ประเทศลาว มีชื่ออยา่ งเป็นทางการวา่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)คาขวญั ประจาประเทศลาวสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สนั ติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วฒั นาถาวรธงชาตลิ าวเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ มี 3 แถบตามแนวนอน แถบดา้ นบนและดา้ นล่างสุดเป็นสีแดง แถบตรงกลางเป็ นสีน้ าเงินมีวงกลมสีขาวอยกู่ ลางบนแถบสีน้าเงินสีแดง หมายถึง สีเลือดแห่งการเสียสละ การพลีชีพเพ่ือชาติสีน้าเงิน หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ และความเจริญมง่ั คง่ัสีขาว หมายถึง ดวงจนั ทร์ เปรียบเสมือนน้าใจของคนลาวที่มีความบริสุทธ์ิผดุ ผอ่ ง
ภูมศิ าสตร์ทตี่ ้ังของประเทศลาวเป็นประเทศมรสุมเขตร้อน ต้งั อยใู่ นภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในดินแดนที่มีช่ือเรียกกนั วา่“ดินแดนสุวรรณภูมิ”(คาบสมุทรอินโดจีน) ระหวา่ งละติจูดท่ี 14-23 องศาเหนือ และลองติจูด 100-108 องศา ไม่มีทางออกสู่ทะเลอาณาเขตประเทศลาวทศิ เหนือ ติดกบั สาธารณรัฐประชาชนจีน (423 ตารางกิโลเมตร)ทศิ ใต้ ติดกบั ราชอาณาจกั รกมั พูชา (541 ตารางกิโลเมตร)ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม (2,130 ตารางกิโลเมตร)ทศิ ตะวนั ตก ติดกบั สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพเมียนมาร์ (พม่า) (235 ตารางกิโลเมตร)ทศิ ใต้และทศิ ตะวนั ตก ติดกบั ประเทศไทย (1,754 ตารางกิโลเมตร)
ประเทศลาวมีความยาวจากเหนือจรดใตเ้ ป็นระยะทางประมาณ 1,000 กิโลเมตรช่วงที่กวา้ งที่สุดของประเทศมีความยาว 500 กิโลเมตร ช่วงท่ีแคบท่ีสุดของประเทศมีความยาว150 กิโลเมตรหมายเหตุ:เขตแดนไทย - ลาว ประเทศไทยมีเสน้ แบ่งเขตแดนติดต่อกบั สปป.ลาว ประกอบดว้ ย 11 จงั หวดัของไทย ไดแ้ ก่ เชียงราย,พะเยา, น่าน, อุตรดิตถ,์ พษิ ณุโลก, เลย, หนองคาย, นครพนม, อานาจเจริญ, มุกดาหารและอุบลราชธานีและ 9 แขวงของลาวไดแ้ ก่ แขวงบ่อแกว้ , แขวงไซยะบุรี, แขวงเวยี งจนั ทน์, นครหลวงเวยี งจนั ทน์, แขวงบอลิคาไซ,แขวงคาม่วน, แขวงสะหวนั นะเขต, แขวงสาละวนั และแขวงจาปาสักภูมปิ ระเทศลาวลาวเป็นประเทศท่ีมีขนุ เขาสลบั ซบั ซอ้ น พ้นื ท่ีกวา่ ร้อยละ 90 มีความสูงมากกวา่ 180 เมตรเหนือระดบั น้าทะเลปานกลางพ้ืนที่ประมาณ 70% เป็นเทือกเขาสูงสลบั ซบั ซอ้ น มีป่ าไมอ้ ุดมสมบูรณ์ เทือกเขาท่ีสูงท่ีสุดในประเทศลาวคือ “ภูเบ้ีย”ต้งั อยใู่ นแขวงเชียงขวาง ทางภาคเหนือของประเทศ มีความสูงท้งั สิ้น 2,820 เมตรจากระดบั น้าทะเลและยงั พบภาชนะ
ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์รูปทรงคลา้ ยไห กระจายอยทู่ ว่ั ไป เรียกวา่ “ทุ่งไหหิน” มีเทือกเขาอนั หนาพาดผา่ นจากตะวนั ตกเฉียงเหนือลงมาทางตะวนั ตกเฉียงใต้ ยาวราวก่ึงหน่ึงของประเทศและเป็นพรมแดนก้นั ประเทศลาวกบัประเทศเวยี ดนามเนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นป่ าไมแ้ ละภูเขาสูงจึงพ้ืนท่ีเพาะปลูกเพียง 50,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ21.11 ของพ้นื ท่ีท้งั หมดอดีตท่ีผา่ นมาในศตวรรษที่ 14 นบั แต่สมยั “สมเดจ็ เจา้ ฟ้างุม้ มหาราช” อาณาจกั รล้านช้างมีเน้ือที่กวา้ งใหญ่กวา่ ในปัจจุบนัคือ มีเน้ือที่ถึง 480.000 ตารางกิโลเมตร แต่ต่อมาภายหลงั เสียดินแดนบางส่วนใหแ้ ก่ประเทศสยาม หลงั จากน้นั กต็ กอยภู่ ายใต้การปกครองของประเทศฝร่ังเศส ในยคุ ล่าอาณานิคม ทาใหส้ ปป.ลาว มีเน้ือที่ในปัจจุบนั เหลือเพยี ง 236.800 ตารางกิโลเมตรภูมอิ ากาศสปป.ลาว มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนช้ืนและไดร้ ับอิทธิพลจากลมมรสุมในทะเลจีนใตจ้ ึงทาให้แบ่งสภาพภูมิอากาศออกเป็น 3 ฤดู คือฤดูร้อน เริ่มต้งั แต่ปลายเดือนกมุ ภาพนั ธ์ – ปลายเดือนพฤษภาคมฤดูฝน เร่ิมต้งั แต่ตน้ เดือนมิถุนายน - ปลายเดือนกนั ยายน
ฤดูหนาว เริ่มต้งั แต่ตน้ เดือนตุลาคม – เดือนกมุ ภาพนั ธ์อุณหภูมิเฉลี่ยที่นครหลวงเวยี งจนั ทน์ 25 องศาเซลเซียส (มกราคม) และ 36-37 องศาเซลเซียส(เมษายน)อุณหภูมิเฉลี่ยท่ีหลวงพระบาง 20 องศาเซลเซียส (มกราคม) และ 32-34 องศาเซลเซียส(เมษายน)ช่วงหนา้ หนาวอุณหภูมิเฉล่ียบนภูเขาทางภาคเหนือ 10-15 องศาเซลเซียสการเมืองการปกครองในประเทศลาวสปป.ลาว ไดส้ ถาปนาประเทศมาเป็นระบอบสังคมนิยมประชาธิปไตย เมื่อ วนั ท่ี 2 ธนั วาคมพ.ศ.2518 (ต่อมาถือเป็นวนั ชาติ)พรรคการเมืองมีเพียงพรรคเดียวคือ “พรรคประชาชนปฏิวตั ิลาว” (มีอานาจสูงสุดนบั แต่เปล่ียนแปลงการปกครอง)มีประธานพรรคเป็นประมุขของประเทศเรียกวา่ “ประธานประเทศ” ปัจจุบนั คือ ฯพณฯท่านพลโท จุมมะลี ไชยะสอนโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประมุขฝ่ ายบริหารและหวั หนา้ รัฐบาล ปัจจุบนั คือ ฯพณฯท่าน บวั สอนบุบผาวนัท้งั 2 ตาแหน่งไดร้ ับการพจิ ารณาแต่งต้งั จากสภาแห่งชาติ (ประชาชนเป็นผเู้ ลือกสมาชิกสภาแห่งชาติจากผทู้ ่ีพรรคฯ เสนอ)อยใู่ นตาแหน่งคราวละ 5 ปี รัฐธรรมนูญฉบบั แรกประกาศใชเ้ มื่อวนั ท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ.2534(แต่เดิมกฎหมายจะอยใู่ นรูปของคาสงั่ ฝ่ ายบริหาร คือระเบียบคาสั่งของพรรคและสภารัฐมนตรี)แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 แขวง (จงั หวดั ) และ 1 เขตปกครองพิเศษ คือ นครหลวงเวยี งจนั ทน์ เป็นเมืองหลวงของประเทศมีการปกครองแบบเขตปกครองพิเศษ แขวงเวยี งจนั ทน์ เมืองหลวงคือ โพนโฮง
แขวงหลวงพระบาง เมืองหลวงคือ หลวงพระบาง แขวงหลวงนา้ ทา เมืองหลวงคือ หลวงน้าทา แขวงอดุ มไซ เมืองหลวงคือ เมืองไซ แขวงบ่อแก้ว เมืองหลวงคือ หว้ ยทราย แขวงพงสาลี เมืองหลวงคือ พงสาลี แขวงหวั พนั เมืองหลวงคือ ซาเหนือ แขวงเชียงขวาง เมืองหลวงคือ โพนสะหวนั แขวงไซยะบุรี เมืองหลวงคือ เมืองไซยะบุรี แขวงบอลคิ าไซ เมืองหลวงคือ เมืองปากซนั แขวงคาม่วน เมืองหลวงคือ เมืองท่าแขก แขวงสะหวนั นะเขต เมืองหลวงคือ เมืองไกสอน พรหมวหิ าน แขวงสาละวนั เมืองหลวงคือ เมืองสาละวนั แขวงเซกอง เมืองหลวงคือ เมืองละมาม แขวงจาปาศักด์ิ เมืองหลวงคือ เมืองปากเซ แขวงอตั ตะปื อ เมืองหลวงคือ เมืองสามกั คีไซหมายเหตุ:ในวนั ท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2549 ไดม้ ีคาสัง่ ยบุ เขตปกครองพิเศษไซสมบูน อยา่ งเป็นทางการตามรัฐดารัสนายกรัฐมนตรี (คาส่งั นายกรัฐมนตรี) เลขท่ี 10/นย. ลงวนั ท่ี 13 มกราคม 2549โดยเมืองท่าโทมถูกรวมกบั แขวงเชียงขวาง และเมืองไซสมบูนถูกรวมกบั แขวงเวยี งจนั ทน์ระเบียบการจดั ต้งั และการบริหารการปกครอง แบ่งเป็นลาดบั ช้นั โดยเริ่มจาก- หลาย ครัวเรือน รวมกนั เป็น “บา้ น” (หมู่บา้ น)- หลาย หมู่บา้ น รวมกนั เป็น “เมือง” (อาเภอ)- หลาย เมือง รวมกนั เป็น “แขวง” (จงั หวดั )- คณะกรรมการปกครองหมู่บา้ น มีนายบา้ น (ผใู้ หญ่บา้ น) เป็นหวั หนา้ ผบู้ ริหารของหมู่บา้ น- คณะกรรมการปกครองเมือง มีเจา้ เมือง (นายอาเภอ) เป็นหวั หนา้ ผบู้ ริหารเมือง- คณะกรรมการปกครองแขวง มีเจา้ แขวง (ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ) เป็นหวั หนา้ ผบู้ ริหารแขวง
- คณะกรรมการปกครองนครหลวง มีเจา้ ครองนครหลวง (ผวู้ า่ ราชการกรุงเวียงจนั ทน)์ เป็นหวั หนา้ ผบู้ ริหารนครหลวงการบริหารประเทศของสปป.ลาว แบ่งเป็น 2 สายงานท่ีควบคู่กนั คือ พรรคและรัฐ พรรคหมายถึงพรรคประชาชนปฏิวตั ิลาวรัฐคือรัฐบาล ในสุนทรพจนแ์ ละคาปราศรัยต่างๆ มกั จะกล่าวถึงพรรคและรัฐคู่กนั เสมอ พรรคประชาชนปฏิวตั ิลาว เป็นผกู้ าหนดทิศทางและนโยบายการพฒั นาประเทศในภาพรวม ส่วนรัฐบาลเป็นผบู้ ริหารจดั การตามนโยบายของพรรค อยา่ งไรกด็ ีในทางปฏิบตั ิผมู้ ีตาแหน่งสาคญั ของสปป.ลาว มกั ดารงตาแหน่งท้งั ในสายงานของพรรคและรัฐควบคู่กนั เช่นประธานประเทศเป็นเลขาธิการใหญ่คณะบริหารศนู ยก์ ลางพรรคและกรรมการกรมการเมือง, ประธานสภาแห่งชาต,ิ นายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีทุกคนเป็นกรรมการกรมการเมือง ในระดบั แขวงเจา้ แขวงหลายแขวงเป็นเลขาธิการพรรคดว้ ยกลไกระดบั สูงของพรรคไดแ้ ก่ กรรมการกรมการเมือง (Politburo) 11 คนและคณะกรรมการศนู ยก์ ลางพรรค 55 คน ท้งั น้ีกรรมการกรมการเมืองมกั เป็นผอู้ าวโุ สที่สุดของคณะกรรมการศูนยก์ ลางพรรค นอกจากน้ี มีคณะกรรมการและองคก์ รอื่นๆในสงั กดั พรรคประชาชนปฏิวตั ิลาว เช่น คณะกรรมการตรวจตราศูนยก์ ลางพรรค คณะโฆษณาอบรมศูนยก์ ลางพรรค คณะจดั ต้งั ศนู ยก์ ลางพรรค คณะพวั พนั ต่างประเทศศูนยก์ ลางพรรค ศูนยก์ ลางสหพนั กรรมบาล (กรรมกร) ลาว ศูนยก์ ลางสหพนั แม่หญิงลาว ศูนยก์ ลางชาวหนุ่มประชาชนปฏิวตั ิลาว
ศูนยก์ ลางแนวลาวสร้างชาติรายช่ือกรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏวิ ตั ลิ าวรายชื่อ ตาแหน่งในพรรค ตาแหน่งในรัฐบาลฯพณฯท่าน จุมมาลี ไซยะสอน เลขาธิการใหญ่คณะ ประธานประเทศ บริหารงาน ศูนยก์ ลางพรรค อดีตประธานสภา แห่งชาติฯพณฯ ท่าน สะหมาน วยิ ะเกด กรรมการกรมการเมือง ประธานสภาแห่งชาติฯพณฯ ท่าน นาง ปรานี ยาทอ กรรมการกรมการเมืองตู้ฯพณฯ ท่าน บุนยงั วอละจิด กรรมการกรมการเมือง รองประธานประเทศ และฯพณฯ ท่าน สีสะหวาด แก้ว เลขาธิการศนู ยก์ ลางพรรคบุนพนั กรรมการกรมการเมือง อดีตนายกรัฐมนตรีฯพณฯ ท่าน อาซาง ลาวลี และ ประธานแนวลาวสร้าง ชาติ กรรมการกรมการเมือง รองนายกรัฐมนตรี เลขาธิการศูนยก์ ลางพรรค และ ประธานคณะกรรมการ
ฯพณฯ ท่าน ทองสิง ทามะวง ตรวจตรา นายกรัฐมนตรี ศนู ยก์ ลางพรรค กรรมการกรมการเมืองฯพณฯ ท่าน ทองลนุ สีสุลดิ กรรมการกรมการเมือง รองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลโท ดวงใจ พจิ ดิ การ ต่างประเทศฯพณฯ ท่าน สมสะหวาด เล่งสะหวดั กรรมการกรมการเมือง รองนายกรัฐมนตรีและ และ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง เลขาธิการศูนยก์ ลางพรรค ป้องกนั ประเทศ กรรมการกรมการเมือง รองนายกรัฐมนตรีฯพณฯ ท่าน สะหมาน วยิ ะเกด กรรมการกรมการเมือง รองประธานสภาแห่งชาติประชากร
สปป.ลาวมีประชากรท้งั หมดประมาณ 6.3 ลา้ นคน (สารวจเม่ือปี พ.ศ.2552) แขวงที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศ คือแขวงสะหวนั นะเขต (ประมาณ 900,000 คน, เมื่อปี พ.ศ.2552), แขวงที่มีประชากรนอ้ ยที่สุดของประเทศ คือ แขวงเซกอง(90,000 คน, เมื่อ ปี พ.ศ.2552) นครหลวงเวียงจนั ทนม์ ีประชากรประมาณ 730,000 คน (เม่ือปีพ.ศ.2552)ประกอบดว้ ย 3 ชนชาติใหญ่รวม 68 เผา่ ไดแ้ ก่- ลาวล่มุ (ลาวแทๆ้ ) หมายถึง ชนเผา่ ลาว ที่อาศยั อยตู่ ามที่ราบลุ่มใกลแ้ ม่น้าโขง คิดเป็นร้อยละ68 ของประชากรท้งั หมดเช่น ไทลาว ไทเหนือ ไทแดง ไทขาว ผไู้ ท ลาวพวน ไทล้ือ เป็นตน้ มีอาชีพหลกั คือการปลูกขา้ วและภาคการเกษตรอ่ืนๆนบั ถือศาสนาพทุ ธนิกายเถรวาท- ลาวเทงิ (ขมุ) เป็นกลุ่มชนเผา่ ที่อาศยั บนพ้นื ที่ที่มีความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร คิดเป็นประชากรร้อยละ 22 ของประเทศ เช่นสีดา บ่าแวะ ละแนด เป็นตน้ มีความเชื่อศรัทธาในลทั ธิถือบูชาผี- ลาวสูง (มง้ ) เป็นพวกชาวเขามีประมาณร้อยละ 9 ของประชากรท้งั หมด อาศยั อยบู่ นเทือกเขาสูง ส่วนใหญ่เป็น ชาวมง้และเผา่ อ่ืนๆ เช่น มูเซอ ก่อ กยุ เป็นตน้ส่วนคนลาวเช้ือสายจีนและเช้ือสายเวยี ดนาม อาศยั อยใู่ นเขตใจกลางเมืองยา่ นธุรกิจการคา้ ประกอบอาชีพธุรกิจการคา้ และบริการ
ชาวยโุ รปมีจานวนนอ้ ย ส่วนมากทางานในองคก์ ารช่วยเหลือสากล เช่น องคก์ าร UNDP,องคก์ าร UNESCO เป็นตน้สปป.ลาวจดั เป็นประเทศท่ีมีความหนาแน่นของประชากรนอ้ ยที่สุดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้คือ มีความหนาแน่นของประชากรเพยี ง 25 คน/ตารางกิโลเมตร (ขอ้ มูลปี 2547)ศาสนาศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติลาว มีผนู้ บั ถือร้อยละ 75 ของประชากรท้งั ประเทศ เริ่มเขา้ มาสู่ประเทศลาวต้งั แต่สมยัสมเดจ็ เจา้ ฟ้างุ่ม ผกู้ ่อต้งั อาณาจักรล้านช้าง โดยอญั เชิญพระบางมาจากกมั พูชามาประดิษฐานเป็นพระพทุ ธรูปคู่บา้ น-คู่เมืองอยทู่ ี่หลวงพระบาง ชาวลาวล่มุ จะนบั ถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท (หินยาน)เช่นเดียวกบั ประเทศไทยพม่า ศรีลงั กา และทวา่ ลทั ธินบั ถือผกี ย็ งั มีผเู้ ลื่อมใสอยมู่ าก (ประมาณร้อยละ 16-17) เป็นระบบความเชื่อดงั เดิมท่ีมีอิทธิพลอยทู่ ว่ั ประเทศ ชาวลาวเชื่อวา่ ผมี ีอยจู่ ริง จะมีการนาเอาเร่ืองผไี ปผกู เขา้ กบั ตน้ ไม้ ภูเขาน้าตกรวมท้งั ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆส่วนศาสนาคริสตแ์ ละอิสลามน้นั มีนอ้ ยมากประมาณร้อยละ 10 ของประชากรท้งั หมด
ภาษาประจาชาติภาษาหลกั คือ ภาษาลาว ซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั ภาษาไทยทางภาคเหนือและอีสาน นอกจากน้ีคนลาวรุ่นอายุ 40 ปี ข้ึนไปสามารถพดู และเขียนภาษาฝรั่งเศสไดด้ ีภาษารองคือ ภาษาองั กฤษและภาษาไทย (ชาวลาวเกือบทุกคนโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่สามารถฟังภาษาไทยไดเ้ ป็นอยา่ งดีเนื่องจากรับชมรายการโทรทศั นจ์ ากช่องไทยไดท้ ุกช่อง)เครื่องแต่งกาย
ชาวลาวยงั เคร่งครัดในวฒั นธรรมอนั ดีงามของการแต่งกาย โดยเฉพาะเม่ือจะเขา้ ไปในเขตวดัหรือสถานท่ีราชการผู้หญงิ ลาวจะตอ้ งนุ่งผา้ ซ่ิน ใส่เส้ือแบบสุภาพ ส่วนผชู้ ายลาวกต็ อ้ งนุ่งกางเกงขายาวเส้ือแบบสุภาพเช่นกนัเคร่ืองแบบนกั เรียน-นกั ศึกษาและขา้ ราชการของผหู้ ญิงจะนุ่งเป็นผา้ ซิ่นท้งั หมด เมื่อก่อนน้ียงั มีกฏ-ระเบียบหา้ มผหู้ ญิงยอ้ มผมเป็นสีต่างๆ แต่ในปัจจุบนั กฏท่ีวา่ ค่อนขา้ งจะผอ่ นผนั ไปมากแลว้วนั ชาติ2 ธนั วาคม ของทุกปีเวลาทางานราชการ วนั จนั ทร์ – วนั ศกุ ร์เวลา 08.00 น. - 11.30 น. จากน้นั จะเป็นเวลาพกั กลางวนัเริ่มงานช่วงบ่ายเวลา 13.30 น. - 16.00 น.เอกชนและรัฐวสิ าหกิจ วนั จนั ทร์ – วนั ศุกร์ เวลา 08.30 น. – 12.00 น. พกั กลางวนั 1 ชว่ั โมงเร่ิมงานช่วงบ่ายเวลา 13.00 น. – 16.00 น.วนั หยดุ เสาร์ – วนั อาทิตย์ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษต์ ่างๆระบบการเงนิ และการธนาคารสกลุ เงินหลกั ของลาวคือ “กีบ” ลกั ษณะจะเป็นธนบตั รท้งั หมดปัจจุบนั ธนบตั รเงินกีบจะมีต้งั แต่ฉบบั ราคา 500 กีบ -50,000 กีบ ไม่มีเงินเหรียญกษาปณ์
หมายเหตุ:ธนบตั รมูลค่าต้งั แต่ 10,000 กีบ , 20,000 กีบ , 50,000 กีบ การเรียกขานของคนลาวจะเรียกวา่“สิบพนั กีบ”, “ซาวพนั กีบ” และ “หา้ สิบพนั กีบ” ซ่ึงแตกต่างจากการเรียกของคนไทยคาดวา่น่าจะประยกุ ตม์ าจากภาษาต่างประเทศท่ีไม่มีลกั ษณะการเรียกจานวนเงินหลกั หม่ืนหรือหลกั แสนเช่น 10,000 กีบ = Ten thousand kipหรือ 50,000 กีบ = Fifty thousand kip เป็นตน้
เงินกีบสามารถใชไ้ ดท้ ว่ั ไปในประเทศลาว นอกจากน้ีตามเมืองใหญ่ๆ และเมืองท่องเทย่ี ว เช่น นครหลวงเวยี งจนั ทน์ เมืองวงั เวยี งหลวงพระบาง สะหวนั นะเขต ฯลฯ สามารถใชเ้ งินบาทไทยและเงินดอลล่าร์สหรัฐชาระค่าบริการต่างๆ ได้ ส่วนเครดิตการ์ดสามารถใชไ้ ดต้ ามโรงแรม,ร้านอาหาร,บริษทั ท่องเทยี่ วใหญ่ๆ โดยจะตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมร้อยละ 3-5 การแลกเปล่ียนเงินตราสามารถแลกไดต้ ามเคาทเ์ ตอร์แลกเงินในธนาคาร หรือจุดรับแลกเปล่ียนเงินตราตามแหล่งท่องเทย่ี วต่างๆ โดยจะตอ้ งใช้พาสปอร์ตแสดงดว้ ยธนาคารพาณชิ ย์ของรัฐ มี 4 ธนาคาร ไดแ้ ก่ ธนาคารการคา้ ต่างประเทศลาว (Banque Pour Le Commerce Exterieur Lao: BCEL) ก่อต้งั เมื่อปี 2532 มีสาขา14 แห่ง ธนาคารพฒั นาลาว (Lao Development Bank) เป็นธนาคารที่เกิดจากการรวมกิจการของ ธนาคารลา้ นชา้ งกบั ธนาคารลาวใหม่ ในปี 2547 มีสาขา 18 แห่ง ธนาคารส่งเสริมกสิกรรม (Agriculture Promotion Bank) ก่อต้งั เม่ือปี 2536 มี สาขา 17 แห่ง ธนาคารนโยบาย (Nayobay Bank) ก่อต้งั เมื่อเดือนมกราคม 2550 (แยกจากธนาคาร ส่งเสริมกสิกรรม) มี สาขา 5 แห่ง ไม่ทาหนา้ ท่ีรับฝากเงินเหมือนธนาคารพาณิชยท์ วั่ ๆ ไป แต่จะทาหนา้ ท่ีปล่อยกเู้ พื่อวตั ถุประสงคด์ า้ นนโยบายธนาคารร่วมทนุ (Joint Venture Banks) มี 5 ธนาคาร คือ
ธนาคาร ANZ (ธนาคารเวยี งจนั ทนพ์ าณิชยเ์ ดิม) ธนาคารร่วมพฒั นา (Join Development Bank) เป็นการร่วมทุนระหวา่ งธนาคารแห่ง สปป.ลาว กบั บริษทั เอกชนของไทย ธนาคารร่วมธุรกิจลาว-เวยี ด (Lao-Viet Bank) เป็นการร่วมทุนระหวา่ งการคา้ ต่างประเทศ (BCEL) ของลาว กบั ธนาคารเพอ่ื การลงทุนและพฒั นาของเวยี ดนาม (Bank for Investment and Development of Vietnam) ธนาคาร Indochina เป็นการร่วมทุนระหวา่ งรัฐบาลลาวกบั กลุ่มทุนจากประเทศเกาหลีใต้ ธนาคารลาว-ฝรั่งเศสธนาคารเอกชนของลาว มี 2 ธนาคาร คือ ธนาคารพงสะหวนั (Phongsavanh Bank) ธนาคารพาณิชยแ์ ห่งแรกที่ดาเนินการโดย เอกชนลาว 100% ธนาคารเอสที (ST Bank)สาขาของธนาคารพาณชิ ย์ไทยในประเทศลาวมี 5 ธนาคาร คือ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา ธนาคารทหารไทย ธนาคารไทยพาณิชย์มีธนาคารกรุงศรีอยธุ ยาเป็นธนาคารแห่แงรกที่เปิ ดสาขาต่างแขวงท่ีแขวงสะหวนั นะเขตเม่ือปี 2552และธนาคารกรุงไทยกาลงั มีโครงการจะเปิ ดสาขาท่ีแขวงหลวงพระบาง
ข้อมูลทางเศรษฐกจิ ของประเทศลาวGDP 5,788 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ขอ้ มูล CIA World Factbook ปี 2552)GDP per capita ประมาณ 918 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ขอ้ มูล CIA World Factbook ปี 2552)อตั ราการเตบิ โตของGDP ประมาณร้อยละ 7.6 (ปี 2552)อตั ราเงนิ เฟ้อ ร้อยละ 0.81 (อตั ราเฉลี่ยปี 2552 ขอ้ มูลจากธนาคารแห่งชาติแห่ง สปป.ลาว)ทรัพยากรสาคญั ไม้ ขา้ ว ขา้ วโพด เหลก็ ถ่านหินลิกไนต์ สงั กะสี ทองคาและแหล่งน้าผลิตไฟฟ้าอตุ สาหกรรมหลกั โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าพลงั น้า เหมืองแร่ ไมแ้ ปรรูป ผลิตภณั ฑไ์ ม้ตลาดส่งออกทส่ี าคญั ไทย เวยี ดนาม ฝรั่งเศส ญ่ีป่ ุน เยอรมนั สหรัฐอเมริกา องั กฤษสินค้านาเข้าทสี่ าคญั รถจกั รยานยนตแ์ ละส่วนประกอบ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เคร่ืองอุปโภคบริโภคตลาดนาเข้าทสี่ าคญั ไทย จีน เวยี ดนาม สิงคโปร์ ญ่ีป่ ุน ออสเตรเลีย
เวลาเร็วกวา่ เวลามาตราฐานกรีนิช 7 ชว่ั โมง (ใชเ้ วลาเดียวกนั กบั ประเทศไทย)ไฟฟ้า220 โวลต์ วงจรกระแสสลบั (เช่นเดียวกบั ประเทศไทย) ปลกั๊ ไฟเป็นแบบขาแบนและขากลม 2ขา เกิดไฟฟ้าดบั บ่อยคร้ังแมใ้ นนครหลวงเวยี งจนั ทนห์ รือเมืองท่องเที่ยวอยา่ งหลวงพระบาง ในชนบทที่ห่างไกลบางแห่งยงั ไม่มีไฟฟ้าใช้ระบบการศึกษา
สปป.ลาวกาหนดใหน้ กั เรียนเรียนช้นั ประถมศึกษา 5 ปี มธั ยมศึกษาตอนตน้ 4 ปี และมธั ยมศึกษาตอนปลาย 3 ปีรวมระยะเวลาศึกษา 12 ปี เมื่อสาเร็จช้นั มธั ยมศึกษาแลว้ นกั เรียนอาจศึกษาต่อในมหาวทิ ยาลยัหรือวทิ ยาลยั เทคนิคปัจจุบนั มีมหาวทิ ยาลยั 5 แห่ง คือมหาวทิ ยาลยั แห่งชาติ (ดงโดก) ต้งั อยทู่ ี่นครหลวงเวยี งจนั ทน์มหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ (เป็นมหาวทิ ยาลยั ท่ีก่อต้งั จากการแยกคณะดา้ นการแพทย์ เช่นแพทยศาสตร์,ทนั ตแพทยศ์ าสตร์, เภสชั ศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั แห่งชาติ)มหาวทิ ยาลยั สุพานุวง แขวงหลวงพระบาง สาหรับรองรับนกั เรียนจากแขวงทางภาคเหนือ มหาวทิ ยาลยั สะหวนั นะเขตและมหาวทิ ยาลยั จาปาสัก สาหรับรองรับนกั เรียนจากแขวงทางภาคใต้ การเขา้ มหาวทิ ยาลยั จะใช้ระบบการสอบคดั เลือกสาหรับสายวชิ าชีพ นกั เรียนตอ้ งจบช้นั มธั ยมปลายจึงจะสมคั รเรียนได้ แบ่งเป็นประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั กลางระยะเวลาศกึ ษา 2 ปี และประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ระยะเวลาศกึ ษา 3 ปีสปป.ลาว มีวทิ ยาลยั เทคนิคในสงั กดั กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 22 แห่งเช่น วทิ ยาลยั เทคนิคสรรพวชิ าวทิ ยาเทคนิคปากป่ าสกั โรงเรียนเทคนิคลาว-เยอรมนั นอกจากน้ียงั มีวทิ ยาลยั ที่สอนเฉพาะทางเช่น วทิ ยาลยั การช่างวทิ ยาลยั ช่างครู วทิ ยาลยั กฎหมาย รวมท้งั มีสถาบนั การศึกษาของเอกชนจานวนหน่ึงเช่น วทิ ยาลยั ลาว-อเมริกนั
วทิ ยาลยั ธุรกิจลาว-สิงคโปร์ และสถาบนั นวตั กรรมเทคโนโลยขี องมหาวทิ ยาลยั ราชธานีจงั หวดั อุบลราชธานี ซ่ึงเปิ ดสอนดา้ นการพยาบาลและคอมพวิ เตอร์โครงสร้างพืน้ ฐานทสี่ าคญั ของประเทศลาวการคมนาคมทางถนนทางหลวงหมายเลข 1 เริ่มจากชายแดนสปป.ลาว ท่ีติดกบั จีนแขวงพงสาลี ผา่ นแขวงพงสาลีหลวงน้าทา อุดมไซหลวงพระบาง และเช่ือมต่อกบั ทางหลวงหมายเลข 6 ท่ีแขวงหวั พนัทางหลวงหมายเลข 2 เชื่อมสปป.ลาว-เวยี ดนาม ต่อจากทางหลวงหมายเลข 3 ท่ีแขวงหลวงน้าทาผา่ นแขวงพงสาลีจากน้นั เชื่อมต่อกบั ทางหลวงหมายเลข 6 ของเวยี ดนามที่เมืองเดียนเบียนฟู มุ่งสู่ฮานอยได้ทางหลวงหมายเลข 3 เป็นส่วนหน่ึงของโครงการ Northern Economic Corridor Project เพือ่เช่ือมโยงไทย-ลาว-จีนจากอาเภอเชียงของ จงั หวดั เชียงราย เขา้ สู่สปป.ลาวที่เมืองหว้ ยทราย แขวงบ่อแกว้(รัฐบาลลาวกาลงั ดาเนินการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4เพอ่ื อานวยความสะดวกแก่การสญั จรตามทางหลวงหมายเลข 3) ผา่ นหลวงน้าทา สู่มณฑลยนูนาน ประเทศจีน
รวมระยะทางจากเชียงรายสู่คุนหมิงประมาณ 1,200 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่ผา่ นสปป.ลาวมีระยะทาง 228 กิโลเมตรทางหลวงหมายเลข 4 เร่ิมต้งั แต่เมืองแก่นทา้ ว แขวงไซยะบุรี ซ่ึงอยตู่ รงขา้ มอ.ท่าลี่ จงั หวดัเลย โดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวขา้ มแม่น้าเหืองเช่ือมท้งั สองฝ่ัง ทางหลวงหมายเลข 4 ตดั ผา่ นแขวงไซยะบุรีไปบรรจบกบั ทางหลวงหมายเลข 13 เหนือท่ีเมืองเชียงเงิน แขวงหลวงพระบาง เสน้ ทางน้ีตอ้ งผา่ นแม่น้าโขงซ่ึงในปัจจุบนั ยงั ไม่มีสะพาน แต่สปป.ลาว กาลงั จะก่อสร้างสะพานขา้ มแม่น้าโขงเพื่อเช่ือมแขวงหลวงพระบางกบั แขวงไซยะบุรี (ปากคอน-ท่าเด่ือ) ความยาว 620 เมตร กวา้ ง 10.5 เมตรและปรับปรุงถนนจากสะพานไปเมืองเชียงเงิน แขวงหลวงพระบาง ระยะทาง 58 กิโลเมตรเป็นถนนลาดยาง
เสน้ ทางน้ีจะอานวยความสะดวกในการเดินทางและขนส่งระหวา่ งจงั หวดั เลยกบั แขวงไซยะบุรีและแขวงหลวงพระบางทางหลวงหมายเลข 7 เช่ือมต่อถนนหมายเลข 13 กบั ถนนที่จะไปเมืองวนิ ห์ ของประเทศเวยี ดนาม ยาว 270 กิโลเมตรลาดยางแลว้ ประมาณ 170 กิโลเมตรทางหลวงหมายเลข 8 แยกจากถนนหมายเลข 13 บริเวณตอนกลางของประเทศ เช่ือมต่อจากประเทศไทยสู่สปป.ลาวที่เมืองปากกระดิ่ง แขวงบอลิคาไซ และเช่ือมต่อกบั ถนนหมายเลข 1 ของเวยี ดนามท่ีมุ่งสู่เมืองวนิ ห์ และฮาติงเม่ือการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งท่ี 3 ขา้ มแม่น้าโขงแลว้ เสร็จ (จงั หวดั นครพนม-แขวงคาม่วน)การเดินทางจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทยไปเวยี ดนามสามารถใชท้ างหลวงหมายเลข 8 ไดส้ ะดวกข้ึนทางหลวงหมายเลข 9 แยกจากถนนหมายเลข 13 ท่ีแขวงสะหวนั นะเขต เช่ือมจากจงั หวดัมุกดาหารของไทยผา่ นทางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 มุ่งสู่เวยี ดนามที่ด่านลาวบาว เป็นถนนสายเศรษฐกิจท่ีสาคญัในปัจจุบนั และอนาคต โดยเฉพาะดา้ นการท่องเท่ียวและการขนส่งสินคา้ จากไทยสู่สปป.ลาวและเวยี ดนามทางหลวงหมายเลข 10 เชื่อมต่อกบั สะพานขา้ มแม่น้าโขงท่ีเมืองปากเซ แขวงจาปาสักและเช่ือต่อกบั จงั หวดั อุบลราชธานีที่ด่านช่องเมก็ทางหลวงหมายเลข 12 เชื่อมทางหลวงหมายเลข 13 ท่ีเมืองท่าแขก แขวงคาม่วนเชื่อมกบั จงั หวดันครพนมของไทย ซ่ึงกาลงั
ก่อสร้างสะพานมิตรภาพแห่งท่ี 3 และเช่ือมต่อกบั ประเทศเวยี ดนามที่ด่านนาเพา้ -จาลอทางหลวงหมายเลข 13 เชื่อมทางตอนใตแ้ ละเหนือของสปป.ลาว เร่ิมจากชายแดนติดประเทศกมั พูชา เลาะเลียบตามแม่น้าโขงถึงนครหลวงเวียงจนั ทนแ์ ละผา่ นไปยงั แขวงอุดมไซ เช่ือมกบั ถนนหมายเลข 7, 8 และ 9ทางหลวงหมายเลข 18 แยกมาจากทางหลวงหมายเลข 13 ใตท้ ่ีแขวงจาปาสัก ตดั ผา่ นแขวงอตั ตะปื อ ไปออกชายแดนประเทศเวยี ดนามที่ด่านพเู กือการคมนาคมทางรถไฟสปป.ลาวมีทางรถไฟสายแรกท่ีเชื่อมจากจงั หวดั หนองคายของไทยไปยงั สถานีท่านาแลง้ บา้ นโคกโพสี เมืองหาดทรายฟองนครหลวงเวยี งจนั ทน์ ระยะทาง 3.5 กิโลเมตรเปิ ดใชอ้ ยา่ งเป็นทางการเม่ือวนั ที่ 5 มีนาคม 2552 รัฐบาลลาวมีโครงการก่อสร้างทางรถไฟช่วงท่ี 2 จากสถานีท่านาแลง้ ไปยงั สถานีเวยี งจนั ทน์ เขตบา้ นคาสวา่ ง (หลงัสนามกีฬาซีเกมส์)ระยะทาง 9 กิโลเมตร ในเร็วๆ น้ีอีกดว้ ย
การคมนาคมทางนา้สปป.ลาวมีแม่น้าโขงไหลผา่ นตลอดท้งั ประเทศ ความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้รวม 1,835 กิโลเมตรแต่มีขอ้ จากดั ทางกายภาพ เช่น เกาะแก่งและระดบั น้า ทาใหม้ ีระยะทางท่ีใชใ้ นการขนส่งเพียง 875 กิโลเมตรเดินเรือไดส้ ะดวกเฉพาะฤดูน้าหลากในเดือนพฤษภาคม-ธนั วาคม ซ่ึงสามารถใชเ้ รือขนาดใหญ่ขนส่งและลาเลียงสินคา้ ไดถ้ ึงลาละ 120-150 ตนั ส่วนช่วงเดือนมกราคม-เมษายน ท่ีน้านอ้ ยตอ้ งใชเ้ รือขนาดเลก็ ขนส่งสินคา้ ไดเ้ พียงประมาณลาละ 40-60 ตนัแม่นา้ สายสาคญั ของประเทศลาว มดี ังนี้ช่ือแม่นา้ เส้นทางจาก – ถึง ความยาว 448 กิโลเมตรแม่น้าอู พงสาลี – หลวงพระบาง 354 กิโลเมตร 338 กิโลเมตรแม่น้างึม เชียงขวาง – เวยี งจนั ทน์ 239 กิโลเมตร 325 กิโลเมตรแม่น้าเซบ้งั เหียง สะหวนั นะเขต 320 กิโลเมตรแม่น้าเซบ้งั ไฟ สะหวนั นะเขต – คาม่วน 103 กิโลเมตร 90 กิโลเมตรแม่น้าทา หลวงน้าทา – บ่อแกว้แม่น้าเซกอง สาละวนั –เซกอง – อตั ตะ ปื อแม่น้ากระด่ิง บอลิคาไซแม่น้าคาน หวั พนั – หลวงพระบาง
แม่น้าแบง อุดมไซ 215 กิโลเมตรแม่น้าเซโดน สาละวนั – จาปาสัก 192 กิโลเมตรแม่น้าเซละนอง สะหวนั นะเขต 115 กิโลเมตรการคมนาคมทางอากาศสนามบินหลกั ของประเทศลาว คือ สนามบินวดั ไตท่ีนครหลวงเวยี งจนั ทน์ มีพ้นื ท่ี 10 ตารางกิโลเมตรรองรับผโู้ ดยสารไดป้ ี ละ 1.5 ลา้ นคน ปัจจุบนั มีสายการบินที่ใหบ้ ริการบินตรงจากนครหลวงเวยี งจนั ทนส์ ู่8 เมืองในต่างประเทศ คือ กรุงเทพ ฮานอย โฮจิมินห์ พนมเปญ เสียมราฐ คุนหมิง หนานหนิงและกวั ลาลมั เปอร์รัฐบาลลาววางแผนจะสร้างสนามบินนานาชาติแห่งใหม่ท่ีกิโลเมตรที่ 21 ทางตะวนั ออกเฉียงใต้ของนครหลวงเวยี งจนั ทน์ขนาด 24 ตารางกิโลเมตร โดยกาหนดศึกษาความเป็นไปไดภ้ ายในปี 2558สนามบินสาคญั อ่ืนๆ ในสปป.ลาว คือ สนามบินหลวงพระบาง ซ่ึงขณะน้ีรัฐบาลจีนไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือเพอ่ื ก่อสร้างสนามบิน แห่งใหม่ มีรันเวยย์ าว3,000 เมตร สามารถรองรับเคร่ืองโบอิง้ 4 ลา และ ATR 7 ลาได้ พร้อมกนั คาดวา่ จะสร้างเสร็จในปี 2556
สนามบินปากเซ มีรันเวยย์ าว 2,400 เมตร กวา้ ง 45 เมตร สามารถรองรับเครื่องบินโบ อิง้ 737 และแอร์บสั A 320 สนามบินสะหวนั นะเขตส่วนเมืองอ่ืนๆ ที่มีสนามบินสาหรับเท่ียวบินภายในประเทศ คือ หว้ ยทราย หลวงน้าทา อุดมไซพงสาลี เชียงขวาง และไซยะบุรีจุดผ่านแดนไทย-ลาวตามกฎระเบียบของไทย จุดผา่ นแดนที่คนไทย - คนลาว และคนจากประเทศท่ี 3 เดินทางผา่ นได้และสามารถขนส่งสินคา้ เขา้ -ออกได้ คือ จุดผา่ นแดนถาวร ซ่ึงชายแดนไทย-ลาวมี 15 แห่ง จุดผา่ นแดนประเภทน้ีฝ่ังลาวเรียกวา่ด่านสากล จุดผา่ นแดนระดบั รองลงมา คือ จุดผอ่ นปรน ซ่ึงฝ่ังลาวเรียกวา่ ด่านทอ้ งถิ่น จุดผา่ นแดนประเภทน้ีอนุญาตใหเ้ ขา้ -ออกไดเ้ ฉพาะคนไทยและคนลาว และไม่ไดเ้ ปิ ดทุกวนั ท้งั น้ี สปป.ลาว มีด่านอีกประเภทหน่ึงเรียกวา่ ด่านประเพณีซ่ึงใหเ้ ขา้ -ออกไดเ้ ฉพาะประชาชนที่อาศยั อยใู่ นพ้ืนที่บริเวณชายแดน ซ่ึงอาจสรุปประเภทของจุดผา่ นแดนไทย-ลาวได้ ดงั น้ี ฝ่ังไทย ฝั่งลาว
จุดผา่ นแดนถาวร ชายแดนไทย - ด่านสากลชายแดนลาว-ไทย มี 9 แห่งลาว มี 15 แห่ง ด่านทอ้ งถ่ินจุดผอ่ นปรนการคา้ ชายแดนไทย - ลาวมี 31 แห่ง ด่านประเพณีไทยมจี ุดผ่านแดนถาวรด้านชายแดน ไทย-ลาว 15 แห่ง ด่าน หมายเหตุด่านสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ 1 เป็นเสน้ ทางคมนาคมขนส่งหลกั ระหวา่ ง ไทยกบั สปป.ลาว
(จังหวดั หนองคาย - นครหลวงเวยี งจนั ทน์)ด่าน อ.เชียงของ เช่ือมโยงกบั เส้นทาง R3A โดยตอ้ งขา้ ม(จังหวดั เชียงราย - เมืองห้วยทราย แขวงบ่อ แม่น้าโขงแก้ว) โดยแพขนานยนต์ แต่ในอนาคตจะมีสะพาน มิตรภาพ ไทย-ลาวแห่งที่ 4ด่านสะพานมิตรภาพน้าเหืองลาว - ไทย เปิ ดใชเ้ มื่อวนั ท่ี 28 ต.ค. 2547 จากด่านไป(อ.ท่าลี่ จ.เลย - เมืองแก่นท้าว แขวงไซยะ เมืองบุรี) หลวงพระบางมีระยะทาง 363 กม. แต่ถนนยงั มีสภาพไม่ดีด่าน อ.บึงกาฬ เชื่อมโยงกบั เส้นทางหมายเลข 8 ในสปป.(จ.หนองคาย - เมืองปากซัน แขวงบอลคิ า ลาวไซ) ใชแ้ พขนานยนตใ์ นการขา้ มแม่น้าโขงด่าน จ.นครพนม เช่ือมโยงกบั เส้นทางหมายเลข 12 ในสปป.(อ.เมือง จ.นครพนม - เมืองท่าแขก แขวงคา ลาวม่วน) ใชแ้ พขนานยนตใ์ นการขา้ มแม่น้าโขง แต่ใน อนาคตจะ มีสะพานมิตรภาพไทย - ลาวแห่งท่ี 3ด่านสะพานมิตรภาพไทย - ลาวแห่งท่ี 2 เชื่อมโยงกบั เสน้ ทางหมายเลข 9 ตามแนว
(จังหวดั มุกดาหาร - แขวงสะหวนั นะเขต) East – West Economic Corridor ไปสู่ท่าเรือในเวยี ดนามได้ด่านช่องเมก็ เป็นจุดผา่ นแดนสู่แขวงภาคใตข้ องสปป.(อ.สิรินธร จ.อบุ ลราชธานี - วงั เต่า แขวง ลาว และจาปาสัก) สามารถเดินทางไปเวียดนามไดท้ างด่านพู เกือ แขวงอตั ตะปื อด่านหว้ ยโก๋น เป็ นเส้นทางสู่ เมืองหลวงพระบางและแขวง(อ.เฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั น่าน - เมือง ภาคเหนือเงิน แขวงไซยะบุรี) ของสปป.ลาว รัฐบาลลาวกาลงั จะก่อสร้าง สะพาน ขา้ มแม่น้าโขงท่ีเมืองปากแบง แขวงอุดมไซด่านสถานีรถไฟหนองคาย เปิ ดใชเ้ ม่ือเดือน มิถุนายน 2553 มีเฉพาะการ(จงั หวดั หนองคาย – ท่านาแล้ง นครหลวง ขนส่งเวยี งจนั ทน์) ผโู้ ดยสาร ไม่มีการขนส่งสินคา้ เพราะยงั ไม่มี คลงั สินคา้ท้งั น้ี มีจุดผา่ นแดนถาวร 6 แห่ง ท่ีด่านฝ่ังตรงขา้ มในสปป.ลาว เป็นด่านทอ้ งถิ่น คนจากประเทศที่ 3 จึงเดินทางผา่ นด่านเหล่าน้ีไม่ได้ ไดแ้ ก่
จุดผา่ นแดนถาวรบา้ นเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ตรงขา้ มด่านเมืองตน้ ผ้งึ แขวง บ่อแกว้ จุดผา่ นแดนถาวร อ.เชียงคาน จ.เลย ตรงขา้ มด่านเมืองซะนะคาม แขวงเวยี งจนั ทน์ จุดผา่ นแดนถาวรบา้ นคกไผ่ อ.ปากชม จ.เลย ตรงขา้ มด่านบา้ นวงั เมืองหม่ืน แขวง เวยี งจนั ทน์ จุดผา่ นแดนถาวรท่าเสดจ็ อ.เมือง จ.หนองคาย ตรงขา้ มด่านท่าเดื่อ นครหลวง เวยี งจนั ทน์ (เดิมด่านท่าเดื่อ เป็ นด่านสากล แต่หลงั เปิ ดใช้สะพานมติ รภาพไทย-ลาวแห่ง ท่ี 1 ด่านสากลจงึ ย้ายไปทส่ี ะพานแทน) จุดผา่ นแดนถาวร อ.เมือง จ.มุกดาหาร ตรงขา้ มด่านเมืองไกสอน พรหมวหิ าน แขวง สะหวนั นะเขต (เดิมด่านเมืองไกสอน พรหมวหิ าน เป็ นด่านสากล แต่หลงั เปิ ดใช้สะพาน มติ รภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 ด่านสากลจงึ ย้ายไปทส่ี ะพานแทน และรัฐบาลลาวได้ลดระดับ ด่านเป็ นด่านท้องถ่นิ ) จุดผา่ นแดนถาวรบา้ นปากแซง กิ่งอาเภอนาตาล จ.อุบลราชธานี ตรงขา้ มด่านบา้ นปาก ตะพาน แขวงสาละวนัสปป.ลาว มีจุดผา่ นแดนทางบกท่ีเป็นด่านสากลกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นอ่ืนๆ คือ พม่า จีนเวยี ดนาม และกมั พชู า อีก 10 ด่านและมีด่านสากลในสนามบิน 4 แห่ง ดงั น้ีด่านสากลลาว – พม่า ด่านเมืองมอม แขวงบ่อแกว้ – วงั ป่ ุง ท่าข้ีเหลก็
ด่านสากลลาว – จนี ด่านบ่อเตน็ แขวงหลวงน้าทา – บ่อหาน (เสน้ ทาง R3)ด่านสากลลาว – เวยี ดนาม ด่านน้าโสย แขวงหวั พนั – นาแมว ด่านน้ากน่ั แขวงเชียงขวาง – น้ากน่ั ด่านน้าพาว แขวงบอลิคาไซ – เกาแจ่ว (ทางหลวงหมายเลข 8) ด่านนาเพา้ แขวงคาม่วน – จาลอ (ทางหลวงหมาย 12) ด่านแดนสะหวนั แขวงสะหวนั นะเขต – ลาวบาว (ทางหลวงหมายเลข 9) ด่านปางหก แขวงพงสาลี – ไตจาง ด่านพเู กือ แขวงอตั ตะปื อ – เบออี (ทางหลวงหมายเลข 18) ด่านสากลลาว – กมั พชู า ด่านหนองนกเขียว – ตราเปรียงเกรียนด่านสนามบนิ สากล ด่านสนามบินหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบาง ด่านสนามบินวดั ไต นครหลวงเวยี งจนั ทน์ ด่านสนามบินปากเซ แขวงจาปาสัก ด่านสนามบินสะหวนั นะเขต แขวงสะหวนั นะเขตดอกไม้ประจาชาติ
“ดอกจาปา” หรือที่คนไทยเรียกวา่ “ดอกลีลาวดี” สามารถพบเห็นไดท้ วั่ ทุกหนแห่งในประเทศลาว ชาวลาวนิยมนาดอกจาปามาทาเป็นพานบายสีสู่ขวญั ถวายพระ และนามาร้อยเป็นพวงมาลยั เพอ่ื ตอ้ นรับแขกบา้ น - แขกเมืองตามประเพณีอนั ดีงามมาแต่โบราณกาล ดอกจาปาท่ีเป็นดอกไมป้ ระจาชาติของลาว จะมี 5 กลีบสีขาวปนเหลืองบานซอ้ นกนั อยใู่ นดอกเดียวซ่ึงเปรียบเสมือนความเจริญรุ่งเรืองใบสีเขียวอ่อน เปรียบเสมือนความอุดมสมบูรณ์ของป่ าไม้และธรรมชาติจนมีคากล่าวกนั วา่ “ดอกจาปาทส่ี วยทสี่ ุดจะบานอยู่ใน ประเทศลาวเท่าน้ัน”
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: