ฮอร์โมนทคี่ วบคุมการสืบพนั ธุแ์ ละการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตถูกควบคุมโดยฮอร์โมนหลายชนิด คือ กลุ่มฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธ์ุ กลมุ่ ฮอรโ์ มนจากตอ่ มหมวกไตส่วนนอก กลุม่ ฮอร์โมนจากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ และกลุ่มฮอร์โมนจากตอ่ มไทรอยด์ 3.1 กล่มุ ฮอร์โมนจากอวยั วะสืบพันธ์ุ อวัยวะสืบพันธุ์เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลางดังนั้น ฮอร์โมนที่สร้างจึงเป็นพวกสารสเตอรอยด์ (steroid hormone) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ พวกฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย และฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธ์ุ เพศหญงิ 1. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ฮอร์โมนเพศชายสร้างจากอัณฑะ (testis) ภายในอัณฑะมีกลุ่ม เซลล์ซึ่งมีหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมน คือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ออฟเลย์ติก อยู่ระหว่างหลอดสร้าง อสุจิ เมื่อเซลล์ชนิดนี้ถูกกระตุ้นโดย ICSH หรือ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า จะสร้างฮอร์โมนเพศ ชายที่เรียกกกันว่า แอนโดรเจน(androgen)ตัวที่สำคัญที่สุด คือ เทสโทสติโรน(testosterone) ซึ่งมี หน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (male secondary characteristic) ซึ่งได้แก่ การมีเสียงแตก นมขึ้นพาน มีหนวดขึ้น มีขนขึ้นอวัยวะเพศ มี ความตอ้ งการทางเพศ มผี ลในการกระตนุ้ ใหม้ กี ารสรา้ งโปรตนี มากขนึ้ และเกดิ การสะสมของโปรตีนใน เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ยังมีผลร่วมกับโกนาโดโทรฟิน (LH และ FSH) จากต่อมใต้สมองในการ กระตนุ้ การสรา้ งอสจุ ิของหลอดสร้างอสุจิดว้ ย ตำแหนง่ อนิ เติรส์ ติเชียลเซลลข์ องหลอดสร้างตัวอสจุ ิ
2. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง ฮอร์โมนเพศหญิงสร้างมาจากรังไข่ (ovary) มีฮอร์โมนสำคัญ 3 ชนดิ คอื 2.1 อีสโทรเจน (estrogen)อีสโทรเจนสรา้ งมาจากเนื้อเย่ือขอบนอกของแกรเฟียนฟอลลิเคลิ ท่ีเรียกว่า ทีกาอินเทอร์นา (theca interna)ฮอร์โมนนี้มีหน้าที่ในการกระตุ้นและควบคุมลักษณธขั้นที่สอง ของเพศหญิง (fwmale secondary characteristic) โดยกระตุ้นให้ต่อมน้ำนมเจริญเติบโตขึ้น กระตุ้นการเจริญของอวัยวะเพศ กระตุ้นมดลูกท่อนำไข่ การเกิดขนที่อวัยวะเพศ ควบคุมการมี ประจำเดือนร่วมกับฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน เมื่อปริมาณอีสโทรเจนสูงขึ้น จะมีผลให้ LH สูงขึ้น และกระตุน้ ให้เกิดการตกไข่ด้วย ภาพตดั ขวางของรังไข่แสดงฟอลลเิ คลิ และคอร์ปสั ลูเทียม
2.2 โพรเจสเทอโรน (progesterone) โพรเจสเทอโรนสร้างมาจากคอรพ์ สั ลูเทียม (corpus luteum) ของรงั ไข่ เม่ือตกไข่แล้ว ผนังของฟอลเิ คิลทีไ่ ข่ตกจะเปล่ียนแปลงไปเป็นเน้ือเย่ือสีเหลือง โดยการ กระตุน้ ผวิ หนังมดลูกให้หนาข้ึน (รว่ มกบั อสี โทรเจน) เพือ่ เตรยี มพร้อมในการฝังตวั ของไข่ซึง่ ได้รบั การผสมแล้วมีผลในการหา้ มประจำเดือน หา้ มการตกไข่ และการกระตุ้นการเจริญเตบิ โตของ ตอ่ มน้ำนมดว้ ย ถ้าหากไข่ท่ไี ม่ไดร้ บั การผสม คอร์พัสลเู ทียมจะค่อย ๆ สลายไป โพรเจสเทอโรนจงึ ลดตำ่ ลง จงึ ไม่มีฮอรโ์ มนไปกระตนุ้ มดลูกอีกทำให้ผนังมดลูกแตกสลายและเหตุลอกออกมา เป็น เลือดประจำเดือน ภาพตัดขวางของรังไขแ่ สดงฟอลลเิ คิลและคอร์ปัสลเู ทียม 2.3 รีแลกซิน (relaxin) เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากรังไข่ ขณะที่ตั้งครรภ์ เป็นสารพวกโปรตีนมีผลใน การกระตนุ้ การคลาตวั เอน็ ทีย่ ึดกระดกู เชิงกราน เพ่อื ให้คลอดลกู ได้งา่ ยข้นึ
3.2 กลุ่มฮอรโ์ มนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก ต่อมหมวกไต ( Adrenal gland ) - ต่อมหมวกไตต้ังอยู่ทด่ี ้านบนของไตทั้งสองข้าง จงึ เรยี กวา่ ต่อมหมวกไต แต่ละต่อมประกอบด้วย เน้อื เยอ่ื 2 ช้ันคอื - ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์ ( adrenal cortex ) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อท่ี แตกตา่ ง 3 ชนิด - ตอ่ มหมวกไตด้านในหรอื อะดรนี ัลเมดลั ลา ( adrenal medulla ) ซ่งึ ท้ังสองส่วนจะผลิตฮอรโ์ มนพวกสารสเตอรอยด์ท่ที ำหนา้ ทีต่ ่างกนั - การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้องอาศัยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองส่วน หนา้ มากระตุ้น - ต่อมหมวกไตมีความสำคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่สามารถมี ชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกล่มุ น้จี ะควบคุมเมแทบอลซิ ึมของ คาร์โบไฮเดรท ไขมนั และโปรตนี รกั ษาระดับสาร น้ำในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อเหตุการณ์ต่างๆทั้งในชีวิตประจำวันและยาม ฉกุ เฉนิ
3.3 กลมุ่ ฮอร์โมนจากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหรืออะดิโนไฮโปไฟซีส (anterior pituitary gland หรือ adenohypophysis) เปน็ ฮอร์โมนพวกโปรตนี ทำหน้าท่ีสรา้ งฮอร์โมน 2 ประเภทคอื - กลุ่มแรกเป็นฮอร์โมนที่ไปกระตุ้นให้อวัยวะเป้าหมายสร้างฮอร์โมนออกมาเรียกฮอร์โมนพวกน้ี ว่าฮอร์โมนกระตุ้นซ่ึงจะมีคำต่อท้ายว่า \" trophic hormone, trophin หรือ stimulating hormone \" ไดแ้ ก่ - อะดรีโนคอร์ตโิ คโทรฟริกฮอรโ์ มน ( adrenocortico trophic hormone )เรยี กยอ่ ว่า ACTH - ไทรอยด์ สตมิ เู ลติงฮอร์โมน ( thyroid stimulating hormone ) เรียกยอ่ วา่ TSH - ลูทิไนซิง ฮอร์โมน ( luteinizing hormone ) เรียกย่อว่า LH หรือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ สติ มวิ เลติงฮอรโ์ มน ( interstitial cell stimulating hormone) เรียกย่อวา่ ICSH - ฟอลลเิ คลิ สตมิ ิวเลตงิ ฮอรโ์ มน ( follicle stimulating hormone )เรียกยอ่ ว่า FSH - กลุ่มสองเปน็ ฮอร์โมนที่ไปมีผลต่ออวัยวะเปา้ หมายโดยตรงไมไ่ ด้กระตุน้ ใหอ้ วยั วะเป้าหมายสร้าง ฮอร์โมน ได้แก่ - โกรทฮอร์โมน ( growth hormone ) เรียกยอ่ วา่ GH หรือ โซมาโตโทรฟริน ( somatotrophin ) เรียกย่อวา่ STH - โพรแลกทนิ (prolactin ) เรียกยอ่ วา่ PRL ฮอร์โมนจากตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า
3.4 กลุ่มฮอร์โมนจากตอ่ มไทรอยด์ ไทรอกซินในมนุษย์นอกจากทำหน้าที่ควบคุมอัตราเมแทบอลิซึมของร่างกายดังกล่าวแล้วยัง ควบคุมการเจริญเติบโของร่างกายและการเจริญของสมอง การขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะมีผลให้พัฒนาการทาง ร่างกายและสมองด้อยลง การเจริญเติบโตชา้ กวา่ ปกตแิ ละปัญญาอ่อน
สมาชกิ 1. นางสาวกงั ดาล ชาตไิ ทย เลขที่ 15 2. นางสาวณัฐวิลยั บรรลอื ทรัพย์ เลขท่ี 16 3. นางสาววชริ าภรณ์ สตภิ า เลขที่ 21 4. นางสาวพัศรา พอกพูน เลขท่ี 23 5. นางสาววศินี จำปาต้น เลขที่ 25 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/3
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: