Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไวรัสเด็งกี

ไวรัสเด็งกี

Published by afanan5434, 2022-08-17 14:03:54

Description: ไวรัสเด็งกี

Keywords: ไวรัส(virus)

Search

Read the Text Version

ไ ว รั ส e เ ด็ ง กี (D en gu vir us )

ไวรัสเด็งกี ( Dengue Virus ) เป็นไวรัสซึ่งก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออก

ชนิดของไวรัสเด็งกี Type of Dengue Virus den-1 DEN-3 DEN-2 DEN-4

den-1 DEN-2 DEN-3 DEN-4 ภูมิคุ้มกันที่เกิดจะอยู่ได้เพียง 6-12 เดือน

den-1 DEN-2 DEN-3 DEN-4 มีภูมิคุ้มกันที่เคยป่วยตลอดชีวิต

ดังนั้น คนเราจึงมีโอกาสติดเชื้อ ไข้เลือดออกได้หลายครั้ง

พาหะนำเชื้อที่สำคัญ ยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเด็งกี เมื่อกัดแล้วจะถ่ายทอดเชื้อทันที สิ่งที่ต้องจำไว้คือ ยุงลายกินเลือดตอนกลางวัน ยิ่งถ้ามีน้ำขังแบบนิ่ง ยุงลายพร้อมวางไข่ทุกเมื่อ แม้ยุงลายจะมีอายุเพียง 7 วัน แต่ยุงลายพบมากในชุมชนและบ้านคนมากที่สุด โอกาสที่จะได้รับเชื้อไวรัสเด็งกีจึงเกิดขึ้นได้ทุกเวลา

อาการ โรคไข้เลือดออกเด็งกี

แบ่งออกเป็น 3 ระยะ — ระยะไข้

แบ่งออกเป็น 3 ระยะ — ระยะไข้ — ระยะวิกฤติ — ระยะฟื้ นตัว

ลักษณะเฉพาะ โรคไข้เลือดออกเด็งกี

— ไข้สูงเฉียบพลันเกิน 38.5 C — เบื่ออาหาร หน้าแดง ปวดศีรษะ อาเจียน — ผื่นจุดสีแดง หรือจุดเลือดออกเล็กๆ ขึ้นตามลำตัว แขน ขา หรือ ถ่ายอุจจาระดำ — มีภาวะช็อค เมื่อไข้ลดลงอย่างรวดเร็ว มือเท้าเย็น ชีพจรเบาและเร็ว — ตับโต กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา

ข้อควรระวัง การดูแลรักษาโรคไข้เลือดออกเด็งกี

1. ผู้ป่วยที่ช็อกจะมีสภาพร่างกายที่ปกติ 2. ประจำเดือน 3. อาการปวดท้องมาก 4. ผู้ป่วยที่มีโรคความดันสูง

วิธีป้องกันตัวเอง จากเชื้อไวรัสเด็งกี

1. ป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด ____________________________ ____________________________ ____________________________ ____________________________

2. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบริเวณบ้าน และบริเวณใกล้เคียง ____________________________ ____________________________ ____________________________ ____________________________

3. ฉีดวัคซีนป้องกันไข้เลือดออก ____________________________ ____________________________ ____________________________ ____________________________

อย่าให้เป็นไข้เลือดออกครั้งที่ 2 ! หากติดเชื้อซ้ำครั้งที่สองกับไวรัสเด็งกีสายพันธุ์ที่ต่างจากตัวแรก อาจกลายเป็นกระตุ้นให้เชื้อรุนแรงกว่าเดิม ทำให้อาการที่ปรากฏรุนแรงขึ้น