ ย - หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอบึงสามพัน 11. ดัชนชี ้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 11.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนอำเภอบงึ สามพนั 250 คน 11.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน ได้พัฒนาระบบการให้บริการและ สภาพแวดล้อมของห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space ห้องสมุดประชาชนอำเภอ บึงสามพัน ได้ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในห้องสมุด ห้องสมุดประชาชนอำเภอบึงสามพัน เป็นแหล่ง เรียนรู้ท่ีสำคัญของชุมชน ที่ให้บริการการศึกษา ค้นคว้าแก่นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนและผู้รับบริการ ห้องสมดุ 12. การติดตามและประเมินผลโครงการ 12.1 แบบประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้บรกิ าร 12.2 รายงานผลการดำเนนิ งาน
13. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั ผู้เข้าร่วมโครงการฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนอำเภอบึงสามพันมีนิสัยรักการอ่าน มีโอกาสในการ เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีนิสัยรักการเรียนรู้ตลอดชีวิต ห้องสมุดประชาชนอำเภอ บึงสามพัน ได้พัฒนาระบบการให้บริการและสภาพแวดล้อมของห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space และมคี วามพึงพอใจตอ่ โครงการในระดับมากขนึ้ ไปร้อยละ 80 ลงชอ่ื ....................................................ผู้เขียนโครงการ ( นางสาวอษุ า ก่ิงสเี สียด ) บรรณารกั ษ์ ลงชือ่ ....................................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ ( นางสาวนสิ าชล แกว้ มลู เมอื ง ) บรรณารักษป์ ฏิบตั ิการ ลงช่อื .....................................................ผู้อนุมตั ิโครงการ ( นางสุกญั ญา กาโกน ) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบึงสามพนั
นางสกุ ัญญา กาโกน ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบงึ สามพนั
แบบประเมินความพงึ พอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน ปีงบประมาณ 2565” คาชแี้ จง แบบประเมนิ ฉบับนี้เปน็ แบบประเมินความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม ในการเขา้ ร่วม กจิ กรรม ส่งเสริมการอ่านเพ่ือเพิ่มโอกาสการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ดงั นี้ 1. แบบสอบถามความพึงพอใจ มที งั้ หมด 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกยี่ วกบั ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ/ความคิดเหน็ เพิ่มเตมิ 2. ให้ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมอ่านข้อความให้เขา้ ใจแลว้ เขยี นเครื่องหมาย ลงในช่องวา่ งทตี่ รงกบั ความพงึ พอใจ 3. เคร่อื งหมาย และตวั เลขในแต่ละระดับความพึงพอใจของนักเรยี น ทางดา้ นขวามือของ แบบสอบถามความพึงพอใจ มคี วามหมายดังน้ี ระดบั 5 หมายถงึ ความพงึ พอใจ อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ระดับ 4 หมายถึง ความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึง ความพึงพอใจ อยใู่ นระดับปานกลาง ระดบั 2 หมายถงึ ความพึงพอใจ อยู่ในระดับนอ้ ย ระดับ 1 หมายถงึ ความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั นอ้ ยท่สี ดุ ตอนที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐานผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ ชาย หญิง อายุ 1 - 15 ปี 16 – 30 ปี 31 - 59 ปี 60 ปีขึน้ ไป ขอ้ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 54 3 2 1 รูปแบบกจิ กรรมตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ทาให้เขา้ ใจง่าย 3 สอ่ื /วสั ดอุ ปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการทา กจิ กรรมมีความเหมาะสม 4 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 5 เน้ือหาของกจิ กรรม เหมาะกับระดับความรู้ความสามารถของผู้รับบริการ 6 ผรู้ บั บริการไดร้ บั ความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะตามเน้ือหาและกจิ กรรมการเรียนรู้ 7 วธิ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เหมาะสมกับเนอ้ื หา 8 ผู้รับบรกิ ารมคี วามสนุกสนานในการทากจิ กรรม 9 ผู้รบั บรกิ ารนาความรู้ที่ไดจ้ ากการทากจิ กรรมไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................
สรุปแบบสอบถามความพึงพอ จากตาราง พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจโดยเรียงลาดับคว พึงพอใจมากท่ีสุด ผู้รบั บริการมีความสนกุ สนานในการทากิจกรรม ( X= 4.86 , 4.80 ,SD = 0.42 ) รองลงมาคอื วธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ หมาะสมกับเนอ้ื การทากจิ กรรมมีความเหมาะสม ( X= 4.79 ,SD = 0.41 ) รองลงมาคือ เน้ือหา ( X=4.76 ,SD = 0.49 ) รองลงมาคอื ผูร้ บั บริการได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจและ รองลงมา คือ รปู แบบกจิ กรรมตอบสนองความต้องการของผู้รบั บริการ ( X=4.6
อใจ ต่อการจดั กิจกรรม วามพอใจจากมากท่สี ดุ ไปน้อยท่สี ดุ ดงั นี้ ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความ ,SD = 0.38 ) รองลงมาคือ กจิ กรรมการเรียนร้ทู าให้เขา้ ใจงา่ ย ( X= อหา ( X= 4.79 ,SD = 0.45 ) รองลงมาคอื ส่อื /วสั ดุอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ น าของกจิ กรรม เหมาะกับระดบั ความรคู้ วามสามารถของผู้รบั บริการ ะทักษะตามเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนรู้ ( X=4.70 ,SD = 0.60 ) 65 ,SD = 0.07) รองลงมา คือ ผูร้ ับบริการนาความรู้ท่ีได้จากการทา
กจิ กรรมไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ ( X=4.57 ,SD =0.07 ) นอ้ ยทีส่ ุด คือ ระยะเ ตามลาดับตาม สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ท่ีจ Co-Learning Space สาเร็จลุล่วงด้วยดีจากการสอบถามความพึงพอใจของผ ความคดิ เหน็ ตอ่ การจัดกิจกรรมโดยเฉล่ียอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ
เวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ( X=4.57 ,SD = 0.54 ) จัดข้ึนภายใต้โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในกิจกรรม พบว่า ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องส่วนใหญ่มีความ
ภาพกิจกรรม โครงการ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นศูนย์การเรยี นรู้ Co-Learning Space ณ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบงึ สามพนั
ความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร ความเหน็ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบงึ สามพัน .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ............................................................... (นางสกุ ญั ญา กาโกน) ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอบึงสามพัน ความเห็นศกึ ษานเิ ทศก์ สำนกั งาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................................... (นางประคอง บญุ สวน) ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษสำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ความเห็นผ้อู ำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ............................................................... (นางชนกพร จุฑาสงฆ์) ผ้อู ำนวยการ สำนกั งาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์
ทป่ี รกึ ษำ คณะผู้จัดทำ 1. นางสกุ ญั ญา กาโกน 2. นายพิธพร วพิ ธิ กาญจน์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบงึ สามพนั 3. นางราพึง แก้วเขียว ประธานกรรมการสถานศึกษา 4. นางมาลา ลสุ นธ์ กรรมการสถานศึกษา 5. นางนภาดา บวรรัตนอาภา กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการสถานศกึ ษา คณะผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวนิสาชล แกว้ มลู เมือง บรรณารักษ์ ระดับปฏิบัตกิ าร 2. นางสาวอสุ า กิ่งสเี สยี ด บรรณารกั ษ์จา้ งเหมาบรกิ าร รวบรวม/เรียบเรียง บรรณารกั ษ์ ระดับปฏิบัตกิ าร นางสาวนสิ าชล แกว้ มลู เมอื ง บรรณารักษ์จา้ งเหมาบริการ นางสาวอษุ า กงิ่ สีเสียด บรรณารกั ษ์ ระดับปฏบิ ัตกิ าร ออกแบบปกรูปเล่มและพิมพ์ นางสาวนิสาชล แกว้ มลู เมือง
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: