Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore viranda

viranda

Published by viranda.cho, 2019-02-12 23:57:26

Description: viranda

Search

Read the Text Version

วนั มาฆบชู า

ตรงกบั วนั ขนึ ๑๕ คํา่ เดอื น ๓

วนั มาฆบูชา เปนวันสาํ คัญของชาวพทุ ธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย \"มาฆบชู า\" ย่อมาจาก \"มาฆปูรณมีบูชา\" หมายถงึ การบชู า ในวนั เพ็ญกลางเดือนมาฆะตามปฏิทินอินเดีย หรอื เดือน 3 ตามปฏทิ นิ จนั ทรคติของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพนั ธห์ รือมีนาคม) ถ้าปใดมเี ดอื นอธิกมาส คอื มเี ดือน 8 สองหน (ปอธกิ มาส) กเ็ ลอื นไปทาํ ในวันเพญ็ เดือน 3 หลัง (วนั เพ็ญเดอื น 3) วนั มาฆบูชาได้รับการยกย่องเปนวันสาํ คญั ทางศาสนาพุทธ เนืองจากเหตกุ ารณส์ ําคญั ทีเกดิ ขนึ เมือ 2,500 กว่าปก่อน คือ พระโคตมพทุ ธเจ้าทรง แสดงโอวาทปาตโิ มกขท์ ่ามกลางทีประชมุ มหาสงั ฆสันนิบาตครังใหญ่ในพระพุทธศาสนา คัมภรี ์ปปญจสทู นีระบวุ า่ ครงั นันมีเหตกุ ารณเ์ กดิ ขนึ พรอ้ มกนั 4 ประการ คอื พระภกิ ษุ 1,250 รูป ได้มาประชมุ พร้อมกนั ยงั วดั เวฬุวนั โดยมิได้นัดหมาย, พระภกิ ษุทังหมดนนั เปน \"เอหภิ กิ ขุอปุ สมั ปทา\" หรือผไู้ ด้รับการ อปุ สมบทจากพระพทุ ธเจ้าโดยตรง, พระภกิ ษทุ งั หมดนันล้วนเปนพระอรหนั ต์ผทู้ รงอภญิ ญา 6, และวนั ดงั กล่าวตรงกบั วนั เพ็ญเดอื น 3 ดงั นนั จึงเรยี กวันนี อีกอย่างหนึงว่า \"วนั จาตรุ งคสนั นิบาต\" หรอื วันทมี ีการประชมุ พรอ้ มด้วยองค์ 4 เดิมนนั ไม่มีพธิ ีมาฆบชู าในประเทศพุทธเถรวาท จนมาในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั (รชั กาลที 4) พระองค์ได้ทรงปรารภถงึ เหตุการณค์ รังพุทธกาลในวันเพ็ญเดือน 3 ดังกลา่ วว่า เปนวันทเี กิดเหตุการณส์ าํ คญั ยิง ควรประกอบพธิ ที างพระพุทธศาสนา เพอื เปนทีตงั แหง่ ความ ศรัทธาเลอื มใส จึงมพี ระมหากรุณาธคิ ุณโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดการพระราชกุศลมาฆบชู าขึน การประกอบพระราชพธิ คี งคลา้ ยกับวันวิสาขบชู า คอื มีการ บาํ เพญ็ พระราชกศุ ลตา่ ง ๆ และมีการพระราชทานจุดเทียนตามประทปี เปนพุทธบชู าในวัดพระศรรี ัตนศาสดารามและพระอารามหลวงต่าง ๆ เปนตน้ ใน ช่วงแรก พธิ ีมาฆบชู าคงเปนการพระราชพิธภี ายใน ยงั ไมแ่ พรห่ ลายทวั ไป ตอ่ มา ความนิยมจัดพิธมี าฆบูชาจึงไดข้ ยายออกไปทัวราชอาณาจักร ปจจุบัน วนั มาฆบชู าได้รบั การประกาศใหเ้ ปนวันหยดุ ราชการในประเทศไทย โดยพุทธศาสนิกชนทงั พระบรมวงศานวุ งศ์ พระสงฆแ์ ละประชาชน ประกอบพิธีตา่ ง ๆ เช่น การตักบาตร การฟงพระธรรมเทศนา การเวียนเทียน เปนต้น เพอื บูชาราํ ลึกถงึ พระรตั นตรัยและเหตกุ ารณส์ าํ คญั ดังกล่าวทีถอื ได้ วา่ เปนวนั ทพี ระพุทธเจ้าประทานโอวาทปาฏโิ มกข์ ซึงกล่าวถงึ หลักคาํ สอนอนั เปนหวั ใจของพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่ การไม่ทาํ ความชัวทงั ปวง การบําเพ็ญ ความดีใหถ้ งึ พร้อม และการทาํ จติ ของตนใหผ้ ่องใส เพอื เปนหลักปฏบิ ัตขิ องพทุ ธศาสนิกชนทังมวล

สถานทสี ําคญั เนืองดว้ ยวันมาฆบชู า

วดั เวฬวุ นั มหาวิหาร เปนอาราม (วดั ) แห่งแรกในพระพทุ ธศาสนา ตงั อยใู่ กลเ้ ชิงเขา เวภารบรรพต บนริมฝงแมน่ ํา้ สรัสวดซี งึ มตี โปธาราม (บอ่ นํา้ รอ้ นโบราณ) คันอยูร่ ะหวา่ งกลาง นอกเขตกําแพงเมืองเกา่ ราชคฤห์ (อดีตเมอื งหลวง ของแควน้ มคธ) รฐั พิหาร ประเทศอนิ เดยี ในปจจุบนั (หรอื แควน้ มคธ ชมพูทวปี ในสมยั พุทธกาล)

วดั เวฬวุ ันในสมัยพทุ ธกาล เดิมวัดเวฬวุ ันเปนพระราชอุทยานสาํ หรบั เสดจ็ พระพาสของพระเจ้า พิมพสิ าร เปนสวนปาไผ่ร่มรืนมรี วั รอบและกาํ แพงเข้าออก เวฬุวนั มีอกี ชอื หนึงปรากฏในพระสูตรว่า \"พระวิหารเวฬวุ ันกลนั ทกนิวาปสถาน\"หรือ \"เวฬุวนั กลนั ทกนิวาป\" (สวนปาไผ่สถานทสี ําหรับใหเ้ หยอื แก่กระแต) พระเจา้ พมิ พิสารได้ถวายพระราชอทุ ยานแห่งนีเปนวัดในพระพุทธศาสนา หลงั จากได้สดับพระธรรมเทศนาอนปุ พุ พกิ ถาและจตรุ ารยิ สจั จ์ ณ พระราช อทุ ยานลัฏฐวิ ัน (พระราชอุทยานสวนตาลหน่มุ ) โดยในครงั นนั พระองคไ์ ด้ บรรลพุ ระโสดาบนั เปนพระอรยิ บคุ คลในพระพทุ ธศาสนา และหลังจากการ ถวายกลันทกนิวาปสถานไมน่ าน อารามแหง่ นีกไ็ ดใ้ ชเ้ ปนสถานทสี ําหรบั พระ สงฆ์ประชมุ จาตรุ งคสันนิบาตครังใหญ่ในพระพทุ ธศาสนา อันเปน เหตุการณส์ าํ คัญในวนั มาฆบูชา

วดั เวฬุวนั หลังการปรนิ ิพพาน หลงั พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ปรินิพพาน วัดเวฬวุ นั ไดร้ ับการดูแลมาตลอด โดยเฉพาะมลู คันธกุฎที มี พี ระสงฆ์เฝาดูแลทําการปดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะ และปฏบิ ัตติ อ่ สถานที ๆ พระพุทธเจา้ เคยประทบั อยู่ทกุ ๆ แหง่ เหมือนสมัยทีพระพุทธองคท์ รงพระชนมชีพอยมู่ ไิ ด้ขาด โดยมีการปฏบิ ัตเิ ชน่ นีติดตอ่ กนั กวา่ พันปแตจ่ ากเหตุการณย์ ้ายเมืองหลวงแห่งแควน้ มคธหลายครงั ในช่วง พ.ศ. 70 ทเี รมิ จากอํามาตย์และราษฎรพร้อมใจกนั ถอดกษัตรยิ น์ าคทัสสกแ์ ห่ง ราชวงศ์ของพระเจ้าพมิ พสิ ารออกจากพระราชบลั ลังก์ และยกสสุ นู าคอาํ มาตยซ์ งึ มีเชอื สายเจ้าลจิ ฉวีในกรงุ เวสาลีแหง่ แควน้ วชั ชเี กา่ ใหเ้ ปนกษัตรยิ ์ตงั ราชวงศ์ใหมแ่ ลว้ พระเจา้ สุสนู าคจึงได้ทาํ การยา้ ยเมอื งหลวงของแควน้ มคธไปยังเมืองเวสาลอี ันเปนเมอื งเดมิ ของตน และกษัตริยพ์ ระองคต์ อ่ มาคือพระเจา้ กาลาโศกราช ผ้เู ปนพระราชโอรสของพระเจ้าสุสนู าค ไดย้ ้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอกี จากเมอื งเวสาลไี ปยงั เมอื งปาตลบี ตุ ร ทําให้เมืองราชคฤหถ์ ูกลด ความสําคญั ลงและถกู ทงิ รา้ ง ซึงเปนสาเหตุสําคัญทที ําใหว้ ัดเวฬวุ ันขาดผ้อู ปุ ถมั ภแ์ ละถกู ทงิ รา้ งอย่างสินเชงิ ในช่วงพนั ปถดั มาโดยปรากฏหลกั ฐานบันทึก ของหลวงจนี ฟาเหียน (Fa-hsien) ทีไดเ้ ข้ามาสบื ศาสนาในพทุ ธภูมใิ นชว่ งป พ.ศ. 942 - 947 ในช่วงรัชสมยั ของพระเจ้าจนั ทรคปุ ต์ที ๒ (พระเจา้ วกิ รมา ทิตย์) แหง่ ราชวงศค์ ุปตะ ซึงท่านได้บนั ทึกไว้ว่า เมอื งราชคฤหอ์ ยู่ในสภาพปรักหกั พงั แตย่ งั ทนั ไดเ้ หน็ มลู คนั ธกุฎีวดั เวฬุวันปรากฏอยู่ และยงั คงมีพระ ภิกษุหลายรูปชว่ ยกันดแู ลรกั ษาปดกวาดอยเู่ ปนประจาํ แต่ไม่ปรากฏวา่ มีการบนั ทกึ ถงึ สถานทีเกดิ เหตกุ ารณจ์ าตรุ งคสันนิบาตแตป่ ระการใดแตห่ ลังจาก นนั ประมาณ 200 ป วดั เวฬุวนั กถ็ กู ทิงร้างไป ตามบันทึกของพระถังซําจงั (Chinese traveler Hiuen-Tsang) ซงึ ไดจ้ ารกิ มาเมอื งราชคฤหร์ าวป พ.ศ. 1300 ซงึ ทา่ นบนั ทกึ ไวแ้ ต่เพยี งวา่ ทา่ นได้เหน็ แตเ่ พยี งซากมลู คันธกุฎซี ึงมกี ําแพงและอฐิ ลอ้ มรอบอยเู่ ท่านนั (ในสมัยนนั เมอื งราชคฤหโ์ รยราถงึ ทสี ุดแล้ว พระถังซาํ จงั ไดแ้ ต่เพียงจดตําแหน่งทตี งั ทศิ ทางระยะทางของสถปู และโบราณสถานเกา่ แกอ่ นื ๆ ในเมืองราชคฤหไ์ ว้มาก ทําใหเ้ ปนประโยชนแ์ ก่นัก ประวัติศาสตรแ์ ละนักโบราณคดใี นการคน้ หาโบราณสถานต่าง ๆ ในเมอื งราชคฤหใ์ นปจจบุ ัน)

จดุ ทีเกดิ เหตุการณส์ ําคัญในวนั มาฆบูชา (ลานจาตุรงคสันนิบาต)

ถงึ แม้วา่ เหตกุ ารณจ์ าตุรงคสันนิบาตจะเปนเหตุการณส์ าํ คญั ยิงทเี กิดในบรเิ วณวดั เวฬุวันมหาวหิ าร แต่ทวา่ ไม่ปรากฏราย ละเอยี ดในบันทึกของสมณทตู ชาวจีนและในพระไตรปฎกแตอ่ ย่างใดว่าเหตกุ ารณใ์ หญ่นีเกดิ ขึน ณ จดุ ใดของวดั เวฬวุ ัน รวม ทังจากการขดุ ค้นทางโบราณคดีกไ็ มป่ รากฏหลักฐานว่ามกี ารทําเครืองหมาย (เสาหิน) หรอื สถปู ระบสุ ถานทีประชมุ จาตรุ งคสันนิบาตไว้แตอ่ ย่างใด (ตามปกตแิ ล้วบรเิ วณทีเกดิ เหตกุ ารณส์ าํ คญั ทางพระพุทธศาสนา มกั จะพบสถูปโบราณหรือ เสาหินพระเจา้ อโศกมหาราชสรา้ งหรอื ปกไว้เพือเปนเครอื งหมายสาํ คัญสําหรับผู้แสวงบญุ ) ทําให้ในปจจบุ นั ไมส่ ามารถทราบ โดยแน่ชัดวา่ เหตุการณจ์ าตุรงคสันนิบาตเกิดขนึ ในจุดใดของวัด ในปจจุบนั กองโบราณคดอี นิ เดียได้แตเ่ พยี งสันนิษฐานวา่ \"เหตกุ ารณด์ งั กล่าวเกิดในบริเวณลานด้านทศิ ตะวันตกของ สระกลนั ทกนิวาป\" (โดยสนั นิษฐานเอาจากเอกสารหลักฐานวา่ เหตุการณด์ ังกลา่ วมพี ระสงฆป์ ระชมุ กันมากถึงสองพนั กวา่ รปู และเกิดในชว่ งทีพระพุทธองค์พึงไดท้ รงรบั ถวายอารามแห่งนี การประชุมครังนนั คงยงั ต้องนังประชมุ กันตามลานในปาไผ่ เนืองจากเสนาสนะหรือโรงธรรมสภาขนาดใหญ่ยังคงไม่ได้สร้างขนึ และโดยเฉพาะอย่างยิงในปจจุบันลานดา้ นทศิ ตะวนั ตก ของสระกลนั ทกนิวาป เปนลานกว้างลานเดยี วในบริเวณวดั ทีไม่มโี บราณสถานอนื ตงั อย)ู่ โดยไดน้ ําพระพทุ ธรูปยืนปางประทาน พรไปประดิษฐานไว้บริเวณซุ้มเล็ก ๆ กลางลาน และเรยี กว่า \"ลานจาตรุ งคสนั นิบาต\" ซงึ ในปจจุบนั ก็ยงั ไม่มีข้อสรปุ แน่ชัดว่า ลานจาตุรงคสนั นิบาตทีแท้จริงอยูใ่ นจดุ ใด และยังคงมชี าวพุทธบางกลมุ่ สรา้ งซุ้มพระพุทธรปู ไว้ในบรเิ วณอนื ของวัดโดยเชอื ว่า จุดทีตนสร้างนันเปนลานจาตุรงคสันนิบาตทีแท้จริง แตพ่ ทุ ธศาสนิกชนชาวไทยส่วนใหญก่ เ็ ชอื ตามข้อสันนิษฐานของกอง โบราณคดอี ินเดยี ดังกลา่ ว โดยนิยมนบั ถือกันว่าซมุ้ พระพุทธรูปกลางลานนีเปนจุดสกั การะของชาวไทยผมู้ าแสวงบญุ จดุ สาํ คญั 1 ใน 2 แหง่ ของเมืองราชคฤห์ (อกี จุดหนึงคือพระมูลคนั ธกฎุ บี นยอดเขาคิชฌกฏู )

จดุ แสวงบุญและสภาพของวัดเวฬุวนั ในปจจบุ นั ปจจุบนั หลังถูกทอดทิงเปนเวลากว่าพันป และได้รบั การบรู ณะโดยกองโบราณคดอี ินเดยี ในช่วง ทอี ินเดยี ยังเปนอาณานิคมขององั กฤษ วัดเวฬวุ ัน ยงั คงมเี นินดินโบราณสถานทยี ังไม่ไดข้ ุดคน้ อีก มาก สถานทสี ําคัญ ๆ ทีพทุ ธศาสนิกชนในปจจุบนั นิยมไปนมสั การคือ \"พระมูลคนั ธกุฎ\"ี ทปี จจุบันยัง ไม่ได้ทําการขดุ คน้ เนืองจากมีกโุ บรข์ องชาวมุสลิมสร้างทบั ไวข้ า้ งบนเนินดนิ , \"สระกลันทกนิวาป\" ซงึ ปจจบุ ันรัฐบาลอนิ เดียไดท้ ําการบูรณะใหม่อย่างสวยงาม, และ \"ลานจาตุรงคสันนิบาต\" อันเปนลาน เล็ก ๆ มีซุม้ ประดษิ ฐานพระพุทธรปู ยืนปางประทานพรอยู่กลางซมุ้ ลานนีเปนจดุ สําคัญทีชาวพุทธ นิยมมาทําการเวียนเทียนสักการะ (ลานนีเปนลานทีกองโบราณคดอี ินเดยี สันนิษฐานว่าพระพุทธองค์ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในจดุ นี)

วันจาตุรงคสนั นิบาต คําวา่ \"จาตุรงคสนั นิบาต\" แยกศพั ทไ์ ดด้ งั นี คือ \"จาตุร\" แปลว่า ๔ \"องค\"์ แปลวา่ สว่ น \"สนั นิบาต\" แปลวา่ ประชมุ ฉะนนั จาตุรงคสันนิบาตจงึ หมายความวา่ \"การประชมุ ด้วยองค์ ๔\" กล่าวคอื มเี หตกุ ารณพ์ เิ ศษทเี กดิ ขนึ พร้อมกนั ในวันนี คือ 1. เปนวนั ที พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จาํ นวน ๑,๒๕๐ รปู มาประชมุ พร้อมกนั ทีเวฬวุ นั วิหารในกรุงราชคฤห์ โดยมไิ ด้ นดั หมาย 2. พระภิกษุสงฆ์เหลา่ นีลว้ นเปน \"เอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา\" คือเปนผ้ทู ีได้รับการอปุ สมบทโดยตรงจากพระพทุ ธเจา้ ทังสิน 3. พระภกิ ษุสงฆท์ กุ องค์ทไี ดม้ าประชมุ ในครงั นี ล้วนแต่เปนผไุ้ ด้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์ 4. เปนวนั ทีพระจนั ทรเ์ ต็มดวงกาํ ลงั เสวยมาฆฤกษ

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระผู้ดาํ รใิ หม้ พี ธิ มี าฆบชู าขนึ เปนครังแรกของไทย

การประกอบพธิ ีทางศาสนาในวนั มาฆบูชา พระราชพธิ ีบาํ เพ็ญพระราชกศุ ลในวนั มาฆบูชานี โดยปกติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ภมู พิ ลอดยุ เดช เปนองคป์ ระธานในการพระราชพธิ ี บําเพญ็ พระราชกศุ ล และบางครังทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระบรมวงศานวุ งศ์เสด็จแทน โดยสถานทปี ระกอบพระราชพิธีจะจัดในวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม สํานกั พระราชวังจะออกหมายกาํ หนดการประกาศการพระราชพิธนี ีใหท้ ราบทัวไปเปนประจําทกุ ป ในอดีตจะใช้ชอื เรียกการพระราชพิธี ในราชกิจจานเุ บกษาแตกตา่ งกัน บางครังจะใช้ชือ \"การพระราชกศุ ลมาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต\" หรือ \"การพระราชกศุ ลมาฆบูชา\" หรือแม้ \"มาฆบูชา\" ส่วนในรชั กาลปจจบุ นั สาํ นกั พระราชวังจะใช้ชือเรยี กหมายกําหนดการทชี ดั เจน เชน่ \"หมายกําหนดการ พระราชกุศลมาฆบชู า พทุ ธศักราช ๒๕๒๒\" รายละเอยี ดการประกอบพระราชพิธีนีในพระราชนิพนธ์พระราชพธิ ีสบิ สองเดอื น ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว ไดม้ พี ระบรม ราชาธบิ ายเกยี วกับการพระราชพธิ ใี นเดอื นสาม คอื พระราชพิธบี ําเพ็ญกุศลในวนั มาฆบูชาไว้ มใี จความวา่ “เวลาเชา้ พระสงฆ์วดั บวรนิเวศและวัดราชประดิษฐ ๓๐ รูป ฉนั ในพระอโุ บสถวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม เวลาคํ่าเสดจ็ ออกทรงจุดธปู เทยี น เครืองนมัสการแล้ว พระสงฆส์ วดทําวัตรเยน็ เหมือนอยา่ งทีวดั แลว้ จงึ ไดส้ วดมนตต์ อ่ ไป มสี วดคาถาโอวาทปาฏิโมกข์ด้วย สวดมนตจ์ บทรงจดุ เทยี น รายตามราวรอบพระอโุ บสถ ๑,๒๕๐ เลม่ มปี ระโคมด้วยอกี ครังหนึง แล้วจึงมีเทศนาโอวาทปาฏิโมกขก์ ณั ฑ์ ๑ เปนเทศนาทงั ภาษามคธและภาษาสยาม เครืองกณั ฑ์จีวรเนือดผี นื หนึง เงิน ๓ ตาํ ลงึ และขนมตา่ ง ๆ เทศนจ์ บพระสงฆ์สวดมนต์รับสพั พี ๓๐ รูป”ในรัชกาลตอ่ มาไดม้ กี ารลดทอดพิธบี างอย่าง ออกไปบา้ ง เช่น ยกเลิกการถวายภตั ตาหารพระสงฆ์ในเวลาเชา้ หรือการจดุ เทยี นราย 1,250 เล่ม เปนต้น แตก่ ็ยงั คงมกี ารบาํ เพ็ญพระราชกุศลในวัด พระศรีรตั นศาสดารามเหมอื นเคย โดยในบางป พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชจะทรงประกอบพธิ บี าํ เพ็ญพระราชกศุ ลมาฆบชู าและ ทรงเวียนเทยี นรอบพุทธศาสนสถานเปนการสว่ นพระองคต์ ามพระอารามหลวงหรือวดั ราษฎรอ์ นื ๆ บา้ ง ตามพระราชอธั ยาศยั ซึงการพระราชพธิ นี ี เปนการแสดงออกถึงพระราชศรทั ธาอันแน่นแฟนในพระพุทธศาสนา ขององค์พระมหากษตั ริยไ์ ทยผทู้ รงเปนเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภม์ าตงั แตอ่ ดตี จนถึงปจจบุ นั

พิธีสามัญ การประกอบพิธที างพระพทุ ธศาสนาเนืองในวันมาฆบชู าของพทุ ธศาสนิกชนชาวไทย โดยทวั ไปนิยมทําบญุ ตกั บาตร ฟง พระธรรมเทศนา เวยี นเทยี นรอบอุโบสถหรอื สถูปเจดียพ์ ทุ ธสถานต่าง ๆ ภายในวดั เพอื เปนการระลึกถึงวันคล้ายวันทีเกดิ เหตกุ ารณส์ ําคัญของพระพุทธศาสนาในวัน ขึน 15 คํา่ เดือน 3 พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยนิยมนบั ถือเอาวนั นีเปนวนั สําคัญในการละเว้นความชวั บาํ เพญ็ ความดี ทาํ ใจให้ผอ่ งใส ตาม แนวทางพระบรมพุทโธวาท โดยมีแนวปฏิบัติในการประกอบพิธใี นวนั มาฆบูชาคล้ายกบั การประกอบพิธีในวันวิสาขบชู า คอื มี การตงั ใจบาํ เพ็ญกุศลทําบุญตักบาตรฟงพระธรรมเทศนาและเจริญจิตตภาวนาในวันนี เมือตกกลางคนื กม็ ีการเวียนเทยี นถวาย เปนพุทธบชู าตามอารามต่าง ๆ และอาจมกี ารบําเพ็ญปกิณณกะกุศลต่าง ๆ ตลอดคืนตามแตจ่ ะเหน็ สมควร การประกอบพิธีวนั มาฆบูชาในปจจุบันนีนอกจากการเวียนเทยี น ทาํ บญุ ตักบาตร ในวันสาํ คัญแล้ว ยังมหี น่วยงานภาครัฐ องคก์ รทางศาสนา และภาคประชาชน ร่วมกนั จดั กจิ กรรมต่าง ๆ ขึนมากมาย เพอื เปนการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาและ ประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนาตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่ประชาชน เช่น กจิ กรรมสัปดาห์เผยแผพ่ ระพุทธศาสนาวนั มาฆบชู า ณ ทอ้ งสนามหลวง หรอื ตามวดั ในจงั หวัดตา่ ง ๆ เปนต้น

ปฏิทินวันมาฆบูชา วันมาฆบูชา พ.ศ.2552 ตรงกับ วนั จนั ทร์ที 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 / วันจันทร์ ขึน ๑๕ คํ่า เดือนสาม(๓) ปชวด วนั มาฆบชู า พ.ศ.2553 ตรงกบั วันอาทติ ย์ที 28 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2553 / วนั อาทติ ย์ ขึน ๑๕ คํ่า เดอื นสี(๔) ปฉลู วันมาฆบชู า พ.ศ.2554 ตรงกบั วันศุกรท์ ี 18 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2554 / วนั ศกุ ร์ ขนึ ๑๕ คํา่ เดือนสาม(๓) ปขาล วันมาฆบชู า พ.ศ.2555 ตรงกับ วนั พธุ ที 7 มนี าคม พ.ศ.2555 / วนั พุธ ขนึ ๑๕ คํา่ เดอื นสี(๔) ปเถาะ วันมาฆบูชา พ.ศ.2556 ตรงกับ วันจนั ทรท์ ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2556 / วันจันทร์ ขนึ ๑๕ คํ่า เดอื นสาม(๓) ปมะโรง วันมาฆบชู า พ.ศ.2557 ตรงกับ วนั ศกุ ร์ที 14 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2557 / วนั ศุกร์ ขึน ๑๕ คํา่ เดอื นสาม(๓) ปมะเสง็ วนั มาฆบชู า พ.ศ.2558 ตรงกับ วันพธุ ที 4 มีนาคม พ.ศ.2558 / วันพธุ ขึน ๑๕ คํ่า เดอื นสี(๔) ปมะเมยี วันมาฆบูชา พ.ศ.2559 ตรงกบั วันจันทรท์ ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2559 / วันจนั ทร์ ขึน ๑๕ คํา่ เดือนสาม(๓) ปมะแม วันมาฆบูชา พ.ศ.2560 ตรงกบั วันเสาร์ที 11 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2560 / วนั เสาร์ ขนึ ๑๕ คํ่า เดือนสาม(๓) ปวอก วนั มาฆบชู า พ.ศ.2561 ตรงกบั วันพฤหัสบดีที 1 มนี าคม พ.ศ.2561 / วนั พฤหสั บดี ขนึ ๑๕ คํ่า เดือนสี(๔) ประกา วันมาฆบชู า พ.ศ.2562 ตรงกบั วนั อังคารที 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2562 / วันอังคาร ขนึ ๑๕ คํ่า เดอื นสาม(๓) ปจอ

หลกั ธรรมทคี วรนําไปปฏบิ ัติ หลกั ธรรมทีควรนําไปปฏบิ ตั ิได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ หมายถงึ หลกั คําสอนคําสําคญั ของพระพทุ ธ ศาสนาอันเปนไปเพือปองกนั และแก้ปญหาตา่ ง ๆ ในชวี ิตเปนไปเพอื ความหลดุ พน้ หรอื คาํ สอน อนั เปนหัวใจพระพทุ ธศาสนา หลักธรรมประกอบด้วย หลักการ ๓ อดุ มการณ์ ๔ วิธกี าร ๖ ดังนี

หลักการ ๓ ๑. การไมท่ าํ บาปทงั ปวง ได้แกก่ ารงดเว้น การลด ละเลกิ ทําบาปทังปวง ซึงได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแหง่ ความชวั มีสิบ ประการ อนั เปน ความชัวทางกาย ทางวาจา และทางใจ ความชัวทางกาย ได้แก่ การฆ่าสตั ว์ การลกั ทรพั ย์ การประพฤติ ผิดในกาม ความชัวทางวาจา ได้แก่ การพูดเทจ็ การพดู สอ่ เสยี ด การพดู เพอ้ เจอ้ ความชัวทางใจ ไดแ้ ก่ การอยากได้สมบตั ิของผอู้ นื การผูกพยาบาท และความเหน็ ผดิ จากทาํ นองคลองธรรม ๒. การทาํ กศุ ลให้ถึงพรอ้ ม ไดแ้ ก่ การทําความดที ุกอยา่ งซึงได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑๐ เปนแบบของการทาํ ฝายดมี ี ๑๐ อยา่ ง อนั เปนความดที างกาย ทางวาจาและทางใจ ๓. การทาํ จิตให้ผอ่ งใส ไดแ้ ก่ การทําจติ ของตนใหผ้ อ่ งใส ปราศจากนวรณซ์ งึ เปนเครืองขดั ขวางจติ ไมใ่ ห้เข้าถึงความสงบ

อุดมการณ์ ๔ ๑. ความอดทน ได้แก่ ความอดกลนั ไม่ทําบาปทังทางกาย วาจา ใจ ๒. ความไมเ่ บียดเบียน ได้แก่ การงดเวน้ จากการทาํ รา้ ย รบกวน หรอื เบยี ดเบยี นผอู้ ืน ๓. ความสงบ ได้แก่ ปฏบิ ตั ติ นใหส้ งบทงั ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ๔. นิพพาน ไดแ้ ก่ การดบั ทกุ ข์ ซงึ เปนเปาหมายสูงสุดในพระพทุ ธศาสนาเกิดขึนไดจ้ าการดําเนินชวี ิต ตามมรรคมีองค์ ๘

วธิ กี าร ๖ ๑. ไมว่ ่าร้าย ไดแ้ ก่ ไม่กลา่ วให้ร้ายหรือ กลา่ วโจมตใี คร ๒. ไมท่ าํ รา้ ย ได้แก่ ไม่เบยี ดเบียนผ้อู นื ๓. สํารวมในปาตโิ มกข์ ไดแ้ ก่ ความเคารพระเบยี บวนิ ัย กฎกติกา กฎหมาย รวมทังขนบธรรมเนียม ประเพณีอนั ดขี องสงั คม ๔. รู้จักประมาณ ได้แก่ รู้จกั ความพอดีในการบริโภคอาหารหรอื การใชส้ อยสิงต่าง ๆ ๕. อย่ใู นสถานทีทสี งดั ไดแ้ ก่ อย่ใู นสถานทสี งบมสี งิ แวดล้อมทีเหมาะสม ๖. ฝกหัดจติ ใจใหส้ งบ ไดแ้ ก่ฝกหัดชาํ ระจติ ให้สงบมสี ขุ ภาพคุณภาพและประสทิ ธิ ภาพทีดี

จัดทาํ โดย น.ส.วิรนั ดา ชดชอ้ ย ปวส.1/13 เลขที 18 รัหสนักเรียน 11357


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook