เลิกทาส เลกิ ไพร่ พลิกแผน่ ดินปกครองใหม่ \"รชั กาลที่ 5\" กับทีม่ า โรงพยาบาลศริ ริ าช ห้องสมุดประชาชนอำเภอบงึ สามพัน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบึงสามพนั สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั เพชรบรู ณ์
เลิกทาส เลกิ ไพร่ พลิกแผน่ ดินปกครองใหม่ \"รัชกาลที่ 5\" กับที่มา โรงพยาบาลศิริราช บนผืนแผ่นดินไทย ตลอดการดแู ลปกครองประเทศของ \"ราชวงศจ์ กั รี\" พระมหากษตั ริยผ์ ูท้ รงเปย่ี ม ลน้ ไปด้วยพระบารมี สร้างคุณงามความดเี พื่อประเทศชาติ \"ในหลวง รัชกาลที่ 5\" หรอื พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั กับปรากฏการณ์เปลีย่ นแปลงประเทศครง้ั ใหญ่ในหลายๆ ดา้ น โดยเฉพาะการประกาศ ยกเลิกขนบธรรมเนยี มและข้อปฏิบตั ติ ่างๆ เพอ่ื ความเจริญรุ่งเรืองก้าวหนา้ ของบ้านเมอื ง เราเรยี บเรยี ง พระ ราชประวัตกิ ษัตรยิ ์ แห่งราชวงศจ์ ักรี มาถงึ รัชกาลท่ี 5 วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื เผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดา้ น ประวตั ศิ าสตรใ์ หค้ นรุ่นใหม่ได้รับทราบถงึ พระอัจฉริยภาพ และการพฒั นาบ้านเมอื งเพอ่ื พี่น้องปวงชนชาวไทย ใหอ้ าศัยอยใู่ นผืนแผ่นดนิ ทีอ่ ุดมสมบรู ณด์ ว้ ยความมน่ั คง ม่ังค่งั ส่งตอ่ มรดกตกทอดมายังรุน่ ลกู รุ่นหลานจวบ จนปัจจบุ ันน้ี เหน็ พ้องต้องกัน ร.5 เหมาะสมขึ้นครองราชยต์ ่อจากพระบดิ า \"พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หวั \" รชั กาลที่ 5 เสดจ็ พระราชสมภพเมอ่ื วนั อังคารที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 เดอื น 10 แรม 3 คำ่ ปฉี ลู เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในหลวง รัชกาลที่ 4 ทป่ี ระสูตแิ ต่พระ นางเธอ สมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทราบรมราชินี ขน้ึ เสวยราชสมบัติ เมอ่ื วันพฤหัสบดี เดอื น 11 ขึ้น 15 คำ่ ปี มะโรง พ.ศ. 2411 ย้อนกลับไปเม่ือวันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
รัชกาลท4ี่ เสดจ็ สวรรคตภายหลังเสดจ็ ออกทอดพระเนตรสุริยปุ ราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ก่อนที่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวจะสวรรคตนั้น ได้มพี ระราชหัตถเลขาไว้ว่า \"พระราชดำริทรงเหน็ วา่ เจา้ นายซ่งึ จะสืบพระราชวงศต์ ่อไปภายหนา้ พระเจ้านอ้ งยาเธอก็ได้ พระเจา้ ลกู ยาเธอกไ็ ด้ พระเจ้าหลานเธอก็ได้ ให้ทา่ นผ้หู ลกั ผูใ้ หญ่ปรึกษากันจงพรอ้ ม สุดแล้วแตจ่ ะเห็นดีพรอ้ มกันเถิด ท่านผูใ้ ดมปี รีชาควรจะรักษาแผน่ ดินได้ก็ให้เลือกดูตามสมควร\" ดังน้ัน เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั รชั กาลที่ 4 เสดจ็ สวรรคต จึงไดม้ ีการประชมุ ปรึกษาเรอื่ งการถวายสิรริ าชสมบตั แิ ดพ่ ระเจา้ แผ่นดนิ พระองค์ใหม่ ซง่ึ ในท่ีประชมุ นั้นประกอบด้วยพระบรมวงศานวุ งศ์ ขา้ ราชการชน้ั ผู้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระ เจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรนิ ทร์ ได้เสนอสมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขนุ พนิ ิต ประชานาถ พระราชโอรสพระองคใ์ หญใ่ นพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวขน้ึ เปน็ พระเจา้ แผ่นดิน ซงึ่ ที่ ประชุมน้นั มีความเหน็ พ้องเปน็ เอกฉนั ท์ ดังน้ัน พระองคจ์ ึงได้รบั การทลู เชิญให้ข้นึ ครองราชสมบตั ิตอ่ จาก สมเดจ็ พระราชบดิ า ในขณะนั้น มพี ระชนมพรรษาเพียง 15 พรรษา ดังนัน้ จงึ ไดแ้ ต่งต้ังสมเดจ็ เจา้ พระยาบรม มหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) เป็นผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะมีพระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราช พิธบี รมราชาภิเษกครัง้ แรก เมื่อวนั ท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยไดร้ ับการเฉลิมพระปรมาภิไธยวา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยหู่ วั หรอื \"พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั \"
พระองค์มพี ระขนิษฐาและพระอนุชารว่ มพระมารดารวม 3 พระองค์ ได้แก่ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ จันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวสิ ุทธิกระษตั ริย์, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตรุ นต์รศั มี กรม พระจกั รพรรดพิ งษ์ และสมเดจ็ พระราชปติ ุลาบรมพงศาภิมขุ เจา้ ฟา้ ภาณุรังษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ ันธุ วงศว์ รเดช พระองค์ทรงเป็นทรี่ กั ย่งิ ของพระบิดา ตั้งแต่ครง้ั ทรงพระเยาว์ เม่อื ครั้งพระบาทสมเดจ็ พระจอม เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ในหลวง รชั กาลที่ 4) เสดจ็ ฯ ไปทรงเยือนเมืองสมุทรสงคราม และเมอื งราชบุรี คร้ังนั้น \"เจา้ ฟ้าชายใหญ”่ (ในหลวง รัชกาลที่ 5) มีพระชนมพรรษา 4 พรรษา ได้โดยเสดจ็ ตามไปดว้ ย ในหลวง รชั กาลท่ี 4 โปรดให้เจา้ ฟ้าชายใหญถ่ วายผา้ กฐนิ มขี บวนแห่นำพระเกียรตยิ ศสุดย่งิ ใหญ่ .. ในครานนั้ เป็นที่ ทราบกันดวี า่ \"เจ้าฟา้ ชายใหญ่\" ทรงเปน็ พระโอรสท่ีท่านพอ่ รกั ย่ิง โดยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงอบรมอภบิ าลอยา่ งใกล้ชดิ มาแตท่ รงพระเยาว์ และทรงเล่าเรียนวิชาอนั สมควรแก่ราชกมุ ารใน ดา้ นตา่ งๆ โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ ทรงศึกษาจนแตกฉาน ในขณะเดยี วกันในดา้ นประวตั ศิ าสตร์โบราณคดี และ การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ซึ่งในหลวงรชั กาลท่ี 4 พระราชทานการสอนด้วยพระองค์เอง
เมอื่ เจริญพระชนมพรรษาได้ 8 พรรษา ในหลวง รชั กาลท่ี 4 โปรดเสดจ็ ให้ทรงกรม เปน็ เจา้ ฟ้าตา่ งกรมฝา่ ย หน้า มีพระราชพธิ ีพระราชทานพระสพุ รรณบัฏ มีเฉลิมพระนามว่า \"สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟ้า จุฬาลงกรณ์ กรมหม่ืนพฆิ เนศวรสุรสงั กาศ\" ต่อมาใน พ.ศ.2410 ทรงไดร้ บั การสถาปนาเล่อื นเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินติ ประชานาถ ทรงปฏิบัติพระราชกิจบัญชาการกรมมหาดเล็ก และกรมพระคลังมหาสมบตั ิ จนปรากฏพระนามเปน็ ทย่ี กยอ่ งชื่นชมในหมนู่ านาประเทศ เดอื นสงิ หาคมปถี ดั มา พระองคเ์ สด็จพร้อมพระบดิ า (ในหลวง รชั กาลที่ 4) ไปเพ่ือทอดพระเนตรสรุ ยิ ุปราคาเต็มดวง ทพ่ี ระ บดิ าทรงคำนวณได้อย่างถูกต้อง ณ ตำบลหวา้ กอ เมืองประจวบครี ขี ันธ์ และครง้ั น้นั ถอื เป็นการตามเสดจ็ เป็น ครง้ั สุดท้าย หลงั จากเสด็จกลับจากตำบลหวา้ กอ พระบิดาไดท้ รงพระประชวรและเสด็จสวรรคต กระท่ัง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนครองราชย์ เปน็ พระมหากษตั ย์รัชกาลท่ี 5 แห่งราชวงศ์จักรี ในเวลาต่อมา ยกเลิกประเพณี ขนบธรรมเนยี มโบราณ ดว้ ยพระปรีชาสามารถและสายพระเนตรทีย่ าวไกล พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ 5 ทรงยกเลิกขนบธรรมเนียมและขอ้ ปฏิบตั ติ ่างๆ 5 อย่าง ทที่ ำใหป้ ระเทศสยามเจริญรุ่งเรอื งมาจนถึงทุกวนั นี้
เลกิ ทาส \"พระราชบญั ญัติพิกัดเกษยี ณลกู ทาสลูกไทย\" เมือ่ วันท่ี 21 สิงหาคม พ.ศ. 2417 แก้พิกัด คา่ ตัวทาสใหม่ โดยให้ลดคา่ ตัวทาสลงตั้งแตอ่ ายุ 8 ขวบ จนกระทั่งหมดค่าตัวเมือ่ อายไุ ด้ 20 ปี เมอื่ อายุได้ 21 ปี ผนู้ ้ันก็จะเป็นอิสระ มีผลกับทาสท่ีเกดิ ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2411 เป็นต้นมา และห้ามมใิ หม้ ีการซอ้ื ขายบุคคล ทีม่ อี ายุมากกว่า 20 ปเี ปน็ ทาสอกี ใน พ.ศ. 2448 \"พระราชบัญญตั ิเลกิ ทาส ร.ศ. 124\" ให้ลูกทาสทกุ คน เปน็ ไทเม่อื วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2448 ส่วนทาสประเภทอ่นื ที่มใิ ช่ทาสในเรือนเบยี้ ทรงใหล้ ดค่าตวั เดือนละ 4 บาท นับตง้ั แต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2448 เป็นต้นไป นอกจากนยี้ ังมบี ทบญั ญัติป้องกนั มใิ หค้ นท่ีเปน็ ไท แล้วกลบั ไปเปน็ ทาสอีก และเมอ่ื ทาสจะเปล่ียนเจ้าเงินใหม่ หา้ มมิใหข้ ้ึนค่าตัว เลิกไพร่ เพราะการยกเลิกขนบไพร่เป็นการปลดทกุ ข์ของราษฎรทกุ ตำบลทัว่ ราชอาณาจกั ร จึงมีความเห็นว่าการ ยกเลิกขนบไพร่สำคัญย่ิงกวา่ การยกเลิกขนบทาส เพราะราษฎรได้รบั การส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจ มเี วลาทำ มาหากนิ ได้เตม็ ที่ โดยขนบไพร่บังคบั ให้ราษฎรอายตุ ง้ั แต่ 15-16 ปี จนถึง 70 ปี ต้องทำงานรบั ใช้หรือส่ง ส่วยใหแ้ ก่ชนช้ันปกครอง แบง่ ออกเปน็ ไพร่หลวง ไพร่สมและไพร่ส่วย ไพรม่ ีกำหนดรบั ราชการเดอื นเวน้ เดอื น ในสมัยอยุธยา ปีละ 6 เดือน ลดลงมาเหลือปลี ะ 4 เดือนในสมยั รชั กาลท่ี 1 และเหลือ 3 เดือนในรัชกาลที่ 2 หากไมอ่ ยากรบั ราชการก็ต้องจ่าย \"คา่ ราชการ\" เดือนละ 6 บาท เลกิ ประเพณหี มอบคลานเข้าเฝา้ ทรงเลกิ ประเพณหี มอบคลานเข้าเฝ้ามาเป็น ยืนเฝ้า หรอื น่ังเก้าอแี้ ทน และถวายความเคารพด้วยการคำนับแทนการ หมอบกราบ แต่ข้าราชการฝ่ายในยงั ใช้การเขา้ เฝา้ แบบประเพณหี มอบคลานเข้าเฝา้ อยู่ และปัจจบุ นั ยังมี เนือ่ งจากประชาชนชาวไทยมคี วามสำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณ ต้องการจะให้เป็นไปตามประเพณเี ดิม
เลกิ การโกนผมไว้ทุกข์ การโกนผม เป็นการไว้ทุกข์ตามโบราณราชประเพณีเพื่อแสดงความเคารพอาลยั ในอดตี ผู้ทจ่ี ะโกนผมจะต้องอยใู่ นสงั กดั มูลนายทเ่ี สยี ชวี ิต ยกเว้นแตเ่ พยี งการสวรรคตของพระมหากษัตรยิ เ์ ท่านน้ั ทที่ ุก คนต้องโกนผม ดงั นัน้ การโกนผมไวท้ ุกขไ์ ด้ถูกยกเลกิ ไป เนื่องจากพระราชดำริของพระชนกนาถ (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ) ไมท่ รงมพี ระราชประสงคส์ ร้างความเดอื ดร้อนแก่ราษฎรจาก ธรรมเนยี มนีใ้ นเวลาทรี่ าษฎรตอ้ งโศกเศร้าเม่อื พระมหากษัตริย์สวรรคต \"ตามโบราณราชประเพณใี นเวลาเม่ือ พระเจ้าแผ่นดนิ สวรรคต พระบรมวงศานวุ งศ์และขา้ ราชการราษฎรทงั้ หลายต้องโกนผมแทนการไวท้ ุกขท์ ั่วทงั้ พระราชอาณาจกั ร แตพ่ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกนาถได้มีพระราชดำรัสส่งั ไวว้ า่ การไว้ทุกข์เช่นทก่ี ล่าว มาแลว้ นน้ั ย่อมเป็นเคร่ืองเดือดร้อนอยเู่ ปน็ อันมาก ใหย้ กเลิกเสยี ทเี ดยี ว\" เลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์ ทรง ไดเ้ ห็นความเจริญของประเทศต่างๆ ท้ังในทวปี เอเชียและยุโรป นำสู่การปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ ทรง ประกาศเลิกการปกครองแบบจตสุ ดมภ์ เปลย่ี นการบรหิ ารมาเปน็ กระทรวงตา่ งๆ เมอื่ วันที่ 1 เมษายน 2435 โดยจัดแบ่งอำนาจหนา้ ทขี่ องแต่ละกระทรวงอยา่ งชัดเจนไม่ซ้ำซ้อนกนั
โรงพยาบาลศิรริ าช ทมี่ าพระราชกรณียกจิ ด้านการพยาบาลและสาธารณสุข พระองคท์ รงสรา้ งโรงพยาบาล เพอ่ื รักษาประชาชนด้วยวธิ กี ารแพทย์แผนใหม่ เนื่องจากการรกั ษาแบบเดมิ นั้นล้าสมัย ไม่สามารถชว่ ยคนได้ อย่างทันทว่ งที ทำใหม้ ผี ู้เสยี ชีวติ มากมายเมือ่ เกิดโรคระบาด พระองคจ์ ึงทรงจัดสร้างโรงพยาบาลขึ้นบรเิ วณ รมิ คลองบางกอกนอ้ ย อนั เป็นที่ตงั้ ของพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือวังหลัง ท้ังนยี้ งั ได้พระราชทาน ทรัพยส์ นิ ส่วนพระองคจ์ ำนวน 16,000 บาท เปน็ ทุนเริม่ แรกในการสร้างโรงพยาบาล ให้ใช้ชื่อว่า โรงพยาบาล วงั หลงั เปดิ ทำการรักษาแก่ประชาชนทั่วไปเปน็ ครั้งแรกเมื่อวันท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2431 ตอ่ มาพระองคไ์ ด้ พระราชทานนามโรงพยาบาลแห่งนใี้ หม่วา่ \"โรงพยาบาลศิรริ าช\" เพอื่ เป็นการระลึกถึงสมเดจ็ พระนางเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ ศิริราชกกุธภณั ฑ์ พระราชโอรสทปี่ ระสตู ใิ นสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ ท่ีสิน้ พระชนม์ พระชนมายุเพยี ง 1 ปี 7 เดือน ท้ังยังไดพ้ ระราชทานพระเมรุ พรอ้ มกับเครือ่ งใช้ เช่น เตยี ง เก้าอี้ ตู้ โต๊ะ ฯลฯ ในงานพระศพให้กบั โรงพยาบาลเพือ่ ใช้ประโยชน์ รวมท้ังพระราชทานทรพั ย์สว่ นพระองค์ ของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ ศิรริ าชกกุธภณั ฑ์ จำนวน 56,000 บาท ให้กับโรงพยาบาลเปน็ ทุนในการ ใชจ้ า่ ย ไฟฟา้ เปน็ พลงั งานสำคญั สร้างคุณประโยชน์แกช่ าติ พระองคท์ รงเล็งเห็นว่า ไฟฟา้ เป็นพลังงานท่สี ำคญั และ มปี ระโยชน์อย่างมาก เพราะทรงได้ทอดพระเนตรกิจการไฟฟ้า และทรงเห็นถึงประโยชนม์ หาศาล ในประเทศ ไทยจงึ รเิ รมิ่ ในการจา่ ยกระแสไฟฟ้าขน้ึ ในปี พ.ศ.2433 โดยในปเี ดยี วกนั ยงั ได้ก่อตั้งโรงไฟฟ้าทีว่ ดั เลียบ หรอื วัดราชบูรณะ จนกระท่ังถึง พ.ศ. 2436 ไมน่ านนกั กิจการไฟฟ้าก้าวหนา้ ยง่ิ ขนึ้ รัฐบาลได้โอนกจิ การให้ผู้ ชำนาญ คอื บริษัทอเมรกิ ัน ชื่อ แบงค็อค อิเลคตริกซติ ้ี ซิดิแคท เข้ามาดำเนนิ งานต่อ กระทง่ั ในปี พ.ศ.
2437 บรษิ ัทเดนมาร์ก ได้เข้ามาตั้งโรงงานผลติ พลงั งานไฟฟ้า เพอื่ ใช้ในการเดินรถราง ท่ีบริษัทได้รบั สมั ปทานการเดินรถในเขตพระนคร กระท่ังท้งั 2 บริษัทร่วมมอื กนั รับช่วงงานจากกรมหมน่ื ไวยวรนาถ และ ก่อตง้ั เป็นบรษิ ทั ไฟฟ้าสยาม ข้ึนในปี พ.ศ.2444 กฎหมายลา้ หลัง ต่างชาตเิ อาเปรยี บ สู่การจดั ต้งั โรงเรียนกฎหมายแห่งแรก เนื่องจากในสมยั น้นั กฎหมายมี ความล้าสมยั อย่างมาก เพราะเริม่ ใชม้ าตงั้ แต่รชั กาลท่ี 1 ทำใหต้ า่ งชาติใช้เป็นขอ้ อ้างในการเอาเปรยี บไทยเรอื่ ง การทำสนธิสัญญาเกยี่ วกบั การขึน้ ศาลตดั สนิ คดที ่ีไมใ่ หช้ าวตา่ งชาตขิ น้ึ ศาลไทย โดยต้ังศาลกงสุลพจิ ารณาคดี คนในบังคับตา่ งชาตเิ อง แมว้ ่าจะมคี ดีความกับชาวไทยก็ตาม พระองค์โปรดเกล้าฯ สร้างประมวลกฎหมาย อาญา เพอ่ื ใหท้ ันสมัยทดั เทยี มกบั อารยประเทศ ในปี พ.ศ.2440 และได้มกี ารใหจ้ ัดตงั้ โรงเรยี นกฎหมายแหง่ แรกของประเทศไทย เพื่อเป็นสถานที่สำคญั ทีผ่ ลิตนกั กฎหมายท่มี คี วามรคู้ วามสามารถ กระทง่ั ต่อมาในปี พ.ศ.2451 โปรดเกล้าฯ ให้ตรากฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 อนั เป็นลักษณะกฎหมายอาญาฉบบั แรกท่ี นำขึ้นมาใช้ อีกท้งั ยังโปรดเกล้าฯ ให้มีการตัง้ กรรมการขึ้นมาชุดหน่งึ พจิ ารณาทำกฎหมายประมวลอาญา แผ่นดินและการพาณิชย์ ประมวลกฎหมายวา่ ด้วยพิจารณาความแพ่ง และพระธรรมนูญแห่งศาลยตุ ธิ รรม (แต่ยังไม่ทนั สำเร็จดกี ็สิน้ รชั กาลเสยี ก่อน) เมอ่ื สร้างประมวลกฎหมายขึ้นมาใช้แล้ว บทลงโทษแบบจารตี ด้งั เดมิ จึงถกู ยกเลิกไปในรชั กาลของพระองค์เอง เพราะมกี ฎหมายใหม่เป็นบทลงโทษ ที่เป็นหลักการพจิ ารณา ทดี่ แี ละทนั สมยั กวา่ เดิมดว้ ย \"โรงเรียนวดั มหรรณพาราม\" โรงเรียนหลวงแหง่ แรก พระองค์ทรงสนพระราชหฤทยั ในการศึกษารูปแบบ ใหม่ และจดั ตงั้ ใหม้ กี ารตง้ั โรงเรยี นข้ึนเพ่ือใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษา เน่อื งจากการศกึ ษาสมยั นั้นสว่ นใหญ่ยงั
ศกึ ษาอยใู่ นวดั เมื่อมีการสร้างโรงเรียนและการศกึ ษาเจริญก้าวหนา้ ขึน้ เทา่ กับเปน็ การบง่ บอกถึงความเจริญ ทางด้านวัฒนธรรมอยา่ งหน่ึง จงึ โปรดเกล้าฯ ใหส้ รา้ งโรงเรียนหลวงแห่งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2444 และโปรด เกล้าฯ ให้มกี ารสอบไล่สามัญศกึ ษาขน้ึ อีกดว้ ย เพือ่ เป็นการทดสอบความรทู้ ไ่ี ด้ศกึ ษาเล่าเรยี นมา นอกจากน้ี พระองค์ยังโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั สรา้ งโรงเรียนหลวงข้นึ อกี หลายแห่ง กระจัดกระจายไปตามวดั ตา่ ง ๆ ท้ังใน สว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าค โรงเรยี นหลวงแห่งแรกทส่ี ร้างข้ึนในวัด คือ โรงเรียนวดั มหรรณพาราม โรงเรยี น หลวงที่ต้ังขึ้นมาน้ีเพ่ือให้บุตรหลานของประชาชนทั่วไปไดม้ ีโอกาสศกึ ษาหาความรู้กนั การศกึ ษาขยายตวั เจริญ ข้ึนตามลำดับด้วยความสนใจของประชาชนที่ต้องการมีความรูม้ ากข้นึ จงึ โปรดเกล้าฯ ใหโ้ อนโรงเรยี นเหล่านอ้ี ยู่ ภายใตก้ ารควบคุมของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีการพิมพ์ตำราพระราชทาน เพื่อเปน็ ตำราในการเรยี นการสอน ด้วย ผลติ ธนบัตรร่นุ แรกออกมา 5 ชนดิ ในปี พ.ศ. 2417 ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหท้ ำธนบัตรข้ึนเรียกวา่ \"อัฐ\" เปน็ กระดาษมีมูลคา่ เท่ากับเหรียญทองแดง 1 อัฐ แตใ่ ช้ไดเ้ พียง 1 ปกี ็เลิกไป เพราะประชาชนไมน่ ิยมใช้ ต่อมา ทรงตั้งกรมธนบัตรขึ้นมา เพ่ือจดั ทำเป็นตวั๋ สัญญาขึ้นใช้แทนเงินกรมธนบัตรได้เรมิ่ ใชต้ ๋วั สญั ญาเมื่อวนั ท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2445 เปน็ ครัง้ แรก เน่อื งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ในปี พ.ศ. 2441 ไดม้ กี ารผลติ ธนบัตรรุน่ แรกออกมา 5 ชนดิ คอื 1,000 บาท 100 บาท 20 บาท 10 บาท 5 บาท ภายหลังมีธนบตั รใบละ 1 บาท ออกมาดว้ ย รวมถึงพระองค์โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ำหนด หนว่ ยเงินตรา โดยให้หน่วยทศนยิ มเรยี กวา่ สตางค์ กำหนดให้ 100 สตางค์ เทา่ กบั 1 บาท พร้อมกับผลิต เหรียญสตางค์ข้ึนมาใชเ้ ป็นคร้ังแรกเรียกวา่ เบ้ียสตางค์ มีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด คอื ราคา 20 สตางค์ 10 สตางค์ 4 สตางค์ 2 สตางค์ครงึ่ ใชป้ นกบั เหรียญเสี้ยว และอัฐ พ.ศ.2451 ทรงออกประกาศยกเลกิ ใชเ้ งิน พดดว้ งและทรงออกพระราชบัญญตั ิมาตราทองคำ ร.ศ.127 ประกาศใช้เม่อื วันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 วา่ ดว้ ยเรือ่ งให้ใช้แร่ทองคำเปน็ มาตรฐานเงินตราแทนแร่เงนิ เพือ่ ให้เสถียรภาพเงินตราของไทย สอดคล้องกับหลักสากล และในปีต่อมาทรงออกประกาศเลิกใช้เหรียญเฟือ้ ง และเบ้ียทองแดง
สรา้ งทางรถไฟจากกรุงเทพฯ - เชยี งใหม่ ในปี พ.ศ. 2431 โปรดเกล้าฯ ให้คณะเสนาบดแี ละกรมโยธาธิการ สำรวจเสน้ ทาง เพือ่ วางรากฐานการสรา้ งทางรถไฟจากกรงุ เทพฯ - เชยี งใหม่ มีการวางแผนให้ทางรถไฟสาย น้ีตดั เข้าเมืองใหญ่ๆ ในบรเิ วณภาคกลางของประเทศแลว้ แยกเปน็ ชุมสายตดั เข้าสจู่ ังหวัดใหญท่ างแถบภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เนอื่ งจากเปน็ หัวลำโพงเมอื งท่ีเป็นศูนยก์ ลางธุรกิจการค้า การสำรวจเส้นทางในการวาง เสน้ ทางรถไฟนี้เสรจ็ สนิ้ เมือ่ ปี พ.ศ.2434 และในวันท่ี 9 มนี าคม พ.ศ.2434 พระองค์ไดเ้ สด็จพระราช ดำเนินทรงขุดดนิ กอ่ พระฤกษ์ เพื่อสร้างทางรถไฟครั้งแรกท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทย โดยโปรดเกล้าฯ ให้ทางรถไฟ สายนเ้ี ป็นรถไฟหลวงแหง่ แรกของไทย ไปรษณีย์ไทย สอู่ นาคตการเชอ่ื มตอ่ พระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ให้ กระทรวงกลาโหมดำเนินการก่อสร้างวางสายโทรเลขสำหรับสายโทรเลขสายแรกของประเทศเริ่มกอ่ สรา้ งในปี พ.ศ.2418 จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ ระยะทาง 55 กิโลเมตร และไดว้ างสายใต้น้ำตอ่ ยาวออกไปจนถึง ประภาคารท่ปี ากแม่นำ้ เจ้าพระยาสำหรับบอกข่าวเรอื เขา้ - ออก ตอ่ มาไดว้ างสายโทรเลขขึ้นอีกสายหนง่ึ จาก กรุงเทพฯ - บางปะอนิ และขยายไปอยา่ งทัว่ ถงึ กจิ การไปรษณีย์ จดั ต้ังข้ึนเปน็ คร้ังแรกในวันท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ.2424 มีที่ทำการเรยี กว่าไปรษณยี ์อาคาร ต้ังอยูร่ มิ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา และเปดิ ดำเนินการอย่างเป็นทางการ ครั้งแรกในวนั ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2426 หลังจากนั้นจงึ โปรดเกล้าฯ ใหก้ รมโทรเลขรวมเข้ากบั กรมไปรษณยี ์ ชอ่ื วา่ กรมไปรษณียโ์ ทรเลข ทดลองใช้เป็นคร้งั แรกในปี พ.ศ. 2424 จากกรุงเทพฯ - สมทุ รปราการ ได้นำ โทรศัพทอ์ นั เป็นวิทยาการในการสอื่ สารทที่ นั สมยั เขา้ มาทดลองใช้เปน็ คร้ังแรกในปี พ.ศ. 2424 จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ เพื่อแจ้งข่าวเรอื เข้า - ออกทป่ี ากนำ้ ตอ่ มากรมโทรเลขได้มารับชว่ งต่อในการวาง สายโทรศพั ท์ภายในกรงุ เทพฯ ซง่ึ ใชเ้ วลา 3 ปจี ึงแล้วเสรจ็ พรอ้ มเปิดใหบ้ ริการกับประชาชน และพัฒนามา จนกระทั่งทกุ วันนี้
ส่งเสรมิ การศึกษาพระราชโอรสเพ่อื ทำงานของบา้ นเมือง ในพระราชประวตั ริ ะบวุ า่ ในหลวง รชั กาลที่ 5 มีพระ ราชสันตติวงศ์ (ลูกๆ) หลายพระองค์ และทรงส่งเสริมเอาพระราชหฤทัยใสใ่ นการศกึ ษาของทุกๆ คน โดยเฉพาะ เมอ่ื บรรดาพระเจ้าลูกยาเธอทัง้ 19 พระองค์ ได้ถูกส่งไปศึกษาวชิ าการในตา่ งประเทศ กระทั่งได้ สําเรจ็ กลบั มารบั ราชการ จากนัน้ ก็ทรงแยกย้ายกันรบั ใช้บา้ นเมืองอยา่ งเตม็ พระสติกาํ ลังและความสามารถ 1. พระองค์เจ้ากติ ยิ ากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบรุ ีนฤนาถ (พ.ศ. 2417-74) ทรงศึกษาวิชาเศรษฐกิจ การคลังทอี่ ังกฤษ (น่าจะเป็นท่มี หาวิทยาลยั เคมบริดจ์) กลบั มารับราชการในตาํ แหน่งเสนาบดี กระทรวงพระ คลังฯ และเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์, อีกทั้งทรงเปน็ นายกแห่งสภาการคลงั และเปน็ ประธานอภริ ัฐมนตรี (ใน รัชกาลที่ 7) 2. พระองค์เจ้ารพพี ฒั นศกั ด์ิ กรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธ์ิ (พ.ศ. 2417-63) ทรงศึกษาวชิ ากฎหมายที่ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอรด์ ประเทศอังกฤษ และไดร้ ับปริญญา บี.เอ. กลบั มารับราชการ ในตาํ แหน่งเสนาบดี กระทรวงยตุ ธิ รรม และเสนาบดกี ระทรวงเกษตราธิการ 3. พระองค์เจา้ ประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกติ ิบดี (พ.ศ.2418-62) ทรงศกึ ษา (น่าจะเป็นทาง อกั ษรศาสตร)์ ทอ่ี ังกฤษ และฝร่งั เศส กลับมารบั ราชการในตําแหน่งราชเลขานกุ ารฝา่ ยตา่ งประเทศ และ เสนาบดีตําแหน่งราชเลขาธกิ าร
4. พระองคเ์ จ้าจริ ประวตั วิ รเดช กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช (พ.ศ. 2419-56) ทรงศกึ ษาวชิ าสามัญใน องั กฤษและศึกษาวชิ าทหารบกในประเทศเดนมาร์ก กลบั มารับราชการในตําแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม และดาํ รงพระยศเป็นจอมพล 5. พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอดุ มศักด์ิ (พ.ศ. 2423-66) ทรงศึกษาวชิ า ทหารเรือทอี่ ังกฤษ และกลับมารบั ราชการในกองทัพเรือ ได้รับยศเป็นพลเรือเอก ตาํ แหน่งเสนาธกิ ารทหารเรือ และเสนาบดกี ระทรวงทหารเรือ 6. สมเด็จเจ้าฟา้ มหาวชิราวุธ คือพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั (พ.ศ.2424-68) ทรงศึกษา วชิ าทหารบกที่นายรอ้ ยแซนดเ์ ฮิรส์ ต์และวิชาประวตั ิศาสตรท์ ีม่ หาวทิ ยาลยั ออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ 7. สมเดจ็ เจา้ ฟ้าบรพิ ัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินติ (พ.ศ. 2424-87) ทรงศกึ ษาวิชาสามญั ทีอ่ ังกฤษ แลว้ ไป ศึกษาวิชาทหารบกทเี่ ยอรมนี กลบั มารับราชการ ได้รบั พระราชทาน ยศเปน็ จอมพลเรือ และ จอมพล ดํารงตําแหน่งเสนาบดีกระทรวง ทหารเรอื , เสนาธิการทหารบก, เสนาบดกี ระทรวงกลาโหม และ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย 8. พระองค์เจา้ บุรฉตั รไชยากร กรมพระกาํ แพงเพ็ชรอัครโยธิน (พ.ศ. 2425-97) ทรงศกึ ษาท่ีโรงเรียน มัธยมแฮร์โรว์และมหาวทิ ยาลยั เคมบริดจ์ ก่อนทจ่ี ะศกึ ษาวิชาทหารช่างในอังกฤษ เม่อื กลับมารับราชการได้ ทรงดาํ รงตาํ แหน่งแมท่ ัพน้อย, จเรทหารชา่ ง, ผบู้ ัญชาการกรมรถไฟหลวง และเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์ และคมนาคม ทรงไดร้ บั ยศพลเอก
9. พระองค์เจ้าเพญ็ พฒั นพงศ์ กรมหมนื่ พิไชยมหนิ ทโรดม (พ.ศ. 2425-52) ทรงศึกษาในประเทศ องั กฤษ และกลบั มารับราชการเป็นผูช้ ่วยปลดั ทลู ฉลอง กระทรวงเกษตราธิการ. 10. สมเด็จเจ้าฟ้าจกั รพงษภ์ ูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (พ.ศ. 2426-2463) ทรงศึกษาวชิ า สามัญในประเทศอังกฤษ แล้วไปศกึ ษาวชิ าทหารบกที่ประเทศรัสเซยี กลบั มารับราชการในตาํ แหนง่ เสนาธกิ าร ทหารบก ได้รบั ยศเปน็ จอมพล, 11. สมเด็จเจ้าฟา้ ยุคลฑิฆมั พร กรมหลวงลพบรุ ีราเมศวร์ (พ.ศ. 2426-75) ทรงศกึ ษาท่ีโรงเรยี นมัธยม แฮรโ์ รว์ และสาํ เร็จ ได้รบั ปริญญา บ.ี เอ. จากมหาวิทยาลัยเคมบรดิ จ์ ในประเทศองั กฤษ กลบั มารบั ราชการใน ตําแหน่งอปุ ราชมณฑลปกั ษ์ใต้ และเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย 12. พระองค์เจา้ วุฒไิ ชยเฉลมิ ลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (พ.ศ. 2426-90) ทรงศึกษาวชิ า ทหารเรือ ณ ประเทศอังกฤษ กลับมารบั ราชการในกองทัพเรอื ได้รับยศเปน็ พลเรือเอก ตาํ แหน่ง เสนาธิการ ทหารเรอื และเสนาบดกี ระทรวงกลาโหม 13. พระองค์เจ้าดิลกนพรฐั กรมหมื่นสรรควสิ ยั นรบดี (พ.ศ.2427-55) ทรงศึกษาวิชาสามญั ท่ีอังกฤษ กอ่ นท่ีจะเสด็จไปศึกษาตอ่ ท่ีเยอรมนี จนกระทั่งสาํ เรจ็ จากมหาวทิ ยาลัยทึบบงิ เงน ไดร้ บั ปริญญาดุษฎบี ัณฑติ ทางเศรษฐศาสตร์ “ดอกเตอร์วทิ สตาตส์ วสิ เจนจฟั ท์” กลับมารับราชการในตาํ แหนง่ เจา้ กรมพลําภัง (กรมการปกครอง) กระทรวงมหาดไทย
14. พระองค์เจ้าสรุ ิยงประยุรพนั ธ์ กรมหมน่ื ไชยาศรีสุริโยภาส (พ.ศ. 2427-63) ทรงศกึ ษา ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศองั กฤษ กลับมารับราชการในตําแหน่งอธิบดีโรงกระษาปณ์ฯ, ผตู้ รวจการกรม ศิลปากร, และผชู้ ่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ 15. พระองค์เจา้ รังสติ ประยรุ ศักดิ์ สมเดจ็ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร (พ.ศ.2424-94) ทรงศึกษาวชิ า สามัญในอังกฤษ และเยอรมนี และตอ่ มาได้ศกึ ษาวิชาครู ณ มหาวิทยาลยั ไฮเตล็ แบร์ก เยอรมนี เมื่อสาํ เร็จ การศกึ ษาได้กลบั มารับราชการในตาํ แหน่งอธบิ ดี กรมสาธารณสขุ อธบิ ดีกรมมหาวิทยาลยั , ผู้ช่วยปลัดทลู ฉลอง กระทรวงธรรมการ, ประธานคณะผู้สาํ เร็จราชการแทนพระองค์, ผสู้ ําเร็จราชการแทนพระองค์, และ ประธานองคมนตรี 16. สมเดจ็ เจา้ ฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (พ.ศ.2432-64) ทรงศึกษาวิชาทหารท่ี อังกฤษระยะสัน้ และกลบั มารับราชการตําแหนง่ ผบู้ ญั ชาการกองพล ยศพลตรี แล้วไปดํารงตาํ แหนง่ ผ้สู ําเรจ็ ราชการกระทรวงทหารเรอื ยศพลเรือเอก 17. สมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหดิ ลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร (สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก) (พ.ศ. 2434-72) ทรงศกึ ษาวิชาสามญั ทีโ่ รงเรยี นมัธยมแฮร์โรว์ ในอังกฤษ แลว้ เสด็จไปศึกษาวชิ าทหารบกและวชิ าทหารเรอื ท่ีเยอรมนี และต่อมาได้ไปศกึ ษาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์และวิชา แพทยศาสตร์ ณ มหาวิทยาลยั ฮารว์ ารด์ สหรัฐอเมริกา 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 เสด็จสวรรคต เม่ือวันท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวเสดจ็ สวรรคตด้วยโรคพระวกั กะ (ไต) เวลา 2.45 นาฬกิ า ณ พระท่ีนัง่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสติ สิริพระชนพรรษาได้ 57 พรรษา แพทย์วบิ ลู
วิจติ รวาทการ นักเขยี นเชิงประวตั ศิ าสตร์ ไดใ้ หค้ วามเห็นระบโุ รคท่ีเป็นไปได้ คือ โรคน่ิวในไต, โรคไตอกั เสบ จากการตดิ เช้อื และโรคไตชนิด Chronic Glomerulonephritis อันเกิดจากตอ่ มทอนซลิ อักเสบฉบั พลนั อย่างไรกต็ าม ไมส่ ามารถระบุไดช้ ัดเจนว่าเป็นโรคไตชนดิ ใด กอ่ นสวรรคตเคยมพี ระราชกระแสรับส่ัง ในพระราชหัตถเลขาว่า ใหย้ กเลิกการพระเมรุใหญเ่ สีย ปลูก แต่ทเ่ี ผาพอสมควรในท้องสนามหลวงแลว้ แต่จะเห็นสมควร พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรง เคารพต่อพระราชประสงค์ จึงโปรดใหจ้ ัดการตามพระราชดำรินน้ั ทงั้ น้ี รัฐบาลไทยไดจ้ ัดให้วนั ท่ี 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันปยิ มหาราชและเปน็ วนั หยดุ ราชการ วัดราชบพิธสถิตมหาสมี าราม ราชวรวิหาร วัดประจำ รัชกาลท่ี 5 วัดราชบพิธสถิตมหาสมี าราม เปน็ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนดิ ราชวรวหิ าร ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 โปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเปน็ วดั ประจำรชั กาลของพระองค์ เมอื่ พ.ศ.2412 และนับเปน็ พระอารามหลวงสดุ ทา้ ย ท่พี ระมหากษตั รยิ ท์ รงสร้างตามโบราณราชประเพณที ี่มกี ารสร้างวัด ประจำรชั กาล และเม่อื สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2413 ได้นมิ นต์พระสงฆ์จากวัดโสมนสั วรวหิ ารมาจำพรรษา พร้อมกบั อญั เชิญพระพุทธนิรนั ตรายมาประดษิ ฐานไว้ในพระอโุ บสถ ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนามวา่ \"วดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม\" หมายถงึ วดั ท่ี พระมหากษตั ริยท์ รงสรา้ ง มีมหาสีมาอนั เป็นเสาศลิ าจำหลกั ยอดเปน็ รปู เสมาธรรมจักร 8 เสา ตัง้ เปน็ สมี าที่ กำแพง 8 ทศิ มีพระมหาเจดีย์เป็นศนู ย์กลางของวัด ส่วนพระอุโบสถ พระวหิ ารต้งั อยรู่ อบขา้ ง เชอื่ มถึงกัน
ดว้ ยระเบยี งคดรอบพระเจดยี ์ ทุกอาคารประดบั ด้วยกระเบ้ืองเคลอื บเบญจรงค์ ภายในพระอุโบสถและพระ วิหารประดบั ตกแต่งตามแบบสถาปตั ยกรรมแบบไทยผสมตะวนั ตก ท่มี าพระบรมรปู ทรงม้า จากข้อมลู หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ จารกึ ไว้วา่ ทีม่ าของ \"พระบรม รปู ทรงมา้ ” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รัชกาลท่ี 5 ได้เสดจ็ ฯ ไปตกลงและเลือกชนิดโลหะดว้ ยพระองค์เอง อกี ทงั้ ยงั เสดจ็ ไปประทับเปน็ แบบให้นายชา่ งป้นั ห่นุ ขณะเสดจ็ ประทบั อยทู่ ีก่ รุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซ่ึงพระ รูปมขี นาดโตเทา่ พระองค์จริง เสด็จประทับอย่บู นหลังมา้ พระทน่ี ัง่ โดยมา้ พระที่นง่ั น้ันมใิ ชป่ ัน้ จากแบบมา้ พระท่ี น่ังจริง แต่เปน็ ม้าทบ่ี ริษทั ได้ปั้นเปน็ แบบเตรยี มไว้เรียบร้อยแล้ว อยา่ งไรก็ตาม พระองคเ์ สดจ็ ประทบั ให้ชา่ ง ปนั้ ช่ือ จอรจ์ เซาโล (Georges Saulo) ปน้ั เมอ่ื วนั ที่ 22 สงิ หาคม 2450 พระบรมรูปสำเร็จเรยี บรอ้ ยส่ง เขา้ มาถึงกรุงเทพฯ เมื่อวนั พุธท่ี 11 พฤศจิกายน 2451 อันเป็นเวลาพอดีกบั งานพระราชพิธรี ัชมงั คลาภเิ ษก เนอื่ งในโอกาสเถลงิ ถวลั ยราชสมบัติ 40 ปี เจา้ พนักงานได้อัญเชญิ พระบรมรูปทรงม้าข้ึนประดิษฐานบนแทน่ รองหนา้ พระราชวงั ดสุ ิต โดยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ได้เสดจ็ ไปทรงทำพิธีเปิดดว้ ยพระองค์ เอง
พระบรมรูปทรงม้าหล่อด้วยโลหะทองบรอนซ์ ยดึ ติดกับแทน่ ทองบรอนซ์ เปน็ ทม่ี ้ายืน หนาประมาณ 25 เซนตเิ มตร ประดษิ ฐานบนแท่นรอง ทำดว้ ยหนิ ออ่ น สูง 6 เมตร กว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร ห่างจากฐาน ของแทน่ ออกมา มโี ซข่ ึงลอ้ มรอบกว้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร ตรงฐานดา้ นขวามีอกั ษรโรมัน ภาษาฝร่ังเศส จารกึ ชื่อช่างป้นั และชา่ งหลอ่ ไว้วา่ C.MASSON SEULP 1908 และ G.Paupg Statuare และ ด้านซ้ายเป็นชื่อบริษทั ที่ทำการหลอ่ พระบรมรปู ทรงม้าว่า SUSSE Fres FONDEURS. PARIS สำหรบั แท่นศลิ าอ่อนด้านหนา้ มแี ผ่นโลหะจารึกอกั ษรไทย ตดิ ประดบั แสดงพระบรมราชประวัตแิ ละพระเกียรติ คณุ ลงทา้ ยด้วยคำถวายพระพรให้ทรงดำรงราชสมบตั อิ ยยู่ ืนนาน **พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงเปน็ ผู้นำราชอาณาจกั รสยามส่คู วามกา้ วหนา้ พฒั นาบา้ นเมอื งผสมผสาน เปดิ รับปรบั ใช้ วฒั นธรรมตะวันตกสรา้ งความเจรญิ รุ่งเรอื ง เรียกได้ว่าเปน็ การพลิกแผ่นดินให้เจริญข้ึน ประชาชนมกี ินมีใช้ สรา้ งโบราณสถานมากมายที่กลายเปน็ มรดกตกทอดมาให้ลกู หลานไทยไดห้ วนนกึ ถงึ พระบารมีแผไ่ พศาลใน อดีตมาจนปจั จบุ ัน กอ่ นจะส่งมอบประเทศชาติ และประชาชนอันเป็นท่รี ักยิ่งของพระองค์ ให้กับ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ในหลวงรัชกาลที่ 6 ทายาทโดยสายเลือดได้ดแู ลสบื ตอ่ ไป (ขอบพระคุณข้อมลู จาก สำนักราชเลขาธกิ าร สำนักราชวัง, ศิลปวฒั ธรรม , chaoprayanews, วิ กพิ เี ดยี ) อ่านเนอื้ หาต้นฉบบั ไดท้ ่ี : TerraBKK.com - https://www.terrabkk.com/articles/196772
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: