1 1 สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยวรางกูร พระนาม : สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู พระราชสมภพ : 28 กรกฏาคม พ.ศ.2495 พระราชประวัติ : สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระ ปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ พระบรมราชนิ ีนาถ เสดจ็ พระราชสมภพเม่ือวันจันทร์ท่ี 28 ก.ค. 2495 ณ พระท่นี ่ังอัมพรสถานพระราชวงั ดุสิต ได้รับพระราชทานพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอเจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ ทรง มีพระเชษฐภคนิ ี คือ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี และพระขนิษฐา 2 พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจา้ ฟ้ามหาจกั รีสริ ินธร รัฐสีมาคุณากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกุมารี และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้า ฟา้ จุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี พระเกียรติยศ : สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู (1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 — ปัจจุบัน) พระราชกรณยี กิจ 1.ด้านการศึกษา - ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชทรัพย์ร่วมสนบั สนนุ ให้กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กอ่ ต้ังโรงเรียนมธั ยมศึกษาในถนิ่ ทรุ กันดาร 6 แห่ง ทรงรับโรงเรียนไว้ในพระราชูปถมั ภ์ พระราชทานวสั ดอุ ปุ กรณ์การศกึ ษาที่ทันสมยั เช่น คอมพวิ เตอร์ โทรทัศน์ วิดีทัศน์ และในด้านการอุดมศกึ ษา 3.ด้านสงั คมสงเคราะห์ - ทรงพระกรณุ าห่วงใยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะเยาวชนทีด่ อ้ ย โอกาส ได้เสด็จฯ ไปทรงเย่ียมชุมชนแออัดของกรุงเทพฯ หลายแห่ง เชน่ ชมุ ชนแออัดพระโขนง เขตคลองเตยและ พระราชทานพระราชทรพั ย์สนับสนุนโครงการของชมุ ชน 4.ด้านการตา่ งประเทศ - ทรงเสด็จพระราชดำเนนิ แทนพระองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยือนมิตรประเทศทวั่ ทุกทวปี เชน่ ประเทศอิตาลี สาธารณรัฐ ประชาชนจนี ญปี่ ุ่น สิงคโปร์ นอกจากจะมุ่งเจริญสมั พนั ธไมตรแี ล้ว ยงั ทรงสนพระราชหฤทยั ในการทอดพระเนตร และศกึ ษากจิ การต่างๆ ท่ีจะทรงนำประโยชนม์ าใช้ในการพฒั นาประเทศไทย
22 6. ด้านพระศาสนา - ทรงเสดจ็ ฯ แทนพระองคไ์ ปปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจทางศาสนาเปน็ ประจำสมำ่ เสมอ เชน่ ทรง เปล่ียนเครอื่ งทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร รวมถึงการเสด็จพระราชดำเนนิ ไปในการพระราชทานถว้ ยรางวลั การอญั เชญิ พระมหาคัมภรี อ์ ัลกุรอา่ นระดับประเทศ 7.ด้านการกฬี า - ทรงพระราชทานพระราชานุญาตใหจ้ ัดงานกจิ กรรมปน่ั จักรยาน “Bike อุ่นไอรัก” ในงาน “อุน่ ไอ รัก คลายความหนาว สายน้ำแห่งรตั นโกสนิ ทร”์ ทรงพระราชทานเสื้อสำหรบั ใส่ปนั่ จกั รยาน และน้ำดืม่ พระราชทาน ให้กบั ประชาชนผทู้ ่เี ขา้ รว่ มกิจกรรม และทรงนำประชาชนป่นั จกั รยาน “Bike อนุ่ ไอรัก” เสน้ ทางพระลานพระราชวัง ดุสิต – สวนสขุ ภาพลัดโพธ์ิ 8.ดา้ นการทหาร - ทรงสนพระราชหฤทยั ในวิทยาการด้านการทหารมาตงั้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ นอกจากทรงรับ การศึกษาด้านการทหารจากประเทศออสเตรเลียแล้ว ยงั ทรงพระวิรยิ ะอตุ สาหะเพ่ิมพนู ความรูแ้ ละประสบการณ์อยู่ ตลอดเวลา โดยเฉพาะในด้านวิทยาการการบนิ ทรงรับราชการทหารมาโดยตลอดต้ังแต่วนั ท่ี 9 ม.ค.2518 และทรง ดำรงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทพั คือ พล.อ. พล.ร.อ. พล.อ.อ. โดยทรงเข้าร่วมปฏิบตั กิ ารรบในการตอ่ ต้านการ กอ่ การร้าย 9.ด้านการบิน - ทรงปฏบิ ตั ิหนา้ ที่นักบนิ ที่ 1 เคร่อื งบนิ โบอิ้ง 737–400 ในเทยี่ วบนิ สายใยรกั แห่งครอบครวั ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบอทุ กภัย และจัดหาอุปกรณ์ดา้ นการแพทย์ สำหรบั โรงพยาบาลใน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 10.ด้านราชการ - 9 มกราคม พ.ศ. 2535 - ปัจจบุ ัน ทรงดำรงตำแหนง่ ผู้บัญชาการหนว่ ยบัญชาการถวายความ ปลอดภัย สำนักผู้บัญชาการทหารสูงสดุ ปัจจบุ ันคือ หนว่ ยบญั ชาการถวายความปลอดภยั รกั ษาพระองค์ เป็นสว่ น ราชการในพระองค์
33 สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง พระนาม : สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ประสูติ : 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2475 พระราชประวัติ : จอมพลหญิง จอมพลเรือหญงิ จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ (พระ นามเดิม: หม่อมราชวงศส์ ริ ิกติ ิ์ กติ ิยากร;) เปน็ สมเด็จพระบรมราชินนี าถในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ย เดช เนือ่ งจากสมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินี เป็นผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองคข์ ณะท่พี ระราชสวามีเสดจ็ ออก ผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม ถงึ 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2499พระองคจ์ ึงได้รับการสถาปนาข้นึ เปน็ สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวนั ท่ี 5 ธันวาคมปเี ดยี วกันนัน้ ถอื เป็นสมเด็จพระบรมราชินนี าถพระองค์ทีส่ องของกรุง รตั นโกสินทรต์ ่อจากสมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระบรมราชนิ นี าถในรัชกาลที่ 5(ภายหลังคือ สมเดจ็ พระศรพี ัชริน ทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง) พระเกียรตยิ ศ :สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – ปจั จบุ นั ) พระราชกรณยี กิจ :ทรงปฏิบตั ิพระราชภารกจิ มากมาย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงภารกิจในการส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ อาชพี และ ความเป็นอยู่ของบุคคลผยู้ ากไร้ และประชาชนในชนบทหา่ งไกล ได้โดยเสดจ็ พระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัวไปท่ัวทุกหนแหง่ ในแผ่นดนิ ไทยโครงการทม่ี ีสาขาขยายกว้างขวางไปทั่วประเทศโครงการหนงึ่ กค็ ือ โครงการ ส่งเสรมิ ศลิ ปาชีพ ซ่งึ ในภายหลงั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯใหก้ อ่ ตั้ง เป็นมูลนิธิ พระราชทานนามว่า “มลู นธิ ิส่งเสริมศิลปะ ชพี พิเศษในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ”์ และยังทรงเอาพระทยั ใส่ในกิจการด้านสาธารณสุข โดยได้ทรงดำรงตำแหนง่ สภานายิกาสภากาชาดไทยและหากเสด็จฯ เยือนตา่ งประเทศ กม็ กั จะทรงถอื โอกาสเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรกิจการกาชาดของประเทศน้นั ๆ และยงั ทรงปฏิบัติพระราชกรณยี กิจด้านการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศมาอยา่ งตอ่ เนอื่ งยาวนาน เปน็ ท่ีประจกั ษแ์ กส่ าธารณชนทงั้ ในและ ตา่ งประเทศ มีผลสำเร็จอย่างเปน็ รปู ธรรม เพอื่ เป็นการรำลกึ ถึงพระมหากรุณาธิคุณในการอนรุ ักษ์ คุ้มครอง และฟ้ืนฟู ความหลากหลายทางชวี ภาพ อนั เปน็ ฐานการดำรงชีวติ ของพสกนิกร และในด้านการเกษตร จะทรงเนน้ ในเรอ่ื งของการ ค้นคว้า ทดลอง และวิจยั หาพันธุ์พชื ใหม่ ๆ ทัง้ พืชเศรษฐกจิ พชื สมุนไพร รวมถงึ การศึกษาเกี่ยวกบั แมลงศตั รพู ืช และพันธุ์ สตั วต์ า่ ง ๆ ท่ีเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถิ่นน้ัน ๆ ซึ่งแตล่ ะโครงการจะเน้นใหส้ ามารถนำไปปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ มรี าคาถูก ใช้ เทคโนโลยงี า่ ย ไมส่ ลบั ซับซ้อน เกษตรกรสามารถดำเนนิ การเองได้
44 พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอย่หู วั พระนาม : พระบาทสมเดจ็ พระปวเรนทราเมศมหิศเรศรงั สรรค์ พระปิน่ เกล้าเจา้ อยู่หัว พระราชสมภพ : 4 กนั ยายน พ.ศ.2351 สวรรคต : 7 มกราคม พ.ศ.2508 พระราชประวตั ิ : เปน็ พระราชบุตรลำดบั ที่ 50 ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยกบั สมเดจ็ พระศรีสรุ เิ ยนทราบรม ราชินี เสดจ็ พระราชสมภพในรชั กาลท่ี 1 ณ พระราชวังเดิม คลองบางกอกใหญ่ อันเปน็ ท่ปี ระทบั ของสมเด็จพระราชบดิ า ซึง่ ใน ครง้ั นนั้ เรยี กว่าพระบวรราชวงั ใหม่ หลงั พระองคป์ ระสูติได้ประมาณ 1 ปี พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช เสดจ็ สวรรคต สมเด็จพระราชบิดาของพระองค์เสด็จขน้ึ ครองราชสมบัติเปน็ พระมหากษัตริย์รชั กาลท่ี 2 แห่งราชวงศจ์ ักรี เม่ือ พระองคม์ พี ระชนมายไุ ด้ 12 พรรษา 6 เดือน มกี ารพระราชพธิ โี สกนั ต์อยา่ งธรรมเนยี ม หลังจากนนั้ เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ผนวชเป็นสามเณร ณ วัดพระศรีรตั นศาสดา เม่ือพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระประชวรและเสดจ็ สวรรคต เมอื่ พระองค์มพี ระชนมายไุ ด้ 21 พรรษา ผนวชเปน็ พระภิกษุ ณ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม และเสดจ็ ไปประทับ ณ วดั ระฆังโฆสิตารามวรมหาวหิ าร หลังจากลาผนวชพระองค์จึงเข้ารับราชการในพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หวั และเม่ือพระองค์มีพระชนมายุได้ 24 พรรษา ได้ทรงบังคับบญั ชากรมทหารปนื ใหญ่ กรมทหารแม่นปนื หนา้ ปนื หลงั และญวนอาสารบแขก อาสาจาม หลังจากพระราชพิธบี วรราชาภิเษกแลว้ พระองคก์ เ็ รมิ่ ทรงพระประชวรบอ่ ยครั้ง หา สมุฏฐานของพระโรคไม่ได้ จนกระท่ังประชวรด้วยวณั โรคและเสดจ็ สวรรคต สิรพิ ระชนมายุ 58 พรรษา ทรงอยู่ในบวรราช สมบัตทิ ัง้ สิน้ 15 ปี มพี ระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพเมอ่ื วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2409โดยมีการจดั การแหพ่ ระเมรมุ าศ พระบวรศพเช่นเดยี วกบั พระศพสมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรกั ษ์ แต่เพิ่มเติมพระเกียรติยศพิเศษขึน้ หลายประการตาม พระยศท่ีทรงเป็นพระมหากษตั ริยพ์ ระองคท์ ่ี 2
55 ประวัตขิ องเรือที่พระองคท์ รงมีใช้ในสมัยนน้ั 1.เรือพุทธอำนาจ (Fairy) สรา้ งเม่ือ พ.ศ. 2379 เปน็ เรอื ชนิดบาร์ก (Barque) 2เรือราชฤทธิ์ (Sir Walter Scott) สรา้ งเม่อื พ.ศ. 2379 เปน็ เรอื ชนดิ บารก์ (Barque) 3.เรอื อุดมเดช (Lion) สร้างเมือ่ พ.ศ. 2384 เป็นเรือชนดิ บารก์ (Bark) 4.เรอื เวทชงัด (Tiger) สรา้ งเม่อื พ.ศ. 2386 เป็นเรือชนดิ สกเู นอร์ (Schooner) 5.เรอื พุทธสงิ หาศน์ (Cruizer) สรา้ งเมอื่ พ.ศ. 2398 เปน็ เรอื ชนิดชิพ 6.เรอื มงคลราชปักษี (Falcon) ซื้อเมอ่ื พ.ศ. 2400 เดิมเป็นเรือของชาวอเมริกนั ชนิดสกูเนอร์ (Schooner) พระเกยี รติยศ : เจา้ ฟา้ พระองคน์ อ้ ย (4 กนั ยายน พ.ศ. 2351 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2375) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 - 15 พฤษภาคม 2394) สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้าอิศเรศจุฑามณี (15 พฤษภาคม 2394 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394) พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจา้ อยู่หัว (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 - 7 มกราคม พ.ศ. 2408) พระราชกรณยี กิจ :พระองคโ์ ปรดการทหาร จึงทรงสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกบั อาวธุ ยทุ ธภัณฑ์เปน็ พิเศษ เท่าทคี่ น้ พบพระบรม ฉายาลักษณข์ องพระองค์น้นั ก็มักจะทรงฉลองพระองคเ์ ครื่องแบบทหาร และเปน็ เครื่องแบบทหารเรือด้วย แตเ่ ปน็ ที่นา่ เสียดายวา่ ไม่มีการบันทึกพระราชประวตั ิในสว่ นท่ีทรงสร้างหรอื วางแผนงานเกีย่ วกบั กิจการทหารใด ๆ ไว้บ้างเลย แมใ้ นพระ ราชพงศาวดาร หรอื ในจดหมายเหตุตา่ ง ๆ ก็ไมม่ กี ารบันทึกผลงานพระราชประวัติในสว่ นน้ไี ว้เลย และแม้พระองคเ์ องก็ไมโ่ ปรด การบนั ทกึ ไมม่ ีพระราชหตั ถเลขา หรอื มีแต่ไม่มีใครเอาใจใสท่ อดท้ิง หรอื ทำลายก็ไมอ่ าจทราบได้ แตถ่ งึ กระนัน้ กย็ ังมีงานเด่นที่ มหี ลกั ฐานทั้งของฝรง่ั และไทยกล่าวไว้ แมจ้ ะนอ้ ยนิดแต่กแ็ สดงให้เหน็ ถึงการรเิ ริม่ ท่ีล้ำหน้ากวา่ ประเทศเพอ่ื นบา้ น ทรงบังคับ บัญชาทหารเรือวังหนา้ ส่วนทหารเรอื บา้ นสมเดจ็ อยใู่ นปกครองบงั คับบัญชาของสมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ ในยาม ปกตทิ งั้ 2 ฝา่ ย น้ี ไม่ข้นึ แก่กนั แตข่ นึ้ ตรงตอ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกล้า ฯ ทรงฝกึ ฝนทหารของ พระองค์ โดยใช้ทง้ั ความรแู้ ละความสามารถ และ ยงั ทรงมุง่ พระราชหฤทยั ในเรื่องการค้าขายใหม้ กี ำไร สแู่ ผน่ ดินด้วยมใิ ช่สรา้ ง แต่เรอื รบเพราะได้ทรงสร้างเรอื เดินทะเล เพ่ือการคา้ ระหวา่ งประเทศอกี ด้วย นอกจากนีพ้ ระองค์ไดท้ รงนำเอาวทิ ยาการ สมัยใหมข่ องยโุ รป มาใชฝ้ ึกทหารใหม้ ีสมรรถภาพเป็นอย่างดี ทรงใหร้ ้อยเอก โทมัส นอ็ กส์ (Thomas George Knox) เปน็ ครู ฝกึ ทหารวงั หนา้ ทำให้ทหารไทยไดร้ ับวทิ ยาการอันทนั สมยั ตามแบบ ทหารเกณฑห์ ัดอยา่ งยุโรป
66 กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ช่อื :กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ประสูติ : 6 กนั ยายน พ.ศ.2381 ทวิ งคต : 28 กนั ยายน พ.ศ.2428 พระประวตั ิ : เมื่อแรกประสตู ิพระองคม์ ีพระอิสริยยศที่หมอ่ มเจา้ โดยพระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอยหู่ ัวพระราชทานพระ นามวา่ \"ยอร์ชวอชงิ ตนั \" ตามชื่อของจอร์จ วอชิงตนั อดีตประธานาธบิ ดีสหรัฐอเมริกาคนแรก คนทวั่ ไปออกพระนามวา่ ยอด ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ พระราชทานพระนามให้ใหมว่ ่า \"พระองคเ์ จา้ ยอดย่งิ ยศ บวรราโชร สรตั นราชกุมาร\" และได้รบั การสถาปนาเปน็ พระองคเ์ จ้าต่างกรมที่ \"กรมหมน่ื บวรวไิ ชยชาญ\" เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๔ และไดร้ ับ พระราชทานอุปราชาภเิ ษกเปน็ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เมอื่ พระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยหู่ ัวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวกไ็ ม่ไดท้ รงแต่งตง้ั ผใู้ ดขึ้นดำรงตำแหนง่ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หนา้ ) เพราะในขณะน้ันพระราชโอรสพระองค์โต คือ \"เจ้าฟ้าจฬุ าลงกรณ์\" (รชั กาลท่ี ๕) ยงั ทรงพระเยาว์ เพยี ง ๑๒ พรรษา ทำใหเ้ สี่ยงตอ่ การถูกแย่งชิงราชบลั ลังก์ ฝา่ ยเจา้ พระยาศรสี ุรยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซ่ึงถูกสงสัยมาตง้ั แตค่ รั้ง พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจา้ อยหู่ ัวยังทรงพระชนม์ว่าคิดจะชิงราชสมบัตจิ ึงได้เสนอให้ทรงแต่งต้งั พระองคเ์ จ้ายอดยิง่ เป็น \"กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล\" แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวโปรดเกลา้ ฯ ให้แตง่ ตง้ั พระองค์เจา้ ยอดยิ่ง เป็น กรมหมื่นบวรวไิ ชยชาญ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๑๐ แต่ไมไ่ ดต้ ้งั ใหเ้ ปน็ วังหน้าเจา้ อยู่หัว พระเกยี รติยศ : กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล พระกรณยี กจิ : กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงมคี วามรู้ภาษาองั กฤษเปน็ อย่างดี และเขา้ ไปคบคา้ สนิทสนมกับนายโทมัส น็อกซ์ กงสุลองั กฤษ ประกอบกับในสมยั นน้ั องั กฤษคกุ คามสยาม ถงึ ข้นั เรียกเรือรบมาปิดปากแมน่ ำ้ ทางวงั หลวงจึง หวาดระแวง เชอ่ื ว่ามแี ผนการจะแบ่งดนิ แดนเป็นสองสว่ นคือ ทางเหนือถึงนครเชียงใหม่ ให้พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ครอง ทางใต้ใหก้ รมพระราชวงั บวรวิไชยชาญครอง นัยวา่ เม่ือแบ่งสยามให้เลก็ ลงแลว้ จะไดอ้ ่อนแอ ง่ายตอ่ การเอาเป็นเมืองขน้ึ
77 ทรงเป็นเจ้านายที่มคี วามสามารถหลายดา้ น ดา้ นนาฏกรรม ทรงพระปรชี า เลน่ หุ่นไทย หุน่ จนี เชดิ หนงั และงิ้ว ด้านการช่าง ทรงชำนาญเคร่ืองจกั รกล ทรงต่อเรือกำปั่น ทรงทำแผนทแ่ี บบสากล ทรงสนพระทัยในแรธ่ าตุ ถงึ กบั ทรงสรา้ งโรงถลุงแร่ไวใ้ น พระราชวงั บวรสถานมงคล
88 สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรราชนิ ีนาท พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง พระนาม : พนั เอกหญงิ สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง พระราชสมภพ : 1 มกราคม พ.ศ.2407 สวรรคต : 20 ตุลาคม พ.ศ.2462 พระราชประวัติ : เปน็ พระเจา้ ลกู เธอพระองคท์ ี่ 66 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นลำดบั ที่ 5 ซึง่ ประสูติ แต่เจ้าจอมมารดาเปยี่ ม (ภายหลังไดร้ ับการสถาปนาข้ึนเป็น สมเดจ็ พระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา) ทรงพระราชสมภพใน พระบรมมหาราชวัง เม่อื วันศกุ ร์ เดอื นอ้าย แรม 7 ค่ำ ปกี ุน เบญจศก จ.ศ. 1225 เมื่อคร้งั ยงั ทรงพระเยาว์นั้น พระองค์ทรงเป็น ผ้ทู ่ีมพี ระปัญญาทีเ่ ฉียบแหลมมาก แต่ก็ทรงไมเ่ ชื่อฟงั มากเชน่ เดยี วกัน เช่น เวลาทรงพระอักษร ก็ทรงไมย่ อมทรงอา่ นดงั ๆ พระอาจารย์อา่ นถวายไปเทา่ ใด พระองคท์ า่ นกท็ อดพระเนตรตามไปเฉย ๆ พระองคใ์ ฝพ่ ระทัยในการศกึ ษาหมัน่ ซักถาม แสวงหาความร้ดู ว้ ยพระวิริยะอตุ สาหะและทรงศึกษาวิชาการตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วอนั เป็นเครอื่ งแสดงถงึ การท่ี มีพระวิริยะ พระปญั ญา ปราดเปรือ่ งหลักแหลม สมเดจ็ พระศรพี ัชรนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี ทรงพระประชวรเรื้อรัง มพี ระ อาการไข้ รวมทัง้ มีพระอาการพษิ ข้นึ ในพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) และการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเสด็จ สวรรคตนน้ั ได้นำความวิปโยคแสนสาหัส ท่ีกระทบกระเทอื นพระราชหฤทัย[19]และการท่ีพระองค์ประทบั อยู่แตป่ ระแท่น บรรทม ทรงไมอ่ อกกำลงั พระวรกาย ทำใหม้ ีน้ำหนักพระองค์มาก จึงทำใหก้ ระดูกเปราะ จะเสดจ็ ไปท่ีใดกล็ ำบากและพระองค์ ทรงพระประชวรอยเู่ นอื ง ๆ มพี ระโรคาพาธมาประจำพระองคค์ อื พระวักกะอักเสบเรอ้ื รัง ซึ่งแพทย์หลวง ไดถ้ วายการรกั ษา อยา่ งดีตลอดมา แต่พระอาการไม่ดีขึน้ พระเกยี รติยศ : พระเจา้ ลกู เธอ พระองคเ์ จา้ เสาวภาผอ่ งศรี (1 มกราคม พ.ศ. 2407 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411) พระเจ้านอ้ งนางเธอ พระองคเ์ จา้ เสาวภาผ่องศรี (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 — พ.ศ. 2421) พระนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผอ่ งศรี (พ.ศ. 2421 — พ.ศ. 2422) พระนางเจ้าเสาวภาผอ่ งศรี พระราชเทวี (พ.ศ. 2422 — พ.ศ. 2423) สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผอ่ งศรี พระวรราชเทวี (พ.ศ. 2423 — 15 กันยายน พ.ศ. 2438) สมเดจ็ พระนางเจ้าเสาวภาผอ่ งศรี พระบรมราชินนี าถ (4 เมษายน พ.ศ. 2440 — 4 ธันวาคม พ.ศ.2453)
99 พระราชกรณียกิจ การศึกษา - ทรงสนพระทัยในการพฒั นาสตรี และทรงมพี ระราชดำริวา่ ความรุง่ เรอื งของบ้านเมอื งย่อมอาศัยการศึกษาเล่า เรียนที่ดี ในปี พ.ศ. 2444 จึงทรงบริจาคพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์จดั ตัง้ โรงเรียนสำหรบั เดก็ หญิงแห่งท่ีสองที่ กรงุ เทพมหานคร ทรงพระราชทานช่อื ว่า “โรงเรียนสตรีบำรงุ วิชา” และในปี พ.ศ. 2447 ทรงเปิดโรงเรียนสำหรบั กลุ ธิดาของ ข้าราชสำนกั และบุคคลช้นั สูงคอื “โรงเรียนสุนันทาลัย” ใหก้ ารอบรมดา้ นการบา้ นการเรอื น กิรยิ ามารยาทและวิชาการต่าง ๆ ศาสนา - ทรงเป็นองค์อคั รศาสนูปถมั ภิกาในบวรพทุ ธศาสนา โดยบำเพ็ญพระราชกศุ ลมไิ ดข้ าดทรงบรจิ าคพระราชทรัพยส์ ว่ น พระองคเ์ พ่อื สร้างเจดีย์วัตถุ พระพทุ ธรปู พระธรรมคัมภรี ์ เช่น พระไตรปฎิ กสยามรัฐในรชั กาลท่ีห้า ทรงสร้างพระวหิ ารสมเด็จ ที่วัดเบญจมบพติ ร และปฏิสงั ขรณพ์ ระอารามตา่ ง ๆ ทงั้ ในพระนครและหวั เมืองต่าง ๆ แม้พระพทุ ธเจดียฐาน นอกพระ ราชอาณาจักรก็ไดท้ รงปฏิสงั ขรณ์ดว้ ยกัน และดูแลรักษาอยา่ งสม่ำเสมอมไิ ด้ขาด การเสดจ็ ประพาสทง้ั ภายในและต่างประเทศ - มักตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว เสดจ็ พระราชดำเนิน ประพาสหัวเมอื งชนบท และเสดจ็ ประพาสตา่ งประเทศเสมอๆ และทีแ่ หง่ ใดที่ถนนหนทาง สะพานหรือท่ีสาธารณะอน่ื ๆ ชำรุด ทรุดโทรม กท็ รงบรจิ าคพระราชทรัพย์ สว่ นพระองค์ทะนบุ ำรงุ ซ่อมสร้างใหด้ ีขน้ึ สว่ นตำบลใดทีข่ าดนำ้ บรโิ ภคใช้สอย ก็โปรด เกลา้ ฯ ใหม้ ีการขุดบอ่ นำ้ สาธารณะ และปีใดท่มี ีอากาศหนาวกท็ รงพระราชทานผ้าห่มกันหนาว ให้ข้าราชบริพารซ้อื มาแจก การแพทย์และพยาบาล - ทรงมีความหว่ งใยในความเจบ็ ไขไ้ ด้ป่วยของราษฎรและทหารเป็นอย่างยิง่ โดยทรงสนบั สนนุ การ กอ่ ต้งั โรงพยาบาลศิรริ าชซึง่ นับวา่ เปน็ โรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย และพระราชทานทรพั ย์สว่ นพระองค์ ตั้งโรงเรยี น แพทย์ผดงุ ครรภ์ขึน้ ในโรงพยาบาลแห่งนสี้ ำหรบั เป็นสถานศึกษาวิชาพยาบาลและผดุงครรภ์ของสตรี การทหาร - ทรงโปรดการขีม่ า้ และโปรดการทหาร โดยมักจะเสดจ็ ไปทอดพระเนตรการซ้อมรบหรอื ท่ีเรยี กว่า “การประลอง ยุทธ” บางครั้งประทบั รว่ มเสวยพระกระยาหารในเต้นท์ผบู้ ญั ชาการรบท่ามกลางแมท่ ัพนายกองและเคยมพี ระราชดำรัสในเวลา การชมุ พลทหารครงั้ ใหญ่ ตอนหนง่ึ วา่ “ถึงแม้ฉันเป็นหญงิ กจ็ รงิ แต่ก็มใี จเหมือนทา่ นทง้ั หลายซ่งึ เต็มไปดว้ ยความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ เมื่อมเี หตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขนึ้ ในเวลาหนึง่ เวลาใดกด็ ี ฉันต้ังใจที่จะ ชว่ ยเหลือผู้เปน็ นักรบอยู่เสมอไมถ่ อย เลย” การเกษตร - ทรงสนพระทัยและทรงโปรดด้านการเกษตร ทรงโปรดให้เลย้ี งไกพ่ นั ธุ์ ธญั พืช ไมด้ อก ไมป้ ระดับในบริเวณท่ี ประทับ และสำหรับการปลูกขา้ วนน้ั พระองค์ทรงโปรดเป็นพเิ ศษ ถึงกบั ทรงทำด้วยพระองคเ์ องที่นาหลวงทุง่ พญาไท ซงึ่ พระองค์มักจะนำพระบรมวงศานวุ งศเ์ สด็จไปทรงดำนาเพอ่ื เปน็ การประเดมิ ชยั ในฤดูการทำนา ดา้ นสาธารณประโยชน์ - ทรงมีพระราชดำริทรงสรา้ งสะพานเสาวนยี ์ ซึง่ เป็นสะพานขา้ มคลองรมิ ทางรถไฟสายเหนือเช่อื มถนน ศรีอยุธยาให้ติดต่อกนั ตลอด เม่ือคราวเฉลมิ พระชนมพรรษา 48 พรรษา พ.ศ. 2454 กรมโยธาธิการได้ออกแบบและสร้างถวาย ตามพระราชเสาวนยี ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 พระองค์ได้บรจิ าคพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ โปรดให้สรา้ งรปู พระนางธรณบี ีบ มวยผม ซ่งึ รปู พระนางธรณบี ีบมวยผมน้ตี ้งั อยทู่ ห่ี วั มุมถนนใกล้สะพานผา่ นพิภพลลี ากับท่ีโรงพยาบาลปัญจมาธิราชอทุ ศิ ที่ พระนครศรีอยุธยา และบอ่ นำ้ ท่ีหัวหนิ
10 10 พระวิภาคภูวดล ช่ือ : พระวิภาคภูวดล เกิด : พ.ศ.2396 เสยี ชวี ิต : พ.ศ.2462 ประวตั ิ : เปน็ นักสำรวจรังวดั และนกั ทำแผนท่ีชาวไอรชิ ซง่ึ มบี ทบาทสำคญั ในการปกั ปันเขตแดนของไทย (ตอนนั้นรู้จักในช่ือ สยาม) ในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19, ซง่ึ ช่วยให้สยามพฒั นาไปส่กู ารเป็น รัฐชาติ ท่ีทนั สมัย. เขารบั ราชการเปน็ เจ้า กรมแผนที่ (ปัจจุบนั คอื กรมแผนที่ทหาร) ซงึ่ ก่อตั้งเมื่อวนั ท่ี 3 กนั ยายน พ.ศ. 2428. โดยเขาดำรงตำแหน่งน้ยี าวนานถงึ 16 ปีก่อนจะ กราบถวายบงั คมลาออกจากราชการเนื่องจากครบกำหนดสญั ญาเมอื่ วนั ท่ี 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 โดยมนี าย โรนลั ด์ เวริ ธ์ ธี กบิ ลิน ชาวออสเตรเลียเป็นเจา้ กรมแผนที่สืบตอ่ มา บรรดาศักดิ์: พระวิภาคภวู ดล ถอื ศกั ดินา ๘๐๐ คณุ ความดีต่อแผ่นดนิ : สำรวจรังวัดและทำแผนที่ในสมยั รชั กาลท่ี 5
11 11 พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตย์ พระนาม :พ่อขนุ ศรอี ินทราทติ ย์ พระราชสมภพ : ไมป่ รากฏปีท่แี น่ชัดอยู่ในชว่ งปี พ.ศ. 1731 ทเ่ี มืองราด สวรรคต :ไม่ปรากฏปที ีแ่ น่ชดั อยู่ในช่วงปี พ.ศ. 1811 (80 พรรษา) อาณาจกั รสุโขทยั พระราชประวัติ : พ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย หรือราชวงศ์พระร่วง มีพระนามเดิมว่า พ่อขุน บางกลางหาว แห่งเมืองบางยาง พระองค์ทรงร่วมกับพระสหาย พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด ช่วยกันรวบรวมคนไทยยึดเมือง สุโขทัยจากขอมสมาดโขลญลำพง ซึ่งเข้าครอบครองเมืองสุโขทัยอยู่ขณะนั้นจนเป็นผลสำเร็จ และตั้งเมืองสุโขทัยเป็นราชธานี พ่อขุนบางกลางหาว ทรงได้รบั การสถาปนาจากพ่อขนุ ผาเมืองขึน้ เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรอี ินทราทิตย์ ทรงมีพระ มเหสีพระนามว่า พระนางเสือง มีพระราชโอรสที่ครองราชย์ต่อจากพระองค์อยู่ 2 พระองค์ คือ พ่อขุนบานเมือง และพ่อขุน รามคำแหง พระเกยี รตยิ ศ : กษตั ริย์องคแ์ รกแหง่ อาณาจกั รสโุ ขทัย หรือราชวงศพ์ ระรว่ ง พระราชกรณียกิจ : 1. ทรงก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย โดยพระองค์ทรงรวบรวมผู้คนยึดอำนาจจากขอมเป็นผลสำเร็จ และทรง สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยเปน็ ราชธานี ทำให้คนไทยมีอิสรภาพ โดยไมต่ กอยู่ภายใต้อำนาจขอมตอ่ ไป 2. ทำศึกสงครามเพื่อป้องกันและขยายอาณาเขต ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดได้นำกองทัพเข้ามารุกรานเมืองตาก ซึ่งเป็นเมือง ชายแดนของอาณาจกั รสุโขทยั พอ่ ขุนศรีอนิ ทราทติ ยไ์ ดน้ ำไพรพ่ ลออกตอ่ สู้กบั กองทพั ขนุ สามชน เจา้ เมอื งฉอด ทีเ่ มอื งตาก โดย มีพ่อขุนรามคำแหง ตามเสด็จพระราชบิดาไปในการศึกครั้งนี้ การทำศึกครั้งนี้พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้ทรงทำยุทธหัต ถีกับขุน สามชนปรากฏว่าช้างพระที่นั่งของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ตื่นหนีข้าศึก ขุนสามชนไล่ตามทัน พ่อขุนรามคำแหง จึงเข้าแก้ไข สถานการณ์ โดยการไสช้างพระที่นั่งของพระองค์เข้าช่วย พระราชบิดา จนกระทั่งขุนสามชนหนีพ่ายไป นับว่าชัยชนะครั้งน้ี เปน็ ชัยชนะจากการทำยุทธหตั ถคี ร้ังแรกในประวตั ศิ าสตรข์ องชาติไทย 3. พ่อขุนศรีอินทราทติ ย์ ทรงส่งทูตไปลังกาพร้อมกบั คณะทูตเมืองนครศรีธรรมราช เพื่อขอพระพุทธสิหิงค์และอัญเชิญมาไว้ สักการะที่อาณาจักรสโุ ขทยั
12 12 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระนาม : พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช พระราชสมภพ : อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 1780 ทีจ่ กั รวรรดเิ ขมร สวรรคต : อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 1841 (61 พรรษา)) อาณาจักรสุโขทยั พระราชประวตั ิ : พอ่ ขนุ รามคำแหงทรงเปน็ พระราชโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และพระนางเสอื งเสด็จข้ึนครองราชยส์ ืบ ต่อจากพ่อขุนบานเมือง ซึ่งเป็นพระเชษฐา พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถ มีความเข้มแข็งในการทำศึกสงคราม ตั้งแต่ครั้งท่ี ยังมิได้ขึ้นครองราชย์ โดยพระองค์ตามเสด็จ พระราชบิดาไปในการทำสงคราม เพื่อขยายพระราชอาณาเขต พระองค์ทรงทำ ยุทธหัตถกี ับขนุ สามชนเจ้าเมืองฉอดจนไดร้ บั ชัยชนะ นับว่าเปน็ การทำยุทธหตั ถีครั้งแรกในประวัตศิ าสตร์ ของชาติไทย พระเกยี รตยิ ศ : กษัตริยอ์ งค์ที่สามแห่งอาณาจักรสโุ ขทัย ผูป้ ระดษิ ฐอ์ กั ษรไทย พระราชกรณยี กิจ : ดา้ นการเมืองการปกครอง พระองค์ทรงทำสงครามเพือ่ ขยายพระราชอาณาเขตออกไป ทรงใช้การปกครอง แบบปติ ุราชาธปิ ไตยหรือพ่อปกครองลูก มคี วามสัมพนั ธ์แบบเครือญาติ ทำให้ประชาชนอยกู่ นั อย่างรม่ เยน็ เป็นสุข โดยพระองค์ ทรงโปรดให้แขวนกระดง่ิ ไว้ทีป่ ระตูพระราชวงั พ่อขุนรามคำแหง ราษฎรคนใดมีเร่ืองเดอื ดเนือ้ ร้อนใจ ก็สามารถสั่นกระดิ่งที่หน้า ประตูพระราชวงั พระองค์จะเสดจ็ ออกมารบั ฟังเรื่องร้องทุกข์ ตัดสินปญั หา และคดคี วามด้วยความเปน็ ธรรม โปรดใหส้ รา้ งพระ แทน่ มนงั คศิลาอาสน์ ทรงใช้หลกั การปกครองแบบกระจายอำนาจ เพอื่ ออกว่าราชการและนมิ นต์พระ ด้านเศรษฐกิจ โปรดให้สร้างทำนบสำหรับใช้ในการกักเก็บน้ำ โปรดให้สร้างถนนพระร่วง โปรดให้ตั้งเตาสำหรับเผาถ้วยชาม เครือ่ งเคลอื บที่เรียกว่า เครอ่ื งสังคโลก ทรงส่งเสริมการค้า ด้านวัฒนธรรม ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นสำหรับใชเ้ ป็นภาษาประจำชาติ เมื่อพ.ศ. 1826 เรียกว่า ลายสือไทยโดยดัดแปลง มาจากอักษรขอมหวัด และมอญโบราณ ทรงรบั พระพุทธศาสนาลัทธลิ งั กาวงศ์ ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ทรงมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรอื่นๆ ผ่านทางการค้า และศาสนา โดยมีทูติช่วยเจริญ สมั พนั ธ์ไมตรี
13 13 พระมหาธรรมราชาที่ 1 พระนาม : พระมหาธรรมราชาท่ี 1 ,พระบาทกมรเตงอัญศรีสรุ ิยพงศร์ ามมหาราชาธิราช ,พระบาทกมรเตงอญั ฦๅไทยราช , พระ ยาลือไทย หรือพญาลิไทย พระราชสมภพ : ช่วงปี พ.ศ. 1843 อาณาจักรสโุ ขทยั สวรรคต : ช่วงปี พ.ศ. 1911 (68 พรรษา) อาณาจักรสโุ ขทยั พระราชประวัติ : พระยาลไิ ทยเป็นกษัตริย์องคท์ ี่ 6 แห่งอาณาจักรสโุ ขทยั มพี ระนามเดมิ วา่ ฦๅไทย (ลือไทย) (ลไิ ทย) ขน้ึ ครองราชยต์ ่อจากพระยางว่ั นำถุม เดมิ ทรงปกครองเมืองศรสี ชั นาลยั ในฐานะอปุ ราชหรือรชั ทายาทเมอื งสุโขทัย เม่อื ปี พ.ศ. 1882 เมื่อพระยาเลอไทยเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 1884 พระยางว่ั นำถุมได้ข้นึ ครองราชย์จนเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 1890 พระยา ลิไทยโดยต้องใช้กำลงั ทหารเขา้ มายึดอำนาจเพราะท่สี ุโขทัยเกดิ การกบฏการสืบราชบลั ลังก์ ไมเ่ ป็นไปตามครรลองครองธรรม พระยาลิไทยยกทัพมาแย่งชิงราชสมบัติได้ และขึน้ ครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 ทรงพระนามวา่ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงษ์ รามมหาธรรมราชาธริ าช พระเกียรติยศ : เป็นพระมหากษตั ริยส์ ุโขทัยลำดับท่ี 6 ในราชวงศ์พระร่วง เป็นพระราชโอรสของพระยาเลอไทย และพระราช นัดดาของพอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช พระราชกรณยี กจิ : ด้านการเมืองปกครอง ทรงทำนุบำรงุ บ้านเมืองให้เจริญหลายประการ เชน่ สร้างถนนพระร่วงตง้ั แต่เมอื ง ศรสี ัชนาลยั ผา่ นกรงุ สโุ ขทัยไปถึงเมอื งนครชมุ (กำแพงเพชร) บรู ณะเมืองนครชมุ ทรงสรา้ งเมอื งสองแคว (พิษณโุ ลก) เป็นเมือง ลกู หลวงโดยการย้ายเมืองซงึ่ เคยอยูท่ ่สี องแควซง่ึ เดิมอยทู่ างใต้ (วดั จุฬามณใี นปจั จุบนั ) แตย่ ังคงเรยี กว่าเมอื งสองแควตามเดิม ด้านศาสนา ทรงสง่ เสรมิ พระพุทธศาสนา ทงั้ การปกครองบ้านเมือง และเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ราษฎร ด้านวัฒนธรรม ดา้ นอกั ษรศาสตรท์ รงพระปรีชาสามารถนิพนธห์ นังสอื ไตรภมู ิพระรว่ งทีน่ ับเป็นงานนิพนธท์ ่ีเก่าแกท่ ่ีสดุ เร่ืองหน่งึ ในประวัติศาสตร์ไทย ยงั ทรงดัดแปลงการเขียนหนงั สือไทยท่ีพ่อขนุ รามคำแหงทรงสร้างไว้ ให้อ่านเขียนสะดวกขึ้น ดา้ นความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ ทรงเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี ับกรุงศรีอยุธยาท่ีไมล่ งรอยกันมาอยา่ งยาวนานโดยไดร้ ับเมือง ชัยนาทคนื
14 14 สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 พระนาม : สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 หรือ พระเจ้าอ่ทู อง พระราชสมภพ : พ.ศ. 1857 สวรรคต : พ.ศ. 1912 (55 พรรษา) พระราชประวตั ิ : จดหมายเหตุโหรระบวุ ่าพระเจ้าอ่ทู องรามาธิบดเี สด็จพระราชสมภพวันจันทร์ ขนึ้ 8 คำ่ เดอื น 5 ปีขาล จ.ศ. 676 (ตรงกบั ปี พ.ศ. 1857) ไดท้ รงสถาปนาเมืองหลวงขึน้ ในบริเวณท่หี นองโสนเมื่อ จ.ศ. 712 ปขี าล โทศก วันศกุ ร์ขึน้ 6 คำ่ เดอื น 5 เวลา 3 นาฬิกา 9 บาท ตรงกบั วันศุกรท์ ี่ 4 มนี าคม พ.ศ. 1893 เม่อื ครองราชย์ได้รับเฉลมิ พระปรมาภิไธยว่า สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีศรีสนุ ทรบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว ถึงปีระกา พ.ศ. 1912 เสด็จสวรรคต อยใู่ นราชสมบัติ 20 ปี แต่ไม่ปรากฏ แนช่ ดั ว่าพระองค์พระราชสมภพที่ไหน และมาจากเมอื งไหน เอกสารทางประวัติศาสตรแ์ ละนักประวัติศาสตร์ทง้ั ไทยและ ตา่ งประเทศขัดแย้งกนั พระเกยี รติยศ : เป็นพระมหากษตั ริยไ์ ทยพระองค์แรกในราชวงศ์อ่ทู องแหง่ อาณาจักรอยุธยา พระราชกรณียกิจ : ได้มีการสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี มตี รากฎหมาย สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงประกาศใช้ กฎหมายถึง 10 ฉบับ ในรัชสมยั ของพระองค์ ดา้ นศาสนา ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าให้สรา้ งวดั ตา่ ง ๆ เชน่ วัดพุทไธศวรรย์ วัด ปา่ แก้ว ไดม้ ีการทำพนั ธไมตรกี บั เขมรและสโุ ขทยั ได้มีการค้าขาย และสมั พันธไมตรรี ะหวา่ งประเทศในด้านไมตรกี บั ต่างประเทศในสมยั เม่อื สรา้ งกรุงศรีอยุธยาน้นั ฝรั่งกบั ญีป่ ่นุ ยงั ไมม่ ีมาค้าขาย แต่การไปมาคา้ ขายกับเมอื งจีน, แขก, จาม, ชวา, มลายู ตลอดจนอินเดีย, เปอร์เซีย และ ลังกานัน้ ไปถึงกันมานานแล้ว สำหรบั การค้าขายกับจนี นนั้ ราชวงศ์อ่ทู องของไทย ตรง กับราชวงศ์หมิงของจนี พระเจ้าหงอู่ แห่งราชวงศห์ มงิ เม่ือทราบว่ากรงุ ศรีอยธุ ยาต้งั เปน็ อสิ รภาพก็แต่งให้ หลยุ จงจนุ่ เป็น ราชทตู เข้ามาเจริญพระราชไมตรีถึงกรุงศรอี ยุธยา พระองค์จงึ แตง่ ให้ราชทูตออกไปเมอื งจีนพร้อมกบั ราชทตู จนี เพอื่ เจรญิ สัมพนั ธไมตรกี บั จนี ในคราวนั้นดว้ ย
15 15 พระบรมไตรโลกนาถ พระนาม : สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ พระราชสมภพ : เมื่อปี พ.ศ.๑๙๗๔ สวรรคต : สวรรคต พ.ศ. ๒๐๓๑ พระราชประวตั ิ : สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงเปน็ พระราชโอรสสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา) เม่อื พระองคม์ ีพระชนมม์ ายุได้ ๗ พรรษา พระราชบิดาได้พระราชทานพระนามตามพระราชประเพณีว่า สมเดจ็ พระราเมศวรบ รมไตรโลกนาถบพิตร และเมอ่ื พระชนมายุได้ ๑๕ พรรษา ไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ สดจ็ ไปครองหัวเมืองฝา่ ยเหนอื โดยได้ประทบั อยทู่ ีเ่ มืองพษิ ณุโลก เมือ่ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๒ เสด็จสวรรคต พระองคจ์ ึงไดเ้ สดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ.๑๙๙๑ พระชนมายไุ ด้ ๑๗ พรรษา เปน็ พระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๘ ของกรงุ ศรีอยธุ ยา พระเกยี รตยิ ศ : สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระราชสมัญญาอีกพระนามหนึ่งวา่ พระเจ้าช้างเผอื ก เนือ่ งจาก เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๐๑๔ พระองค์ได้ทรงรับช้างเผอื ก ซี่งนบั เปน็ ช้างเผือกชา้ งแรกของกรุงศรีอยธุ ยา พระราชกรณียกิจ : ด้านการปกครอง-พระราชกรณียกจิ ดา้ นการปกครองประกอบดว้ ยการจัดระเบียบการปกครองสว่ นกลาง และสว่ นภมู ิภาค อนั เป็นแบบแผนซึง่ ยดึ สบื ต่อกันมาจนถงึ รชั สมยั รัชกาลที่ 5 ของกรุงรตั นโกสินทร์ และการตราพระราช กำหนดศักดนิ า ซง่ึ ทำให้มกี ารแบ่งแยกสิทธิและหนา้ ที่ของแตล่ ะบุคคลแตกต่างกันไป โดยทรงดำรวิ า่ รูปแบบการปกครอง นบั ตั้งแตร่ ชั สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1 มีความหละหลวม หัวเมืองต่าง ๆ เบยี ดบังภาษอี ากร และปัญหาการแขง็ เมืองในบาง ช่วงทก่ี ษัตริยอ์ ่อนแอทรงปฏิรปู การปกครองโดยมีการแบ่งงานฝา่ ยทหารและฝ่ายพลเรือนออกจากกันอย่างชัดเจน ใหส้ มุหพระ กลาโหมดแู ลฝา่ ยทหารและให้สมุหนายกดแู ลฝา่ ยพลเรอื น รวมท้ังจตุสดมภ์ในราชธานยี กเลิกระบบการปกครองหวั เมอื งต่าง ๆ แตเ่ ดมิ ทแี่ บง่ ออกเปน็ เมืองลูกหลวง หลานหลวง แล้วระบบการปกครองหวั เมืองเสยี ใหม่ ดังน้ี หวั เมอื งชั้นใน หัวเมอื งช้ันนอก เมืองประเทศราชไดต้ ราพระราชกำหนดศกั ดินาข้ึนเปน็ กฎเกณฑข์ องสังคม ทำใหม้ ีการแบ่งประชากรออกเป็นหลายชนชั้น ในปี พ.ศ.2001 สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถได้ต้งั กฎมณเฑยี รบาล ขึ้นเปน็ กฎหมายสำหรบั การปกครอง แบง่ ออกเปน็ สามแผน คือ1. พระตำราวา่ ด้วยแบบแผนพระราชพิธตี า่ ง ๆ 2. พระธรรมนูญวา่ ดว้ ยตำแหนง่ หนา้ ท่รี าชการต่าง ๆ 3. พระราชกำหนด เปน็ ข้อบังคบั สำหรบั พระราชสำนกั
16 16 สมเดจ็ พระศรสี รุ ิโยทัย พระนาม : สมเด็จพระศรีสุรโิ ยทยั หรือ พระสุริโยทยั สวรรคต : 3 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2091 พระราชประวัติ : สมเดจ็ พระสุรโิ ยทยั สบื เชอ้ื สายมาจากราชวงศ์พระรว่ ง ดำรงตำแหนง่ พระอัครมเหสใี นสมเดจ็ พระมหา จกั รพรรดิ ในขณะทีส่ มเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ ขึน้ ครองราชสมบตั ิกรงุ ศรอี ยธุ ยาตอ่ จากขุนวรวงศาธริ าชไดเ้ พยี ง 7 เดอื น เมื่อ พ.ศ. 2091 พระเจา้ ตะเบง็ ชะเวตี้และมหาอปุ ราชาบุเรงนองยกกองทพั พม่าเขา้ มาล้อมกรงุ ศรีอยธุ ยาครั้งแรก โดยผา่ นมา ทางดา้ นด่านพระเจดีย์สามองค์ จงั หวัดกาญจนบรุ แี ละตัง้ ค่ายล้อมพระนคร การศกึ คร้ังน้นั เป็นที่เล่ืองลอื ถึงวรี กรรมของ สมเด็จ พระศรีสุริโยทัย ซงึ่ ไสชา้ งพระท่นี ง่ั เข้าขวางพระเจ้าแปรด้วยเกรงว่า สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ พระราชสวามี จะเปน็ อันตราย จนถูกพระแสงของา้ วฟันพระอังสาขาดสะพายแล่งสน้ิ พระชนมอ์ ยูบ่ นคอชา้ ง เพอ่ื ปกป้องพระราชสวามไี ว้ เม่ือวนั อาทิตย์ ขึน้ 6 ค่ำ เดอื น 4 ปจี ุลศักราช 910 ตรงกบั วันเดือนปที างสรุ ยิ คติ คอื วันที่ 3 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2092 เมือ่ สงครามยตุ ิลง สมเด็จพระ มหาจกั รพรรดิได้ทรงปลงพระศพของพระนางและสถาปนาสถานท่ปี ลงพระศพขนึ้ เปน็ วัด ขนานนามว่า วัดสบสวรรค์' หรอื วัด สวนหลวงสบสวรรค์ พระราชกรณยี กิจ : ใน พ.ศ. ๒๐๙๑ หลงั จากท่สี มเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ์เสด็จข้ึนครองราชย์ได้ไมน่ านนกั พรเจ้าหงสาวดตี ะเบ็งชะเวตี้ท ราบข่าวการผลดั เปล่ียนแผน่ ดนิ ใหม่ จงึ คิดจะเข้ามาโจมตี เพราะคิดว่าทางกรุงศรอี ยธุ ยาคงยงั ไมท่ ันต้งั ตัว และกองทัพคงไม่ เขม้ แข็งพอ พระเจา้ หงสาวดตี ะเบ็งชะเวต้ีไดค้ มุ กำลังพลประมาณ ๓แสนคน ยกเข้ามาทางดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ เมือ่ เห็นพม่ายก ทัพใหญ่เข้ามา สมเด็จพระมหมาจกั รพรรดิ์ไดอ้ อกไปตง้ั ทัพรอขา้ ศึกท่ีทุ่งภ่เู ขาทองและด้วยความเป็นหว่ งพระสวามีและรู้ว่าศึก ครั้งนีค้ งใหญห่ ลวงนักเพราะทางฝา่ ยพมา่ มกี ำลงั มากกว่า สมเด็จพระศรสี ุริโยทัยจึงปลอมพระองคเ์ ปน็ ชายโดยมพี ระราเมศวร และพระมหนิ ทราธริ าชพระราชโอรสตามเสดจ็ ไปในกองทพั ครั้งนีด้ ้วย พระเจา้ แปรแม่ทพั ฝ่ายพม่าซง่ึ ต้ังคา่ ยอยูท่ ่ที ุ่งมะขาม หยอ่ งไดล้ อ่ ให้กองทัพของไทยเข้ามาในวงลอ้ มแล้วซุ่มโจมตีจนกองทพั ไทยแตกกระเจงิ ไม่เปน็ ขบวน ในขณะเดยี วกนั พระเจ้า แปรเห็นวา่ กำลงั ไดเ้ ปรยี บ จงึ ไสช้างของสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรด์ิอย่างกระชัน้ ชิด สมเด็จพระศรีสุริโยทัยเหน็ พระสวามเี สียที
17 17 แกข่ ้าศึกเกรงว่าพระสวามจี ะไดร้ ับอนั ตราย ด้วยพระน้ำทยั ที่เด็ดเดีย่ วกลา้ หาญ และดว้ ยความรกั จึงรบี ไสช้างพระที่ น่ังเขา้ ไปขวางศตั รอู ย่างรวดเร็ว เปน็ จังหวะเดยี วกับท่พี ระเจ้าแปรใชพ้ ระแสงของ้าวฟนั ถูกพระองั สะขาดสะพายแลง่ ส้ินพระชนม์บนคอชา้ ง พระราเมศวรและพระมหนิ ทราธิราชพระราชโอรสได้ฝ่าวงลอ้ มของทหารพม่าเข้าไปช่วยกันนำพระศพ ของ สมเด็จพระศรีสุรโิ ยทยั ออกจากสนามรบกลบั สู่พระนคร แล้วอญั เชิญพระศพไปไวท้ ่ีตำบลสวนหลวง เขตวดั สบสวรรคซ์ ึ่ง อยู่ในเขตพระราชวังหลงั จ.พระนครศรอี ยุธยา แล้วถวายพระเพลิงพระศพ สมเด็จพระศรสี รุ โิ ยทยั อย่างสมเกยี รติสมเด็จพระ มหาจกั รพรรดิ์เสียพระทัยมาก จงึ โปรด ฯ ให้ จัดสร้างเจดียศ์ รสี รุ ิโยทัยซึ่งเปน็ พระเจดีย์ย่อเหลยี่ มไม้สิบสององคใ์ หญ่ข้ึนไวเ้ ป็น อนุสรณ์ถงึ วรี กรรมแห่งความกล้าหาญและความจงรกั ภกั ดี ณ ตรงทพ่ี ระราชทานเพลงิ ศพ ในพระเจดีย์แห่งน้ีไดบ้ รรจพุ ระอฐั ิ ของ สมเดจ็ พระศรสี รุ ิโยทยั ไว้
18 18 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระนาม : สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระราชสมภพ : เมอ่ื พ.ศ. 2098 สวรรคต : 25 เมษายน พ.ศ. 2148 พระราชประวัติ : สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริยร์ ัชกาลท่ี 18 แหง่ กรุงศรอี ยุธยาเป็นพระราชโอรสของ สมเด็จพระมหาธรรมราชากับพระวิสทุ ธกิ ษัตริยป์ ระสูติทีเ่ มืองพิษณุโลกเมื่อ พ.ศ. 2098 มีพระพีน่ าง 2 พระองคค์ ือสมเดจ็ พระ สุพรรณกลั ยาและพระเทพกษัตรียม์ ีพระอนุชาพระองคห์ นงึ่ คือสมเดจ็ พระเอกาทศรถสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงสบื เช้อื สายทงั้ ราชวงศ์สโุ ขทัยและกรุงศรีอยธุ ยาทรงใชช้ ีวิตในวยั เยาว์เมอื งพิษณโุ ลกกอ่ นจะถูกนำพระองคไ์ ปพมา่ เมือ่ พระชนมายไุ ด้ 9 พรรษาและประทบั ทพี่ ม่าจนพระชนมายุได้ 16 พรรษาดงั น้นั พระองค์จงึ ทรงเจรญิ วัยขึน้ ทา่ มกลางภาวะสงครามไทยต้องเปน็ ฝา่ ยต้งั รบั จากการจู่โจมของพมา่ ท่ามกลางความขดั แย้งในพระราชวงศ์ของไทยทา่ มกลางความดแู คลนเหยียดหยามเมือ่ ไทยอยู่ ในฐานะประเทศราชของพมา่ เมือ่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชเสด็จกลับจากพม่าทรงเหน็ วา่ กรุงศรอี ยุธยาเสื่อมโทรมอยา่ งเหน็ ไดช้ ัดปอ้ มคา่ ยถูกทำลายรอื้ ถอนผ้คู นถูกกวาดตอ้ นไปพมา่ ความมัง่ คง่ั ร่ำรวยที่สั่งสมกันมากว่าสองร้อยปีและความสมบูรณพ์ นู สุขลดลงไปเพราะสงครามขาดแคลนแรงงานรอ่ งรอยความเสยี หายจากการสงครามยังปรากฏใหเ้ หน็ โดยทั่วไปเพราะไมม่ ีการ บูรณปฏสิ งั ขรณอ์ กี ทง้ั ยังมกี องทัพพม่าประจำอย่เู พอื่ ปอ้ งกันไม่ให้กรุงศรีอยธุ ยากระดา้ งกระเด่ืองส่วนทางตะวนั ออกเขมรก็ได้ ส่งกองทพั มาซำ้ เตมิ โดยกวาดตอ้ นผูค้ นและทรพั ย์สมบัติในยามท่ีกรงุ ศรอี ยธุ ยาเสอ่ื มอำนาจสมเด็จพระมหาธรรมราชาทรง มอบหมายให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงปกครองหวั เมืองเหนือโดยประทับอยทู่ ่เี มอื งพษิ ณโุ ลกหลังจากเสด็จกลบั จากพม่า ไมน่ านนกั คือใน พ.ศ. 2114 ในระยะเวลา 14 ปที ี่ทรงปกครองหัวเมอื งเหนอื อยู่นั้นทรงดำเนนิ การหลายอย่างทจ่ี ะมี ความสำคัญในอนาคตเช่นการฝกึ หดั ขา้ ราชการการรวบรวมกำลังคนท่หี ลบหนีพม่าการฝึกฝนยทุ ธวธิ ีการรบการสรา้ งขวญั กำลงั ใจให้เกิดขน้ึ มาใหม่ดังนน้ั หัวเมอื งเหนอื จงึ เปน็ ฐานเริม่ ต้นท่ีสำคัญในการกอบกเู้ อกราชของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช การทีเ่ ขมรโจมตีถงึ เมืองหลวงและชายแดนของกรุงศรีอยธุ ยาทำใหก้ รงุ ศรีอยุธยาสามารถอา้ งเหตผุ ลเพือ่ การเสริมสรา้ งกำลังขึ้น ไดเ้ พราะเพยี งระยะกอ่ นการประกาศอสิ รภาพใน พ.ศ. 2127 เขมรส่งกองทพั เข้ามาถงึ 5 ครงั้ คือใน พ.ศ. 213 พ.ศ. 2118 พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2124 และ พ.ศ. 2125 ทั้งใน พ.ศ. 2124 ยังเกิดกบฏญาณพิเชยี รทล่ี พบุรีการท่ีตอ้ งต่อสู้ปอ้ งกนั และขบั ไลศ่ ัตรูและ
19 19 ตอ้ งปราบปรามกบฏภายในทำให้ต้องมกี ารสรา้ งเสริมกำลงั ไพรพ่ ลและเตรียมการป้องกันใหเ้ ขม้ แข็งดงั ใน พ.ศ. 2123 มกี าร ขยายแนวกำแพงเมอื งไปถงึ แนวแม่น้ำ พระราชกรณยี กจิ : พ.ศ. 2113 เสด็จออกร่วมรบกับทหารโดยขบั ไลก่ องทพั เขมรไดส้ ำเร็จ พ.ศ. 2114 ได้รับสถาปนาให้ปกครองเมอื งพิษณโุ ลก เมื่อพระชนมายุ ๑๖ พรรษา พ.ศ. 2117 เสด็จไปรบท่เี วยี งจนั ทน์ เผอิญทรงประชวรเป็นไขท้ รพษิ จงึ เสด็จกลบั พ.ศ. 2121 ทรงทำสงครามขบั ไล่พระยาจีนจนั ตุออกไปจากกรงุ ศรีอยุธยา พ.ศ. 2127 ทรงประกาศอิสรภาพท่เี มืองแครง และกวาดต้อนคนไทยกลับพระนคร พ.ศ. 2127-พ.ศ. 2130 พมา่ ยกกองทัพมาตไี ทยถงึ ๔ ครั้ง แต่ถูกไทยตีแตกพ่ายกลับไป พ.ศ. 2133 ทรงเสดจ็ ครองราชย์ ณ กรุงศรอี ยธุ ยาเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา พ.ศ. 2135 ทรงทำสงครามยทุ ธหัตถี และมังกะยอชะวา สนิ้ พระชนม์ พ.ศ. 2136 ทรงยกกองทพั ไปตีเขมรและจบั พระยาละแวกทำพธิ ีปฐมกรรม พ.ศ. 2138 และ พ.ศ. 2141 ทรงกรีฑาทัพไปตีกรุงหงสาวดี ครงั้ ท่ี ๑ และครั้งท่ี ๒ พ.ศ. 2148 ทรงกรฑี าทพั ไปตกี รุงอังวะ เมอ่ื ไปถึงเมืองหางหรือเมืองหา้ งหลวง ทรงพระประชวร เป็นหวั ระลอกขน้ึ ท่พี ระพกั ตร์ เสดจ็ สวรรคต ณ ทงุ่ แก้ว เมอื งห้างหลวง ตรงกบั วนั ขนึ้ ๘ ค่ำ เดือน ๖ ปีมะเส็ง พระชนมายุ ๕๐ พรรษา ครองราชย์สมบตั ิได้ ๑๕ ปี
20 20 สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พระนาม : สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช หรือ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 3 หรอื ในอีกชื่อ คอื สมเด็จพระรามาธบิ ดศี รสี รรเพชญ พระราชสมภพ : 16 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2175 สวรรคต : 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 พระราชประวัติ : สมเด็จพระนารายณม์ หาราช เปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง กับพระอัครมเหสี ประสูติ เมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๕ เม่ือยงั ทรงพระเยาว์ทรงได้รับการศึกษาทั้งดา้ นวิชาการ การกฬี า การล่าสัตว์ การขม่ี า ข่ชี ้าง และการแขง่ เรอื พระองคม์ ีแม่นม ๒ คน คอยดูแลอภิบาล คือ เจา้ แมว่ ัดดุสติ ซงึ่ เป็นมารดาของเจา้ พระยาโกษาธบิ ดี(ขุนเหลก็ ) และ เจา้ พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) ราชทตู ผ้มู ีช่ือเสียง แมน่ มอีกคนหนึ่ง เป็นมารดาของพระเพทราชา พ.ศ. 2198 พระเจ้าปราสาท ทองประชวรหนักจงึ ทรงมอบราชสมบตั ิใหเ้ จ้าฟ้าชัย พระโอรสองคโ์ ต ซง่ึ ประสูติจากพระสนม เจา้ ฟา้ ชัยครองราชยไ์ ด้ประมาณ หน่งึ ปี กถ็ ูกปลงพระชนม์โดยพระศรีสุธรรมราชา พระเจา้ อา พระอนชุ า จากน้ันพระศรสี ุธรรมราชาก็ขน้ึ ครองราชย์ และ แตง่ ตัง้ ใหพ้ ระนารายณ์เป็นพระมหาอุปราชวังหนา้ หลงั จากนัน้ ประมาณ ๒ เดือนพระนารายณ์ก็ไดป้ ลงพระชนมส์ มเด็จ พระศรสี ธุ รรมราชา เน่ืองจากสมเดจ็ พระศรสี ุธรรมราชาคิดจะเอาเจา้ ฟ้าหญงิ ศรีสวุ รรณหรือพระกนิษฐภคินีร่วมพระชนนขี อง พระนารายณ์มาเป็นพระชายา หลัง จากน้นั พระนารายณ์กเ็ สดจ็ ข้นึ ครองราชย์สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชเสดจ็ ข้นึ ครอง ราชยเ์ ป็นพระมหากษัตริย์ลำดับท่ี ๔ ของพระราชวงศป์ ราสาททอง ใน พ.ศ. ๒๑๙๙ ขณะพระชนมายไุ ด้ ๒๕ พรรษา ทรง พระนามว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ หรือสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๓ หรอื สมเด็จพระรามาธิบดีศรสี รรเพชญ์ แตค่ นทั่วไปนิยม เรียก สมเดจ็ พระนารายณ์ กรุงศรีอยธุ ยาในสมยั ของสมเด็จพระนารายณม์ หาราช มคี วามเจรญิ รุ่งเรืองมาก พระราชกรณยี กิจ : 1. การค้าขายกบั ตา่ งประเทศในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช การคา้ ขายกบั ต่างประเทศมคี วามเจริญร่งุ เรอื่ งมาก ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ต่อเรือกำป่ันหลวงเพอ่ื ทำการคา้ ขายกับเมืองท่าตา่ งๆ ในตา่ งประเทศทกี่ รงุ ศรีอยธุ ยา ทำการคา้ ขายดว้ ย จึงทำใหก้ รงุ ศรีอยธุ ยากลายเปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ ขายกับชาวต่างประเทศ ตอ่ มามีคอนสแตนตินเย
21 21 รากี หรอื คอนสแตนตินฟอลคอน(เจ้าพระยาวิชาเยนทร์) เปน็ ฝร่งั ชาติกรกี เขา้ มาช่วยดา้ นกรมการคลังสินคา้ จึงทำให้ การค้าขายกบั ต่างประเทศเจริญรุ่งเรอื งมากทีส่ ดุ ดังมพี อ่ คา้ ฝรงั่ เศสบนั ทึกไวว้ า่ “ในชมพูทวปี ไม่มเี มอื งใดท่ีจะ แลกเปลีย่ นสนิ ค้าไดม้ ากเท่ากับในสยาม สนิ ค้าชนดิ ใดก็ตาม เม่ือได้ส่งเข้าไปในประเทศสยามแล้วเป็นอนั ขายได้ดมี าก และการซือ้ ขายกันนก้ี ็ใช้เงนิ ทั้งน้ัน” 2. การสร้างเมืองลพบุรเี ป็นราชธานีเน่อื งจากรัชสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ได้สรา้ งเรือกำปน่ั โดยนำสินค้าไปขาย เองกบั เมืองทา่ ต่างๆ ในตา่ งประเทศขณะนัน้ ไปขายทป่ี ระเทศจีนและญี่ปนุ่ ซ่งึ มีชาติฮอลันดาไปทำการคา้ ขายด้วยทำ ใหฮ้ อลันดาไม่พอใจ มีการยึดเรือโปรตเุ กส ในขณะนั้นขนสนิ คา้ ของไทยในอ่าวตังเก๋ีย จึงมีข้อพพิ าทกบั ไทย ขณะนน้ั ไทยทำสงครามกับพม่าอยู่ ฮอลนั ดาจึงยกกำลงั เรอื รบเขา้ ปิดอ่าวไทย และยดึ จบั เรือกำป่นั ของไทยไปทำลายเปน็ จำนวนมาก จนในท่สี ุดตอ้ งยนิ ยอมทำสญั ญากบั ฮอลันดา จึงทำให้ไทยไม่ต้องเสียสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตในขณะน้ัน จากสาเหตดุ ังกลา่ ว ทีฮ่ อลันดาได้ทำกับไทยในครั้งนั้นจงึ ทำให้สมเด็จพระนารายณม์ หาราชเกรงว่ากรงุ ศรีอยุธยาจกั ไมป่ ลอดภยั จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งเมืองลพบุรีเป็นราชธานี 3. การเจริญสัมพันธไมตรกี บั ฝร่งั เศสได้จัดคณะทตู ไปฝรง่ั เศส ในปีพทุ ธศักราช 2228 ไดส้ ่งเจา้ พระยาโกษาธบิ ดี(ปาน) พรอ้ มคณะ เดนิ ทางไปฝรั่งเศส นำพระราชสาสนไ์ ปถวายสมเดจ็ พระเจา้ หลุยส์ท่ี 14 และไดส้ ง่ กลุ บตุ ร 12 คน ไป ศึกษาวิชา ณ ประเทศฝร่ังเศสสมเด็จพระนารายณม์ หาราช ทรงครองราชยส์ มบัติต้ังแตป่ พี ุทธศกั ราช 2199 และ สวรรคตในปพี ทุ ธศักราช 2231 สิรคิ รองราชยไ์ ด้ 32 ปี ขณะมพี ระชนม์พรรษาได้ 52 พรรษา
22 22 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระนาม : สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช หรือ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี พระราชสมภพ : วนั อาทติ ย์ท่ี ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๒๗๗ สวรรคต : ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระราชประวัติ : สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช หรือ พระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระนามเดมิ วา่ สนิ ( ชอ่ื จีนเรียกว่า เซิ้นเซิ้นซิน ) เป็นบุตรของขนุ พฒั น์ ( นายหยง หรอื ไหฮอง แซอ่ ๋อง บางตำราก็วา่ แซ่แต้ ) และ นางนกเอี้ยง ( กรมพระเทพามาตย์ ) เกิด เมื่อวนั อาทิตย์ มีนาคม พ.ศ. 2277 ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั บรมโกศแหง่ กรุงศรีอยธุ ยา ต่อมา เจา้ พระยาจักรีผมู้ ี ตำแหน่งสมุหนายกเห็นบคุ ลิกลักษณะ จงึ ขอไปเลยี้ งไว้เหมือนบุตรบญุ ธรรม ตัง้ แต่ครงั้ ยังเยาว์วยั ได้รบั การศึกษาขั้นต้นจาก สำนกั วดั โกษาวาส (วดั คลัง ) และ บรรพชาเป็นสามเณร เมอื่ อายุ 13 ขวบ ท่ีวัดสามพิหาร หลงั จากสกึ ออกมาแลว้ ได้เขา้ รบั ราชการเปน็ มหาดเล็ก และ อุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุ เม่ืออายุครบ 21 ปตี ามขนบประเพณี ของไทยบวชอยู่ 3 พรรษา หลงั จาก สึกออกมาไดเ้ ขา้ รับราชการ ตอ่ ณ. กรมมหาดไทยทศี่ าลหลวงในกรมวัง ต่อมาในแผน่ ดินพระเจ้าอยู่หัวพระท่ีนง่ั สุริยาศน์ อมรนิ ทร์ (พระเจ้าเอกทัศน)์ จงึ ได้รบั บรรดาศกั ดิ์เปน็ หลวงยกกระบัตรเมอื งตากจนได้เปน็ พระยาตาก ในเวลาต่อมา หลังจาก นัน้ ได้ถกู เรยี กตัวเขา้ มาในกรงุ ศรีอยุธยา เพอื่ แตง่ ตั้งไปเปน็ พระยาวชริ ปราการ เจา้ เมืองกำแพงเพชรแทนเจา้ เมอื งคนเก่าท่ีถงึ แก่อนิจกรรมลงใน พ.ศ. 2310 คร้นั เจริญวัยวัฒนา กไ็ ด้ไปถวายตัวทำราชการกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีความดคี วามชอบจน ได้รับเล่อื นหนา้ ท่ีราชการไปเป็นผปู้ กครองหัวหน้าฝา่ ยเหนอื คือ เมืองตาก และเรียกติดปากมาวา่ พระยาตากสนิ สมเด็จพระ เจา้ ตากสนิ มหาราชครองราชย์สมบัติกรุงธนบุรไี ด้ 15 ปีเศษ กส็ ้ินพระชนม์มชี นมายุ 48 พรรษา กรงุ ธนบรุ ีมีกำหนดอายกุ าลได้ 15 ปี พระราชกรณยี กิจ : สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช พระองคม์ คี วามสำคญั ทช่ี าวไทยไม่สามารถจะลืมในพระคุณงามความดีที่ ทรงกอบกู้เอกราชเรม่ิ แตใ่ นวันท่ี 3 มกราคม พ.ศ.2309 ซึง่ ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น 4 ค่ำ เดอื นยี่ จลุ ศกั ราช 1128 ปจี อ อัฐศก พระ ยาวชริ ปราการ (ยศในขณะน้ัน) เห็นวา่ กรงุ ศรอี ยุธยาคงต้องเสยี ทีแกพ่ มา่ จึงตัดสินใจรวบรวมทหารกลา้ ราว 500 คน ตีฝา่ วง
23 23 ล้อมทหารพมา่ โดยตัง้ ใจวา่ จะกลับมากกู้ รุงศรีอยธุ ยากลบั คนื ใหไ้ ดโ้ ดยเรว็ ทรงเขา้ ยึดเมืองจนั ทบรุ ี เริม่ สะสมเสบียงอาหาร อาวธุ กำลังทหาร เพอื่ เขา้ ทำการกอบกกู้ รุงศรีอยุธยา กรงุ ศรีอยุธยาแตกเมือ่ วันองั คาร ขึน้ 9 คำ่ เดือน 8 ปีกุน นพศก จลุ ศกั ราช 1129 ตรงกับ พ.ศ.2310 และสมเดจ็ พระเจา้ ตากสิน สามารถกูก้ ลับคนื มาได้ เมื่อวันศกุ ร์ ขึ้น 15 คำ่ เดอื น 12 จลุ ศักราช 1129 ปีกนุ นพศก ซ่งึ ตรงกบั วนั ท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2310 รวมใชเ้ วลารวบรวมผูค้ นจนเป็นทพั ใหญ่กลบั มากู้ชาติดว้ ย ระยะเวลาเพียง 7 เดือนเท่าน้นั เม่ือทรงจัดการบ้านเมืองเรียบร้อยพอสมควร บรรดาแมท่ พั นายกอง ขุนนาง ข้าราชการทง้ั ฝ่ายทหารและพลเรอื น ตลอดทัง้ สมณะพราหมณาจารยแ์ ละอาณาประชาราษฎรท์ ง้ั หลาย จึงพรอ้ มกันกราบบังคมทลู อญั เชิญ ขึน้ ทรงปราบดาภเิ ษก เป็นพระมหากษตั ริย์ ณ วันพธุ เดือนอา้ ย แรก 4 คำ่ จุลศกั ราช 1130 ปีชวด สัมฤทธิศก ตรงกับวันที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ.2310 ทรงพระนามวา่ พระศรีสรรเพชญ์ หรอื สมเดจ็ พระบรมราชาท่ี 4 แต่เรียกขานพระนามของพระองคต์ ิด ปากว่า สมเด็จพระเจ้าตากสนิ หรือสมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี นอกจากพระราชกรณียกจิ ในดา้ นกู้ชาตแิ ล้ว สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน ยังได้ปราบอริราชศตั รูท่ีมักจะลว่ งลำ้ เขนแดนเขา้ มา ซำ้ เติมไทยยามศึกสงครามอยเู่ สมอ จนในสมยั ของพระองค์ไดข้ ยายอาณาเขตออกไปอย่างไพศาล กลา่ วคอื ทิศเหนอื ไดด้ ินแดนหลวงพระบาง และเวยี งจนั ทน์ ทศิ ใต้ ได้ดินแดนกะลันตนั ตรังกานู และไทรบุรี ทศิ ตะวนั ตก จรดดินแดนเมาะตะมะ ได้ดินแดน เมอื งทวาย มะริด ตะนาวศรี ทิศตะวันออก ไดด้ นิ แดนลาว เขมร ทางฝัง่ แม่นำ้ โขงจดอาณาเขตญวน พระองค์ยงั โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารฟน้ื ฟแู ละสร้างวรรณกรรม นาฏศิลป์ และการละครขึน้ ใหม่ แม้ว่าจะมศี ึกสงครามตลอด รัชกาล กระนน้ั กย็ งั ทรงพระราชนพิ นธเ์ รอ่ื งรามเกียรตถ์ิ งึ 4 เลม่ สมดุ ไทย ในปี พ.ศ.2312 นับวา่ ทรงมีอัจฉริยภาพสูงสง่ เป็น อย่างมาก
24 24 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พระนาม : พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช พระราชสมภพ : 20 มีนาคม พ.ศ. 2280 สวรรคต : 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระราชประวัติ : ทรงประสตู เิ มือ่ วันที่ 20 มนี าคม พ.ศ. 2279 พระราชบิดาทรงพระนามวา่ ออกอักษรสุนทรศาสตร์ พระราชมารดาทรงพระ นามว่า ดาวเรืองมีบตุ รและธิดารวมทง้ั หมด 5 คน คือ คนที่ 1 เปน็ หญิงชอ่ื \"สา\" ( ต่อมาได้รบั สถาปนาเป็นพระเจา้ พ่ีนางเธอกรมสมเดจ็ พระเทพสุดาวดี ) คนท่ี 2 เปน็ ชายชอ่ื \"ขนุ รามนรงค\"์ (ถึงแก่กรรมก่อนทจ่ี ะเสยี กรุงศรีอยธุยาแกพ่ มา่ ครั้งท่ี2 ) คนท่ี 3 เปน็ หญงิ ช่อื \"แก้ว\" ( ตอ่ มาไดร้ ับสถาปนาเปน็ พระเจ้าพี่นางเธอกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ ) คนที่ 4 เป็นชายช่ือ \"ดว้ ง\" (พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ) คนที่ 5 เปน็ ชายชื่อ \"บุญมา\" ( ต่อมาไดร้ บั สถาปนาเปน็ กรมพระราชวังบวรมหาสรุ สงิ หนาท สมเด็จพระอนุชาธิราช ) เมื่อเจรญิ วยั ได้ถวายตวั เป็นมหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอุทมุ พร พระชนมายุ 21 พรรษาออกบวชท่ีวัดมหา ทลายแล้วกลบั มาเปน็ มหาดเล็กหลวงในแผ่นดินพระเจา้ อุทมุ พร พระชนมายุ 25 พรรษาได้รบั ตัวแหนง่ เปน็ หลวงยกกระบตั ร ประจำเมอื งราชบรุ ใี นแผน่ ดนิ พระท่นี งั่ สุริยามรนิ ทรพ์ ระองค์ไ์ดว้ วิ าหก์ บั ธดิ านาค ธดิ าของทา่ นเศรษฐีทองกบั สม้ พระชนมายุ 32 พรรษา ในระหว่างท่ีรบั ราชการอยู่กับพระเจ้ากรุงธนบรุ ี ไดเ้ ล่อื นตำแหนง่ ดงั นพ้ี ระชนมายุ 33 พรรษา พ.ศ. 2312ไดเ้ ลือ่ นเปน็ พระยาอภัยรณฤทธิ์ เมื่อพระเจา้ กรงุ ธนบรุ ปี ราบชุมนุมเจ้าพมิ าย พระชนมายุ 34 พรรษา พ.ศ. 2313ได้เลื่อนเปน็ พระยายมราชท่สี มุหนายกเม่อื พระเจ้ากรงุ ธนบุรีไปปราบชมุ นมุ เจา้ พระฝาง
25 25 พระชนมายุ 35 พรรษา พ.ศ. 2314ได้เลื่อนเป็นเจ้าพระยาจักรเี มอ่ื คราวเป็นแมท่ พั ไปตเี ขมรครั้งที่ 2 พระชนมายุ 41 พรรษา พ.ศ. 2321ได้เล่ือนเปน็ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเมื่อคราวเป็นแม่ทพั ใหญไ่ ปตีเมืองลาว ตะวนั ออก พ.ศ. 2323 เป็นคร้ังสุดทา้ ยทไ่ี ปปราบเขมร ขณะเดยี วกับท่ีกรุงธนบุรีเกดิ จลาจลจงึ เสดจ็ ยกกองทัพกลบั มากรงุ ธนบุรี พ.ศ. 2325 พระองคท์ รงปราบปรามเส้ียนหนามแผน่ ดินเสรจ็ แล้วจึงเสดจ็ ข้ึนครองราชสมบัติปราบดาภิเษกแล้วไดม้ ีพระราช ดํารสั ให้ขุดเอาหบี พระบรมศพของพระเจ้ากรุงธนบุรขี ้ึนตั้ง ณ เมรุวัดบางย่ีเรอื พระราชทานพระสงฆบ์ งั สุกุลแล้วถวายพระเพลิง พระบรมศพ เสร็จแลว้ ใหม้ ีการมหรสพ พระเกียรตยิ ศ : • ทองดว้ ง (20 มีนาคม พ.ศ. 2279 - พ.ศ. 2311) • พระราชรนิ (พระราชวรนิ ทร)์ (พ.ศ. 2311) • พระยาอภัยรณฤทธ์ิ (พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2313) • พระยายมราช (พ.ศ. 2313 - พ.ศ. 2317) • เจา้ พระยาจักรี (พ.ศ. 2317 - สมัยสมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบรุ ี) • สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรยิ ศ์ ึก พิฤกมหิมา ทุกนัครระอาเดช นเรศรราชสรุ ิยวงษ์ องคอ์ รรคบาทมลุ กิ ากร บวรรตั นบริ นายก (สมัยสมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรี - 6 เมษายน พ.ศ. 2325) • พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธริ าชรามาธบิ ดี ศรีสินทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธบิ ดนิ ทร์ ธรณินทราธิราช รัตนา กาศ ภาสกรวงศ์ องคป์ รมาธิเบศร ตรภี ูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมทุ ัยดโรมนต์ สกลจักรวาฬาธิ เบนทร์ สรุ เิ ยนทราธิบดินทร์ หริหรินทรธาดาธิบดี ศรสี วุ ิบุลยคณุ อขนษิ ฐ์ ฤทธริ าเมศวรมหันต์ บรมธรรมกิ ราชาธิราช เดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤบดนิ ทร์ ภมู ินทรปรมาธเิ บศร์ โลกเชฏฐวิสทุ ธ์ิ รตั นมกฎุ ประเทศคตามหาพทุ ธางกรู บรม บพิตร พระพทุ ธเจ้าอยู่หัว (6 เมษายน พ.ศ. 2325 - สมัยรชั กาลท่ี 3) • พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก (สมัยรัชกาลท่ี 3 - สมัยรัชกาลที่ 4) • พระบาทสมเด็จพระปรโมรรุ าชามหาจักรีบรมนารถฯ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก (สมยั รัชกาลที่ 4 -11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) • พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรสี ินทรมหาจกั รีบรมนาถ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก (11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2459 - สมยั รัชกาลที่ 7)
26 26 พระราชกรณียกจิ : ทางด้านศาสนาโปรดใหส้ ังคายนาพระไตรปิฎก พ.ศ. 2331 และจารฉบับทองประดิษฐานไว้ในหอพระ มณเฑยี รธรรมวัดพระศรีรตั นศาสดารามนอกจากนี้ยังทรงสร้างและบรู ณะปฏสิ ังขรณ์พระอารามและพระพทุ ธรูปต่างๆ เปน็ อัน มาก ทางด้านวรรณคดีและศิลปกรรม ทรงฟน้ื ฟวู รรณคดีไทยซ่งึ เสอื่ มโทรมตงั้ แตก่ รุงศรีอยุธยาแตกใหก้ ลับคืนดีอกี วาระ หนง่ื ทรงสง่ เสริมและอุปถัมภก์ วีในราชสำนักบทพระราชนพิ นธท์ ีส่ ำคญั เชน่ บทละครเร่อื งรามเกยี รตเ์ิ ปน็ ตน้ งานทางดา้ น ศิลปกรรมน้นั เป็นผลเนอื่ งมาจากการทีท่ รงบรู ณะปฏิสังขรณ์และสร้างพระอารามเป็นจาํ นวนมากเป็นการเปดิ โอกาสใหช้ า่ งฝมี อื ด้านต่างๆ มีงานทาํ และได้ ผลิตงานฝมี ือช้นิ เอกไว้
27 27 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั พระนาม : พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพ : 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2311 สวรรคต : 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 พระราชประวัติ : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัยทรงเปน็ พระมหากษัตรยิ ์ไทยองค์ท่ี 2 แหง่ ราชวงศจ์ กั รี ทรงประสูติ เม่อื 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 ตรงกบั วนั พุธขน้ึ 7 คํา่ เดือน 3 ปี กุน มีพระนามเดิมวา่ \"ฉิม\" พระองค์ทรงเป็นพระบรมราช โอรสองคท์ ่ี 4 ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรนิ ทรามาตย์พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง ประสตู ิ ณ บ้านอัมพวา แขวงเมืองสมทุ รสงคราม ขณะน้นั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช เป็นหลวง ยกกระบตั รเมอื งราชบุรพี ระบิดาได้ให้เข้าศึกษากบั สมเด็จพระวันรัต ( ทองอยู่ ) ณ วัดบางหวา้ ใหญ่ พระองคท์ รงมพี ระชายา เทา่ ท่ีปรากฏ 1.กรมสมเด็จพระศรสี ุริเยนทรามาตย์ พระอคั รมเหสี 2.กรมสมเดจ็ พระศรสี รุ าลยั พระสนมเอกขณะขึ้นครองราชย์ในปีพ.ศ. 2352 มีพระชนมายไุ ด้42 พรรษา พระเกียรติยศ : • ฉิม (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 – สมัยรัชกาลที่ 1) • สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (สมัยรัชกาลท่ี 1 –15 มีนาคม พ.ศ. 2350) • กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล (15 มนี าคม พ.ศ. 2350 - 7 กนั ยายน พ.ศ. 2352) • สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (8 กันยายน พ.ศ. 2352 –17 กันยายน พ.ศ. 2352) • พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ สุลาลยั (สมยั รชั กาลท่ี 3 – สมัยรัชกาลท่ี 4) • พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทรฯ พระพุทธเลิศหล้านภาไลย (สมัยรัชกาลที่ 4 – 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2459)
28 28 • พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรสี ินทรมหาอศิ รสนุ ทร พระพทุ ธเลศิ หล้านภาไลย (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 – สมยั รชั กาลที่ 7) • พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร ไตรเสวตรคชาดิศรมหาสวามินทร์ สยารษั ฎินทรวโรดม บรม จกั รพรรดริ าช พลิ าศธาดาราชาธริ าช บรมนารถบพติ ร พระพุทธเลิศหลา้ นภาไลย (สมยั รัชกาลท่ี 7 – ปจั จบุ ัน) พระราชกรณยี กิจ : ในด้านการทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรมของชาตพิ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ทรงมพี ระ อจั ฉริยภาพในงานศิลปะหลายสาขาทั้งทางด้านประติมากรรมดา้ นการดนตรีแต่ทีโ่ ดดเดน่ ท่สี ุดเห็นจะเปน็ ในด้านวรรณคดจี น อาจเรยี กไดว้ ่ายุคน้เี ป็นยุคทองของวรรณคดไี ทย สมยั กรงุ รัตนโกสินทรล์ ะครราํ ร่งุ เรืองถึงขีดสดุ ดว้ ยพระองค์ทรงเปน็ กวีเอก และทรงพระราชนิพนธว์ รรณคดีไวห้ ลายเลม่ ดว้ ยกัน เช่น รามเกียรติต์ อนลกั สดี าวานรถวายพล พิเภกสวามิภักด์ิสดี าลยุ ไฟ นอกจากนย้ี งั มพี ระราชนพิ นธเ์ ร่ืองอเิ หนาทไี่ ดร้ ับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรในสมัยรชั กาลท่ี ๖ ว่าเปน็ ยอดกลอนบทละคร ราํ สว่ นบทละครนอก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงพระราชนิพนธข์ นึ้ มา ๕ เรื่องด้วยกันไดแ้ ก่ไชยเชษฐ์ สังข์ ทอง มณีพชิ ัย ไกรทอง และคาวีพระองค์ยงั ไดท้ รงพระราชนิพนธ์บทเห่เรือเรื่องกาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาว หวานซงึ่ มคี วามไพเราะ และแปลกใหม่ไมซ่ ำ้ แบบ กวที า่ นใด เน้ือเรือ่ งแบ่งออกเปน็ ๕ ตอน คือเห่ชมเครอื่ งคาวเหช่ มผลไมเ้ หช่ มเครือ่ งคาวหวาน เห่ ครวญเข้ากับนกั ขัตฤกษ์ และบทเจ้าเซน็ ซ่งึ บทเหน่ เี้ ขา้ ใจกันว่าเป็นการชมฝีพระหัตถ์ในด้านการทำอาหารของสมเด็จพระศรีสรุ ิ เยนทราบรมราชินนี นั่ เองนอกจากพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัยท่ีทรงเปน็ ยอดกวเี อกแล้วในยคุ สมยั นย้ี ังมยี อดกวที ี่ มีช่อื เสยี งอกี ลายคน เช่น สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส,สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร, นายนริทร์ธเิ บศ,และสนุ ทรภู่ เปน็ ตน้ ดา้ นศิลปวัฒนธรรมของชาติพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ทรงทาํ นุบํารงุ ตลอดจนทรงเป็นกษตั รยิ ์ศลิ ปินโดยแท้จรงิ
29 29 พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจ้าอยู่หัว พระนาม : พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชสมภพ : 31 มีนาคม พ.ศ. 2331 สวรรคต : 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระราชประวัติ : พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ทรงเปน็ พระมหากษัตรยิ ์ไทยองค์ที3่ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี เปน็ พระราช โอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระศรีสรุ าลยั ( เจ้าจอมมารดาเรียม ) ประสตู ิ ณ วันจันทร์ เดือน 4 แรม 10 คา่ํ ปี มะแม มีพระนามเดมิ ว่า \"พระองคช์ ายทบั \" พ.ศ. 2365 พระองคช์ ายทบั ได้รับสถาปนาเป็ นกรมหม่ืนเจษฎา บดนิ ทร์กาํ กบั ราชการกรมท่า กรมพระคลงั มหาสมบัติกรมพระตำรวจวา่ การฎีกา นอกจากน้ยี ังได้ทรงรับพระกรุณาให้แต่ง สำเภาหลวงออกไปคาข้ าย ณ เมืองจนี พระองค์ทรงได้รบั พระสามัญญานามวา่ \"เจ้าสัว\" ในขณะท่พี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ในรัชการท่ี 2 ทรงพระประชวรและเสดจ็ สวรรคต โดยมไิ ด้ตรัสมอบราชสมบตั ใิ หแ้ ก่พระราชโอรสองคใ์ ด พระบรมวงศานวุ งศ์ และบรรดาเสนาบดผี ้เู ป็นประทานในราชการจงึ ปรกึ ษากนั เหน็ ควรถวายราชสมบตั ิแก่พระเจา้ ลูกยาเธอกรมหม่นื เจษฎา บดนิ ทรอ์ ันท่จี รงิ แลว้ ราชสมบตั คิ วรตกแกเ่ จ้าฟา้ มงกุฎ ( พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว) เพราะเจ้าฟ้ามงกฎุ เป็นราช โอรสท่ปี ระสตู ิจากสมเดจ็ พระบรมราชนิ ใี นรัชกาลท่ี 2 โดยตรง ส่วนกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ เปน็ เพียงราชโอรสท่ีเกดิ จากเจ้า จอมเทา่ น้ันโดยทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าอยู่หวั ตัง้ พระราชหฤทัยไวแลว้ วา่ เมื่อสิ้นรชั กาลพระองคแ์ ลว้ จะคนื ราชสมบัติ ให้แก่สมเด็จพระอนชุ า ( เจ้าฟ้ามงกุฎ) ดงั นั้นพระองคจ์ งึ ไมท่ รงสถาปนาพระบรมราชินีคงมแี ต่เจา้ จอมมารดาและเจ้าจอม พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยู่หวั ขน้ึ ครองราชยใ์ นวันที่21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367ขน้ึ 7 ค่ํา เดือน 9 ปี วอกฉศก มี พระชนมายุได้ 37 พรรษา พระเกียรติยศ : • หม่อมเจ้าชายทับ (31 มนี าคม พ.ศ. 2330 - พ.ศ. 2349) • พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจา้ ชายทับ (พ.ศ. 2349 - 7 กันยายน พ.ศ. 2352) • พระเจ้าลูกยาเธอ พระองคเ์ จา้ ชายทบั (7 กันยายน พ.ศ. 2352 - พ.ศ. 2356) • พระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดนิ ทร์ (พ.ศ. 2356 -21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367)
30 30 • พระบาทสมเด็จพระปรมาธวิ รเสรฐมหาเจษฎาบดินทร์ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 11พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) ภายหลงั การสวรรคตในรชั กาลที่ 6 • พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาธิบดินทร พระน่ังเกลา้ เจ้าอย่หู วั (11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2459 - สมัยรัชกาลท่ี 7) ภายหลังการสวรรคตในรัชกาลที่ 7 • พระบาทสมเดจ็ พระปรมาธิวรเสรฐมหาเจษฎาบดินทรฯ พระน่งั เกลา้ เจ้าอยูห่ วั (สมยรั ัชกาลท่ี7 - พ.ศ. 2540) ภายหลงั การสวรรคตในรัชกาลที่ 9 • พระบาทสมเดจ็ พระปรมาธวิ รเสรฐมหาเจษฎาบดินทรสยามินทรวิโรดมบรมธรรมกิ มหาราชาธริ าชบรมนารถ บพิตร พระนั่งเกล้าเจ้าอยหู่ ัวพระมหาเจษฎาราชเจ้า (พ.ศ.2540 - ปัจจบุ ัน) พระราชกรณียกิจ : พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จขนึ้ เสวยสิรริ าชสมบัตใิ น พ.ศ. 2367 ทรงทำนุบำรุง ประเทศให้ เจรญิ รุ่งเรืองทกุ ด้าน เช่น ดา้ น เศรษฐกจิ โปรดใหป้ รับปรงุ การคา้ขายกบั ต่างประเทศและระเบียบวิธกี ารเกบ็ ภาษีอากรต่างๆ ด้านความม่ันคงโปรดใหส้ รา้ งป้อมปราการ ตามหวั เมืองสำคัญ และ ตามชายฝัง่ ทะเล ตลอดจนต่อเรือรบเรือกำป่นั ไวใ้ ชใ้ น ราชการเปน็ จำนวนมากโปรดใหม้ ีการปราบปราม ผกู้ อ่ ความไม่สงบตอ่ แผน่ ดินอย่างเด็ดขาดเปน็ ต้นว่าการปราบปราม เวียงจันทน์ญวน และหัวเมืองปกั ษใ์ ตท้ ้งั ยังทรงยกฐานะหมูบ่ ้านต่างๆข้ึนเป็น เมอื งเพือ่ ขยายความเจริญในการปกครองดา้ น ศาสนาทรงบำเพญ็ พระราชกศุ ลเปน็ นจิ ทรงบูรณะปฏสิ งั ขรณ์พระอารามเปน็ จำนวนมาก โปรดใหม้ ีการสอนพระปริยัติธรรมแก่ พระภิกษุและโปรดให้จารกึ สรรพตาํ ราต่างๆ 8 หมวดบนแผ่นศลิ า ประดับไว้ ณ ศาลาราย ในวัด พระเชตพุ นฯ เพ่อื เผยแพร่ ความรู้แกป่ ระชาชน เสมือนเปน็ มหาวิทยาลัยแหง่ แรกของประเทศ ด้านวรรณกรรมนน้ั ทรงเป็นกวีดว้ ยพระองค์ เองและทรง ส่งเสรมิ ผ้มู ีความรูด้ ้านนีส้ ่วนงานด้านศิลปกรรม นบั เปน็ ผลสืบเน่อื งมาจากการสรา้ ง บรู ณะปฏิสังขรณ์พระอาราม มีผู้กลา่ ว ว่า ลักษณะศลิ ปกรรมในรชั กาลที่ 3 เปน็ แบบที่งดงามยงิ่ เพราะหลงั จากนศ้ี ลิ ปกรรมไทยรบั อทิ ธพิ ลศลิ ปะตะวันตกมากเกินไป
31 31 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนาม : พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระราชสมภพ : 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 ที่พระราชวังเดมิ กรงุ เทพมหานคร สวรรคต : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 (63 พรรษา 347 วนั ) ท่ีพระท่นี ัง่ ภาณมุ าศจำรูญ พระราชประวตั ิ : พระราชโอรสองค์ท่ี 43 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทีป่ ระสูติแต่สมเดจ็ พระศรีสรุ ิเยนทราบ รมราชินี เม่ือครง้ั ยงั ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสนุ ทร \" เมื่อพระชนมายไุ ด้ 9 พรรษา จงึ ได้จัดการพระราชพิธลี งสรงเพือ่ เฉลมิ พระนามเจา้ ฟา้ อย่างเป็นทางการ เมอื่ พระองค์มพี ระชนมายุครบ 14 พรรษา จึงทรง ออกผนวชเปน็ สามเณร โดยมกี ารสมโภชทพ่ี ระทน่ี ่งั อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั แลว้ แหไ่ ปผนวช ณ พระอุโบสถ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม หลงั จากนั้นได้เสด็จไปประทับอยู่ ณ วัดมหาธาตุยวุ ราชรงั สฤษฎร์ิ าชวรมหาวิหาร ผนวชจนออกพรรษาแล้วจงึ ทรงลาผนวช รวมเปน็ ระยะเวลาประมาณ 7 เดอื น เมื่อพระองคม์ ีพระชนมายุ 21 พรรษา จึงจะผนวชเป็นพระภิกษุ โดยให้ผนวช ณ วดั พระ ศรรี ตั นศาสดาราม โดยมสี มเดจ็ พระอริยวงษญาณ (ด่อน) เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พระองคไ์ ดร้ ับพระนามฉายาวา่ \"วชิรญาโณ\" หรือ \"วชิรญาณภิกขุ\" จำพรรษาทีว่ ัดราชาธิวาสราชวรวหิ าร เมอื่ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคตในวนั ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระราชวงศแ์ ละเสนาบดีมีมติเหน็ ชอบให้ถวายราชสมบัตแิ กพ่ ระมงกุฎ วชิรญาณะ จึงได้ใหส้ มเด็จ เจา้ พระยาบรมมหาประยรู วงศ์ (ดิศ บุนนาค) ไปเฝ้าพระมงกฎุ ณ วัดบวรนเิ วศราชวรวิหาร แตพ่ ระองคย์ ังไมท่ รงลาผนวชและ ตรสั ว่าต้องอญั เชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจา้ ฟา้ จฑุ ามณี กรมขุนอิศเรศรงั สรรค์ ขึน้ ครองราชย์ด้วย เนอ่ื งจากพระองคท์ รง เห็นวา่ เป็นผทู้ ่คี วบคุมกำลงั ทหารเปน็ อันมากได้ เม่ือ พ.ศ. 2411 พระองค์ทรงคำนวณวา่ จะสามารถเหน็ สุริยุปราคาเต็มดวงได้ ในประเทศสยาม ณ หมบู่ า้ นหวา้ กอ พระองค์เสด็จประทบั อยูท่ ่ีหว้ากอเปน็ ระยะเวลาประมาณ 9 วัน จึงเสดจ็ กลบั กรุงเทพมหานคร ภายหลังการเสดจ็ กลบั มายงั พระนคร พระองคเ์ ริ่มมพี ระอาการประชวรจบั ไข้และทรงทราบว่าพระอาการ ประชวรของพระองคใ์ นคร้ังน้ีคงจะไมห่ าย หลังจากน้ัน ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระองคก์ เ็ สด็จสวรรคต พระเกยี รติยศ : พระมหากษัตรยิ ์แห่งสยาม พระราชกรณียกจิ : ทรงยกเลกิ ขนบธรรมเนยี มท่ีล้าสมยั เช่น การถอดเสอ้ื เขา้ เฝา้ การหมอบคลาน เป็นตน้ และยงั ทรง สถาปนาคณะสงฆ์ธรรมยุติข้ึนด้วย
32 32 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระนาม : พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว พระราชสมภพ : 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 สวรรคต : : 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 พระราชประวัติ : พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั เสด็จพระราชสมภพเมื่อวนั ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 เปน็ พระ ราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ที่ประสตู ิแต่กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ (ตอ่ มาภายหลังในสมัยรชั กาลท่ี 6 ได้มีการเปลย่ี นแปลง พระนามเจ้านายฝา่ ยในให้ถูกต้องชดั เจนตามโบราณราชประเพณี นิยมยคุ ถัดมาเป็น สมเด็จพระเทพศริ ินทราบรมราชินี) ไดร้ ับ พระราชทานนามว่า สมเดจ็ เจา้ ฟ้าชายจฬุ าลงกรณบ์ ดนิ ทรเทพมหามงกฎุ บุรุษยรัตนราชรววิ งศ์วรุตมพงศบรพิ ัตร สริ วิ ฒั นราช กุมาร พระองค์ ทรงมพี ระขนษิ ฐาและพระอนุชารวม 3 พระองค์ได้แกส่ มเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ธอเจ้าฟ้าจันทรมณฑลกรมหลวงวิสุทธิ กระษัตรยิ ์ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดพิ งศ์ และ สมเดจ็ พระราชปติ ุลาบรพงศาภมิ ุข เจ้าฟ้าภาณรุ งั ษีสวา่ งวงศ์กรมพระยาภาณพุ ันธุวงศ์วรเดช วันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2404 สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ชายจฬุ าลงกรณ์ไดรับ้ การสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเปน็ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า จุฬาลงกรณ์กรมหม่ืนพิฆเนศวรสุรสงั กาศและเม่ือ พ.ศ. 2409 พระองคท์ รงผนวชตามราชประเพณี ณ วดั บวรนิเวศวิหาร ภายหลังจากการทรงผนวชพระองค์ได้รบั การเฉลมิ พระนามาภิไธยขึ้นเปน็ สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณก์ รมขนุ พินติ ประชานาถเมอ่ื ปพี .ศ. 2410 โดยทรงกาํ กับราชการกรมมหาดเลก็ กรมพระคลงั มหาสมบัติ และกรมทหารบกวงั หนา้ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2410 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวเสดจ็ สวรรคตภายหลังทรงเสด็จออกทอดพระ เนตร สุริยปุ ราคา โดยก่อนทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวจะสวรรคตน้ันได้มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า \"พระราชดำริทรงเห็น ว่า เจ้านายซึ่งจะสบื พระราชวงศต์ ่อไปภายหน้า พระเจา้ นอ้ งยาเธอกไ็ ด้ พระเจา้ ลูกยาเธอกไ็ ด้ พระเจา้ หลานเธอกไ็ ด้ ให้ท่านผู้ หลักผใู้ หญ่ปรกึ ษากนั จงพรอ้ ม สุดแล้วแต่จะเห็นดีพรอ้ มกนั เถิด ทา่ นผู้ใดมปี รีชาควรจะรักษาแผ่นดนิ ได้ก็ให้เลือกดตู ามสมควร\"
33 33 ดังนั้น เม่ือพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เสด็จสวรรคต จงึ ได้มีการประชมุ ปรกึ ษาเรื่องการถวายสิรริ าชสมบัตแิ ดพ่ ระเจ้าแผ่น ดิน พระองค์ใหม่ซง่ึ ในทป่ี ระชมุ นั้น ประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศข์ ้าราชการช้ันผู้ใหญ่และพระสงฆโ์ ดยพระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงเทเวศร์วัชรนิ ทร์ได้เสนอ สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์กรมขนุพินิตประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอม เกลาเ้ จ้าอย่หู วั ขึ้นเปน็ พระเจ้าแผ่นดิน ซง่ึ ทปี่ ระชุมน้ัน มีความเหน็ พ้องเป็นเอกฉันท์ดังน้ัน พระองคจ์ ึงได้รับการทลู เชญิ ให้ขึ้น ครองราชสมบัตติ ่อจากสมเด็จพระราชบิดา โดยในขณะน้ัน ทรงมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังน้ัน จงึ ได้แตง่ ต้ังเจา้ พระยา ศรสี รุ ิยวงศเ์ ปน็ ผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์จนกวา่ พระองค์จะทรงมพี ระชนมพรรษครบ 20 พรรษาโดยทรงประกอบพระราช พธิ บี รมราชาภเิ ษกครั้งแรกเม่อื วนั ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดย ได้รบั การเฉลมิ พระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจฬุ าลงกรณ์เกล้าเจา้ อยู่หัว โดยมีพระนามตามจารกึ ในพระสบุ รรณบัฎว่า \" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกฎุ บรุ ุษรัตนราชรวิวงศ วรุตมพงศบรพิ ตั ร วรขัติยราชนกิ โรดม จาตุรนั บรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อภุ โตสชุ าตสิ งั สทุ ธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดศิ วรราชรามวรงั กรู สุภาธกิ าร รงั สฤษด์ิ ธญั ลกั ษณวิจติ รโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสทิ ธิสรรพศภุ ผลอุดม บรมสขุ มุ มาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรตคิ ุณอดลุ ยวเิ ศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศกั ดส์ิ มญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราช ประยูร มลู มขุ ราชดลิ ก มหาปรวิ ารนายกอนันตมหนั ตวรฤทธิเดช สรรวเิ ศษสริ นิ ทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธ์ิ วรยศม โหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉตั ร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทศิ วชิ ติ ชยั สกลมไหสวริยม หาสวามินทร์ มเหศวรมหินทร มหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พทุ ธาทไิ ตยรัตนสรณารกั ษ์ อดุลยศกั ด์ิอรรค นเรศราธิบดี เมตตากรณุ าสตี ลหฤทยั อโนปมยั บญุ การสกลไพศาล มหารษั ฎาธบิ ดนิ ทร ปรมินทรธรรมกิ หาราชาธริ าช บรมนาถ บพติ ร พระจฬุ าลงกรณ์เกล้าเจ้าอยูห่ ัว\" เมื่อ พระองคท์ รงมีพระชนมายคุ รบ 20 พรรษา จึงทรงลาผนวชเป็นพระภิกษแุ ละได้มีการจัดพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกคร้ังที่2 ข้ึน เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 โดยได้รับการเฉลมิ พระปรมาภิไธยในครั้งนี้วา่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จฬุ าลงกรณฯ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั โดยมพี ระนามตามจารกึ ในพระสบุ รรณบัฎว่า \" พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณบ์ ดินทรเทพยมหามงกฏุ บรุ ุษรัตนราชรววิ งศวรุตมพงศบริพตั ร วรขตั ิยราชนกิ โร ดม จาตรุ นั ตบรมมหาจักรพรรดิราชสงั กาศ อุภโตสุชาติสังสทุ ธเคราะหณี จักรบี รมนาถ อดศิ วรราชรามวรังกูร สจุ ริตมลู สสุ าธิต อรรคอกุ ฤษฏไพบูลย์ บรุ พาดูลย์กฤษฎาภินหิ าร สภุ าธกิ ารรังสฤษดิ์ ธัญลกั ษณวิจติ รโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยคุ ล ประสทิ ธสิ รรพศุภผลอดุ มบรมสุขุมมาลย์ ทพิ ยเทพาวตารไพศาลเกยี รตคิ ณุ อดุลยพเิ ศษ สรรพเทเวศรานรุ กั ษ์ วสิ ิษฐศกั ดส์ิ มญาพนิ ติ ประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มลู มุขมาตยาภริ มย์ อดุ มเดชาธกิ าร บรบิ รู ณ์คุณสารสยามา ทนิ ครวรตุ เมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหนั ตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนกิ รสโมสรสมมติ ประสิทธ์ิ วรยศม โหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิรริ ัตโนปลกั ษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลติ สรรพทศทศิ วิชิตชัย สกลมไหศวรยิ ม หาสวามนิ ทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธริ าชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พทุ ธาทไิ ตรรัตนสรณารกั ษ์ อดลุ ยศักดิ์อรรคนเรศ ราธบิ ดี เมตตากรณุ าสตี ลหฤทัย อโนปมยั บญุ การ สกลไพศาลมหารษั ฎาธิบดินทร ปรมนิ ทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถ บพติ ร พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั \"
34 34 พระ บาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวเสดจ็ สวรรคตด้วยโรคพระวักกะ เมือ่ วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 เวลา 2.45 นาฬกิ า รวมพระชนมายไุ ด้ 58 พรรษา พระเกยี รติยศ : • พระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ (20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 -21 มนี าคม พ.ศ. 2404) • สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจฬุ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยมหามกฎุ บุรุษยรัตนราชรววิ งศ์ วรุตมพงศบรพิ ัตร สริ วิ ฒั นราชกมุ าร กรมหมื่นพฆิ เนศวรสุรสงั กาศ (21 มีนาคม พ.ศ. 2404 -15 มีนาคม พ.ศ. 2410) • สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ จุฬาลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยมหามกุฎ บรุ ุษยรัตนราชรววิ งศ์ วรุตมพงศบริพัตร สิริวฒั นราชกมุ าร กรมขนุ พินิตประชานาถ (15 มนี าคม พ.ศ. 2410 - 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2411) • พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ์ พระจฬุ าลงกรณ์เกล้าเจา้ อยูห่ ัว (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 -16 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2416) • พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 - 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453) พระราชกรณียกจิ : พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวทรงได้รบั ยกย่องวา่ เปน็ นกปั ฏิรูปเปลยี่ นแปลงประเทศจากแบบเก่ามาสู่ แบบใหมท่ รงเป็นผ้นู ำในการปรับปรงุ ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบสงั คม และ ระบอบการปกครองของไทยใหท้ ันสมัย ทดั เทียมอารยประเทศ เชน่ ทรงยกเลกิ ประเพณีการเฝ้าแหนแบบโบราณ มาเปน็ การยนื ถวายบงั คมแบบตะวนั ตก ทรงยกเลิก การไต่สวนพจิ ารณาคดแี บบจารตี นครบาลมาเปน็ การไตส่ วนพิจารณาคดใี นศาลแบบปจั จุบัน ทรงยกเลกิ ระบบทาสได้อยา่ ง ละมนุ ละมอ่ ม ทรงจัดการศึกษาแผนใหม่ทรงตั้งโรงเรียนหลวง ข้นึ ทง้ั ในพระบรมมหาราชวงั และตามวัดตา่ งๆ โปรดใหป้ รับปรงุ การสาธารณปู โภคและสาธารณูปการเช่น การประปาการรถไฟ และ การไปรษณีย์-โทรเลข ทางด้าน ศาสนา ทรงสรา้ งและบรู ณะปฏสิ งั ขรณ์วัดวาอารามต่างๆ ทรงปรับปรงุ ระบอบการปกครองโดย เสดจ็ ประพาสประเทศเพ่ือน บา้ น มีชวา สิงคโปร์ และอินเดีย เพอ่ื ทรงศกึ ษาการปกครองแบบตะวนั ตกที่ นาํ มาประยุกต์ใช้ในประเทศตะวนั ออก แลว้ ทรง ปรบั ปรงุ การปกครองของไทยให้ทนั สมยั โดยทรงแบ่ง ส่วนราชการการบริหารราชการสว่ นกลางเปน็ 12 กระทรวง และแบ่ง สว่ น ราชการบริหารสว่ นทอ้ งถิ่น เป็นมณฑล พระราชกรณยี กิจท่สี ำคญั ยิง่ กค็ อื ทรงดำเนินวิเทโศบายอย่างสขุ มุ คมั ภีรภาพ ทรง ผ่อนปรน ยอมสูญเสียดนิ แดนบางสว่ นให้แกป่ ระเทศมหาอำนาจที่แสวงหาอาณานคิ มอยู่ในขณะนนั้ เพอ่ื รักษาเอกราชของ ประเทศไว้ทรงเป็นท่รี กั ของ ประชาชนทกุ ชนชน้ั จนทรงได้รับพระสมัญญานามวา่ สมเด็จพระปิย มหาราช ทรงเลิกทาส พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั มีพระราชหฤทยั อันเตม็ เปีย่ มไปดว้ ยพระมหากรุณาธคิ ุณแก่พสกนิกรอย่าง หาท่ีสุดมไิ ดท้ รงเห็นการณไ์ กล และตระหนักในความเจรญิ รงุ่ เรืองและสนั ติสุข ของบา้ นเมอื ง การเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ จะเป็น ผลสําเรจ็ ได้ต้องทาํ ใหค้ น ไทยได้เป็นไท ไมม่ ีทาสอีกต่อไป พระองค์จึงได้ทรงดาํ เนินการเลิกทาสโดยมใิ หก้ ระทบกระเทือนถึง
35 35 เจ้าของทาสและทาส ดว้ ยพระราชหฤทยัแนว่ แนแ่ ละทรงพระราชอุตสาหะอยา่ งยิ่งเป็นเวลาถงึ ๓๐ ปีกท็ รงเลกิ ทาสสำเร็จลง ตามพระราช ปณธิ านที่ไดท้ รงตง้ั ไว้ การเสดจ็ ประพาสต้น เหตุการณ์ทแี่ สดงให้เห็นวา่ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงใฝ่พระทยั ในทกุ ขส์ ุข ของอาณา ประชาราษฎร์คอื การเสด็จประพาสต้น เปน็ การเสดจ็ ไปเพือ่ สำราญพระราชอริ ิยาบถอยา่ งง่ายๆ โดยไมใ่ ห้มีทอ้ งตราส่งั หัวเมือง จัดทำท่ปี ระทบั แรม เมอื่ พอพระราชหฤทยั จะประทบั ท่ีใดก็ประทบั ที่น้ันบางครัง้ กท็ รงเรือเล็ก หรือเสด็จโดยสารรถไฟไป โดยมิ ให้ใครรจู้ ักพระองคท์ ำใหไ้ ด้ประทับปะปนในหมรู่ าษฎรทรงทราบทุกข์สขุ ของราษฎรจากปากราษฎรโดยตรง ทําให้ได้ทรงแก้ไข ปดั เปา่ ความทุกขย์ ากให้ ราษฎรของพระองคไ์ ด้ผล โดยตรง
36 36 บรรณานุกรม ๑๐ พระราชกรณียกิจน่ารูข้ องในหลวงรชั กาลที่ ๑๐. (2562). [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://www.thailandpostmart.com/news/1209 [สืบคน้ เม่ือ 21 กุมภาพันธ์ 2564]. ประวัติของ พระราชินี สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ. (ไม่ระบ)ุ . [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://artmccl2ne1.wordpress.com/ประวตั ขิ อง-พระราชินี [สบื ค้นเม่ือ 22 กุมภาพันธ์ 2564]. พระราชประวัตสิ มเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ. (ไม่ระบ)ุ . [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.web03.dev03rd.com/พระราช ประวตั สิ มเดจ็ พระ [สบื คน้ เม่อื 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564]. พระบรมไตรโลกนาถแห่งกรงุ ศรอี ยุธยา. (ไมร่ ะบุ). [ออนไลน์]. ได้จาก: https://sites.google.com/site/thdlxngkheiynwep [สืบค้นเมอ่ื 22 กุมภาพันธ์ 2564]. พระราชประวตั ิโดยย่อ (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช). (ไมร่ ะบุ). [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/wow2533wow/home/gohudera [สบื คน้ เมื่อ 22 กมุ ภาพันธ์ 2564]. โศจริ ตั น์ พวงช่มุ ชน่ื . (ไมร่ ะบ)ุ . พระนเรศวรมหาราช , พระนารายมหาราช. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/sojiratbee/xuth-ya-nra-chphakdi/phra-nreswr-mharach [สืบคน้ เมอ่ื 22 กุมภาพนั ธ์ 2564]. ประวัติสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช. (ไมร่ ะบ)ุ . [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/phrarachprawati09/home/prawati-smdec-phra-narayn-mharach [สืบค้นเม่ือ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564]. Kittipot Kijsirisin. (ไมร่ ะบุ). พระราชประวัตขิ องสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://sites.google.com/site/kittipotkijsirisin/phra-rach-prawati-khxng-smdec-phraceataksin-mhara [สืบค้น เม่ือ 22 กุมภาพันธ์ 2564]. ประวัติของรัชกาลท่ี 1-9. (ไม่ระบุ). [ออนไลน์]. ได้จาก: https://sites.google.com/site/ilovethailand2016/prawati- khxng-rachkal-thi-1-9 [สบื คน้ เมอื่ 22 กุมภาพันธ์ 2564]. พระราชกรณยี กิจท่ีสำคัญ. (ไมร่ ะบุ). [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/thechakridynasty/home/phra-rach-krniykic-thi-sakhay [สืบคน้ เมอื่ 22 กุมภาพนั ธ์ 2564].
37 37 ๓. พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ทย). ได้จาก: https://sites.google.com/site/phanthicha477/bth-thi-2-bukhkhl- sakhay-smay-sukhothay/3-phra-mha-thrrm-racha-thi-1-li-thiy [สบื ค้นเม่อื 28 กุมภาพันธ์ 2564]. สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 1 (พระเจ้าอทู่ อง). ได้จาก: http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19522-029761 [สบื ค้นเม่อื 28 กุมภาพันธ์ 2564]. พ่อขนุ ศรอี ินทราทิตย์ | TruePlookpanya . ไดจ้ าก: http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19521 [สืบคน้ เม่ือ 28 กุมภาพนั ธ์ 2564]. ประวตั พิ ่อขนุ รามคาแหงมหาราช. ไดจ้ าก: http://www.prachin.ru.ac.th/%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0% B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E 0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A/%E0%B8%9 B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B9 %88%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99.htm [สบื ค้นเมอื่ 28 กุมภาพันธ์ 2564].
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: