Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตีความของฉัน

ตีความของฉัน

Published by arcanaraga, 2021-08-28 04:03:45

Description: ตีความของฉัน

Keywords: buddhism,interpretation,thai

Search

Read the Text Version

การเจริญเมตตาจติ เพอื่ การปฏิบัตธิ รรม พระกมลรตั น์ อภิปญโฺ ญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นกั ศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนศ์ กึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย Email : [email protected] บทเกรนิ่ นำ การเจริญเมตตาจติ เพ่ือการปฏิบัติธรรม เปน็ การตีความกรณยี เมตตสูตรในขุททกปาฐะ ตามแนวเนตติปกรณ์ 6 โดย กรณียเมตตสตู รนี้เปน็ พระสตู รที่อยใู นพระไตรปฎิ ก เล่มท่ี 25 พระสุตตนั ตปิฎก เล่มที่ 17 ขทุ ทกนกิ าย ขทุ ทกปาฐะ-ธรรมบท- อุทาน-อติ ิวตุ ตกะ-สุตตนิบาต ข้อท่ี 10 หนา้ ที่ 11 และ12 เปน็ พระสตู รพระผูม้ พี ระภาคเจา้ พระองค์เดยี วตรสั พระสาวกเปน็ ตน้ มิได้กล่าว มีประวัติโดยย่อว่า เมื่อในสมัยนั้น ภิกษุทัง้ หลายถูกเทวดาทั้งหลายรบกวนข้างภเู ขาหิมวันต์ จึงพากันมาเฝา้ พระผู้มี พระภาคเจา้ เมื่อนน้ั พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเมตตสตู รน้ัน เพ่ือปอ้ งกันและเพอ่ื เป็นกรรมฐานสำหรับภกิ ษเุ หล่านั้น โดยใจความสำคัญของเนื้อหากรณียเมตตสตู รในขทุ ทกปาฐะ มีกลา่ วไวว้ ่า “กุลบตุ รผฉู้ ลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะ ตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่ พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ เป็นผู้ตรง ซื่อตรง ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่เย่อหย่ิง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบา มีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกลุ ทั้งหลาย ไม่พงึ ประพฤตทิ ุจริตเล็กน้อยอะไรๆ ซง่ึ เปน็ เหตใุ ห้ทา่ นผ้รู ูเ้ หลา่ อืน่ ติเตียนได้ พงึ แผ่ไมตรจี ติ ในสตั วท์ ัง้ หลายว่า ขอสัตว์ ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตน ถึงความสุขเถิด สัตว์มีชีวิตเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ เป็นผู้ สะดุ้งหรือเป็นผู้มั่นคง ผอม หรอื พี และสัตว์เหลา่ ใดมีกาย ยาวหรือใหญ่ ปานกลางหรอื สั้น ทเี่ ราเหน็ แล้วหรอื มิไดเ้ หน็ อยู่ในทีไ่ กลหรอื ทีใ่ กล้ ที่เกิดแล้วหรือ แสวงหาท่ีเกิด ขอสัตวท์ ้ังหมดนั้นจงเป็นผูม้ ีตนถึงความสุขเถิด สตั วอ์ นื่ ไม่พงึ ข่มขู่สตั ว์อน่ื ไม่พงึ ดูหมน่ิ อะไรเขาในท่ีไหนๆ ไม่พึง ปรารถนาทุกข์แก่กันและกันเพราะความกริ้วโกรธ เพราะความเคียดแค้น มารดาถนอมบุตรคนเดียวผู้เกิดในตน แม้ด้วยการ ยอมสละชีวติ ได้ ฉันใด กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ พึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณในสัตว์ทั้งปวง แม้ฉันนั้น ก็กุลบุตรน้นั พึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณไปในโลก ทั้งสิ้น ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องขวาง ไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู กุลบุตรผู้ เจริญเมตตานั้นยืนอยู่ก็ดี เดินอยู่ก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี พึงเป็นผู้ปราศจากความง่วง เหงาเพียงใด ก็พึงตั้งสตินี้ไว้เพียงนน้ั บัณฑิตทั้งหลายกล่าว วหิ ารธรรมน้ีวา่ เป็นพรหมวิหาร ในธรรมวินยั ของพระอริยเจา้ น้ี กลุ บตุ รผ้เู จริญเมตตา ไมเ่ ข้าไปอาศัยทิฐิ เป็นผมู้ ศี ีล ถึงพร้อมด้วยทัศนะ กำจดั ความยนิ ดีในกามท้ังหลายออกได้แล้ว ยอ่ มไมถ่ ึงความนอนในครรภ์อกี โดยแท้แล ฯ” คุณค่าแห่งกรณียเมตตสูตรนั้นเกิดขึ้นได้เพราะเมื่อบุคคลทำเมตตาในสัตว์ทั้งหลาย บุญสัมปทานั้น ย่อมมีผลมาก จนถึงสามารถใหบ้ รรลพุ ทุ ธภมู ไิ ด้ ฉะนั้น กรณียเมตตสตู รท่หี ยิบยกในทนี่ ้ีในท่นี ้ี เพ่ือแสดงว่าเมตตาเปน็ อุปการะแก่บุญสัมปทา นั้น หรือเพราะเหตุที่ครั้นแสดงกรรมฐานอันสามารถละโทสะด้วยทวัตติงสาการ สำหรับชนทั้งหลายผู้นับถือพระศาสนาด้วย สรณะ แล้วตั้งอยู่ในศีลด้วยสิกขาบททั้งหลาย ที่กล่าวมานี้สามารถสรุปคุณค่าของประโยชน์แห่งกรณียเมตตสูตรนี้เป็น 2 ได้แก่ 1) กรณียะ กิจพึงกระทำ และ 2) เมตตา คือ ห่วงใย เพราะมีอัธยาศัยมุ่งประโยชน์เกื้อกูล และรักษาให้พ้นจากการ มาถงึ ของสง่ิ ไมเ่ ปน็ ประโยชน์

โทษของการไม่ปฏิบัตติ ามแนวทางแหง่ กรณียเมตตสตู ร คือ การปฏิบัตติ นไมอ่ ยู่ในกจิ อนั ตนพึงกระทำ และไม่เจรญิ ในเมตตาธรรม โดยการปฏิบัตติ นไม่อยู่ในกิจอันตนพึงกระทำ เรียกว่า อกรณียะ คือ ศีลวิบัติ ทิฏฐิวิบตั ิ อาจารวิบัติ และอาชีว วิบัติ ต่อมาคอื ผู้ที่ไม่รูจ้ กั การเจรญิ เมตตาจิต เพราะเหตุท่ีจิตถูกสะสมอยูใ่ นอารมณ์มากๆ ย่อมไม่หยุดอยู่ในอารมณ์เดียว โดย เบือ้ งต้นเทา่ น้ัน แตจ่ ะแล่นติดตามประเภทอารมณโ์ ดยลำดบั ทำใหเ้ ปน็ ผมู้ ักโกรธง่าย ฉนุ ฉียว เป็นตน้ ทำใหไ้ มเ่ ป็นทร่ี ักแก่เหลา่ สัตว์โลก เทวดาทั้งหลาย ไม่สนับสนุนการปฏิบัติ และยังให้โทษโดยการขัดขวางการปฏิบัติอีกด้วย ในอีกมุมหนึ่งหากเจริญ เมตตาไม่ถกู วิธี กล่าวคือ เจริญเมตตาแก่บุคคลไกล้ตัวมากเกินไปจะทำให้เป็นการคุกลคลีด้วยหมู่คณะ ทำให้ไม่สงบ และเป็น อปุ สรรคต่อการปฏิบตั อิ ีกดว้ ย การกระทำตนใหเ้ ข้าสูแ่ นวทางแห่งกรณียเมตตสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแนวทางการละจากกิจท่ไี ม่ควร ทำไว้ด้วยการเทศนาเป็นบุคลาธิษฐานอย่างหนึ่งว่า อันผู้ฉลาดในประโยชน์พึงทำดังน้ี พระพุทธะและอนุพุทธะทั้งหลายต่าง สรรเสริญกจิ ที่ผูป้ ระสงค์จะบรรลสุ นั ตบท โดยการแทงตลอดแล้วอยู่พึงทำ กิจนนั้ ใด อันผปู้ ระสงคจ์ ะรู้บทคอื พระนพิ พานว่า สนั ตะ สงบ ด้วยโลกยิ ปญั ญา โดยได้ฟังกันมาเป็นต้น จะบรรลุบทคือนิพพานน้ันคอื กิจพึงทำ อีกทั้งหมัน่ ละอารมร์แหง่ ความโกรธ ด้วยการเจริณจติ เมตตาให้เกิดบ่อยๆ ให้ขยายไปและยังเมตตาภาวนานั้นให้เจริญไม่มปี ระมาณ โดยถือสัตว์ไม่มีประมาณเป็น อารมณ์ หรือโดยแผ่ไปไมเ่ หลอื เลย แมแ้ ต่ในสตั วผ์ ้หู นง่ึ ผลและอานิสงส์ของปฏิบัติตามแนวทางแห่งกรณียเมตตสูตร ผลและอานิสงส์ของการบำเพ็ญกรณียกิจ และการ เจริญเมตตา ทำให้เป็นผู้ประพฤติดี ปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักธรรมเพื่อประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน เป็นผู้มีความเห็นโลก ตามธรรม เป็นผู้มีกิริยาอาการอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นทีรักยิ่งแก่มวลสรรพสัตว์รวมถึงเทวดาทั้งหลาย เป็นผู้มีจิตอันมีเมตตา ประกอบด้วยกุศลอนั ไมม่ ีประมาณ ดงั ท่ีปรากฏในพระสตู รน้ีว่า “เม่อื ภิกษุเหลา่ นัน้ รบั พระพุทธดำรัสแลว้ ลกุ จากอาสนะ กราบ ถวายบังคมแลว้ ทำประทกั ษิณ ไปในราวปา่ น้ันแล้วทำตามที่ทรงสอนทกุ ประการ. เทวดาท้งั หลายเกิดปีติโสมนัสวา่ พระคณุ เจา้ ทง้ั หลาย ช่างหวงั ดีหวงั ประโยชนแ์ กพ่ วกเรา. กพ็ ากนั เกบ็ กวาดเสนาสนะเอง จัดแจงนำ้ ร้อน นวดหลัง นวดเท้า จัดวางอารักขา ไว้ ภกิ ษุแมเ้ หลา่ น้ันกพ็ ากนั เจรญิ เมตตา ทำเมตตาน้ันใหเ้ ปน็ บาท เรมิ่ วปิ สั สนากบ็ รรลุพระอรหัต อันเปน็ ผลเลศิ ภายในไตรมาส น้ันนน่ั เองหมดทุกรปู ปวารณาด้วยวสิ ุทธิปวารณา ในวันมหาปวารณา ออกพรรษาแล” แนวทางปฏิบัติตามแนวทางแห่งกรณียเมตตสูตร แบ่งเป็น 2 อย่าง คือ 1.แนวทางการดำเนินตามกรณียกิจ คือ การปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามนัยแหง่ พระสูตรน้ี พึงบำเพ็ญไตรสิกขา พึงเป็นผู้อาจหาญ เป็นผู้ตรง ซื่อตรง ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่ เยอ่ หยง่ิ สันโดษ เล้ยี งง่าย มีกิจนอ้ ย มคี วามประพฤติเบา มีอนิ ทรียอ์ นั สงบระงับ มปี ัญญาเคร่อื งรักษาตน ไมค่ ะนอง ไม่พัวพัน ในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไรๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้(ปรมัตถโชติกาอรรถกถาขุททก นิกาย ขุททกปาฐะ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ เล่ม 1 ภาค 1) 2. แนวทางการเจริญเมตตา โดยพึงแผ่ไมตรี จิตในสัตว์ทัง้ หลายว่า ขอสัตว์ทัง้ ปวงจงเป็นผูม้ ีสุข มีความเกษม มีตน ถึงความสุขเถิด สัตว์มีชวี ิตเหลา่ ใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ เป็นผู้ สะดุ้งหรือเปน็ ผู้มั่นคง ผอมหรือพี และสัตว์เหล่าใดมีกาย ยาวหรือใหญ่ ปานกลางหรือสั้น ที่เราเห็นแล้วหรอื มิได้เห็น อยู่ในท่ี ไกลหรือที่ใกล้ ที่เกิดแล้วหรือแสวงหาทีเ่ กิด ขอสัตวท์ ั้งหมดน้ันจงเปน็ ผู้มีตนถึงความสขุ เถิด สัตว์อื่นไมพ่ ึงข่มขู่สัตว์อื่น ไม่พึงดู หม่ินอะไรเขาในทีไ่ หนๆ ไม่พงึ ปรารถนาทกุ ข์แก่กันและกันเพราะความกร้วิ โกรธ เพราะความเคยี ดแค้น มารดาถนอมบุตรคน เดียวผู้เกดิ ในตน แม้ด้วยการยอมสละชวี ิตได้ ฉันใด กุลบุตรผูฉ้ ลาดในประโยชน์ พึงเจรญิ เมตตามีในใจไม่มีประมาณในสตั ว์ทง้ั ปวง แม้ฉันน้นั กก็ ลุ บุตรนน้ั พงึ เจรญิ เมตตามีในใจไม่มีประมาณไปในโลก ทัง้ สนิ้ ทง้ั เบ้อื งบน เบอื้ งต่ำ เบอื้ งขวาง ไม่คบั แคบ ไม่ มีเวร ไม่มีศัตรู กลุ บุตรผ้เู จริญเมตตานนั้ ยืนอยกู่ ็ดี เดินอยู่ก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอนอยู่กด็ ี พึงเป็นผปู้ ราศจากความง่วง เหงาเพียงใด ก็ พึงต้งั สตนิ ไ้ี วเ้ พยี งนั้น

แรงบนั ดาลใจแห่งกรณยี เมตตสตู ร การอยดู่ ้วยเมตตาฌานน้ี ปราชญท์ ัง้ หลายกล่าวการอยู่นน้ั วา่ พรหมวิหารในพระ ธรรมวินัยนี้ ผู้เจริญเมตตาออกจากการอยู่ด้วยเมตตาฌานนั้นแล้ว กำหนด [นาม] ธรรม มิวิตกวิจารเป็นต้นในที่นั้น และ รูปธรรมตามแนวการกำหนด [นาม] ธรรมเหล่านั้นเป็นต้น แล้วกำหนดอรูปธรรม และด้วยการกำหนดนามรูปนี้ก็ไม่ยึดทิฏฐิ อย่างนี้ว่า นี้กองสังขารอันบริสุทธิ์ บุคคลย่อมถือไม่ได้ว่าสัตว์ในสังขารนี้ดังนี้ เป็นผู้มีศีลโดยโลกุตรศีลตามลำดับ ถึงพร้อม ด้วยทัสสนะ ที่เข้าใจกันว่าสัมมาทิฏฐิในโสดาปัตติมรรค ซึ่งประกอบด้วยโลกุตรศีล ต่อจากนั้น ก็นำออก ขจัดระงับความ หมกมุ่นในกามทั้งหลาย คือกิเลสกามที่ยังละไม่ได้ ด้วยการทำให้เบาบางด้วยสกทาคามิมรรคและอนาคามิมรรค และดว้ ยการ ละไมใ่ ห้เหลอื เลย ก็ยอ่ มไมเ่ ข้าถึงการนอนในครรภ์มารดาอีก คือไม่ต้องนอนในครรภอ์ ีกอย่างแน่นอน ไดแ้ กบ่ ังเกดิ ในหมเู่ ทพชั้น สทุ ธาวาสท้ังหลาย บรรลพุ ระอรหตั แลว้ ปรินิพพานในชั้นสทุ ธาวาสน้นั น่นั เอง ตรัสร้บู ทอนั สงบ ปฏิบัติ สนบั สนนุ เทวดาทง้ั หลายเกดิ ปีตโิ สมนัส อำนวย ความสะดวกในการ ปฏิบตั ิ แผนภาพ 1 : กระบวนการการเจรญิ เมตตาจิตเพือ่ การปฏิบตั ธิ รรม

การสรา้ งเสรมิ ขมุ ทรัพย์โดยปรมตั ถ์ เพื่อประโยชน์สงู สดุ พระกมลรัตน์ อภปิ ญโฺ ญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นกั ศกึ ษาปริญญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสนศ์ ึกษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย Email : [email protected] บทเกริน่ นำ การสร้างเสรมิ ขุมทรัพยโ์ ดยปรมัตถ์ เพอ่ื ประโยชนส์ ูงสุด เป็นการตีความนิธิกณั ฑ์ในขุททกปาฐะ ตามแนวเนตติปกรณ์ โดยนิธิกัณฑ์สูตรนี้เป็นพระสูตรที่อยูในพระไตรปิฎก เล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรม บท-อทุ าน-อติ ิวุตตกะ-สตุ ตนบิ าต ข้อท่ี 9 หนา้ ท่ี 9 และ11 เป็นพระสูตรพระผู้มพี ระภาคเจ้าพระองค์เดียวตรัส พระสาวกเป็น ตน้ มไิ ด้กลา่ ว มีประวัตโิ ดยย่อวา่ เมื่อในสมัยนนั้ วบิ ตั ขิ องหมู่ชนท่ีปราศจากบญุ ด้วยตโิ รกุฑฑสูตร และแสดงนิธิกัณฑสูตรนี้เพื่อ แสดงสมบัติของหมูช่ นทที่ ำบญุ ไว้ด้วยหลกั ธรรมทีป่ รากฎในพระสูตรนี้ โดยใจความสำคญั ของเนื้อหานิธิกณั ฑ์ในขุททกปาฐะ มีกล่าวไว้ว่า “บุรุษย่อมฝังขุมทรัพย์ไว้ในน้ำลึกด้วยคิดว่า เมื่อ กิจที่เป็นประโยชน์เกิดขึ้น ทรัพย์นี้จักเป็นประโยชน์แก่เรา เพื่อเปลื้องการประทุษร้ายจากพระราชาบ้าง ความบีบคั้นจากโจร บ้าง เพ่อื เปลอื้ งหนีส้ นิ บ้าง ทุพภกิ ขภัยบ้าง ในคราวเกดิ อันตรายบ้าง ขมุ ทรพั ย์ท่เี ขาฝังไวใ้ นโลกเพื่อประโยชน์นี้แล ขุมทรัพย์ที่ เขาฝังไว้เป็นอย่างดี ในน้ำลึกเพียงนั้น ขุมทรัพย์นั้นทั้งหมด ย่อมหาสำเร็จประโยชน์แก่เขาในกาลทั้งปวงทีเดียวไม่ เพราะ ขมุ ทรพั ย์เคล่ือนจากทเ่ี สียบ้าง ความจำของเขาย่อมหลงลมื เสียบา้ ง เมือ่ ใดเขาส้ินบญุ เมอื่ นัน้ ขุมทรพั ยท์ งั้ หมดนน้ั ย่อมพินาศไป ขุมทรพั ย์คอื บญุ เปน็ ขมุ ทรัพย์อนั ผใู้ ด เป็นหญงิ กต็ าม เป็นชายกต็ าม ฝังไวด้ ีแล้วดว้ ยทาน ศีล ความสำรวม และความฝึกตน ใน เจดียก์ ็ดี ในสงฆ์กด็ ี ในบคุ คลก็ดีในแขกกด็ ี ในมารดากด็ ี ในบิดาก็ดี ในพีช่ ายกด็ ี ขุมทรพั ยน์ นั้ ชอ่ื วา่ อันผู้นนั้ ฝังไว้ดีแล้ว ใครๆ ไม่ อาจผจญได้ เป็นของตดิ ตามตนไป บรรดาโภคะทั้งหลายเมอ่ื เขาจำต้องละไปเขาย่อมพาขมุ ทรพั ยค์ อื บุญน้ันไป ขุมทรพั ย์คือบุญ ไมส่ าธารณะแกช่ นเหล่าอน่ื โจรลักไปไม่ได้ บญุ นิธอิ นั ใดติดตนไปได้ มนษุ ย์เหล่าน้ันยอ่ มได้ดว้ ยบุญนธิ นิ ี้ ความเป็นผู้มีผิวพรรณ งาม ความเป็นผู้มีเสียงไพเราะ ความเปน็ ผู้มีทรวดทรงดี ความเป็นผู้มีรูปสวย ความเป็นอธิบดี ความเป็นผู้มีบริวาร อิฐผลทั้ง ปวงน้นั อันเทวดาและมนุษย์ยอ่ มไดด้ ว้ ยบญุ นธิ ินี้ ความเปน็ พระราชาประเทศราช ความเปน็ ใหญ่ สขุ ของพระเจ้าจกั รพรรดิอัน เป็นทีร่ กั แมค้ วามเป็นพระราชา แห่งเทวดาในทพิ กาย อฐิ ผลทัง้ ปวงนัน้ อันเทวดาและมนุษย์ย่อมได้ด้วยบุญนธิ ินี้ มนุษย์สมบัติ ความยินดีในเทวโลก และนิพพานสมบัติ แล้วประกอบอยู่โดยอุบายอันแยบคายไซร้ เป็นผู้มีความชำนาญในวิชชาและวิมุตติ อิฐผลทั้งปวงนี้ อันเทวดาและมนุษย์ย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้ ปฏิสัมภิทาวิโมกข์ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ และพุทธภูมิ อิฐผลทั้งปวงนี้ อันเทวดาและมนุษย์ย่อมได้ด้วยบญุ นิธิน้ี คุณเครื่องถึงพร้อมคือบุญนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์มากอย่างน้ี เพราะ เหตนุ น้ั บัณฑติ ผู้มปี ัญญาจงึ สรรเสริญความทบ่ี คุ คลมบี ุญอนั ทำไว้แลว้ ฯ” คุณค่าแห่งนิธิกัณฑ์สูตรนั้นเป็นขุมทรัพย์คือ บุญ ฝังไว้ด้วยการปฏิบัติด้วยการให้ทาน รักษาศีล ความสำรวมใน อินทรยี ์ และความฝึกตน ในเจดยี ์กด็ ีมกี ารสร้าง บรจิ าค สกั การะ ระลึกถึงคณุ ขุมทรพั ย์น้ันใครๆ ไม่อาจทำใหส้ ญู หายไปจากผู้ ฝังได้ เป็นของติดตามตนไป บรรดาโภคะทั้งหลายเมื่อบุคคลได้ละจากโลกนี้ไป บุคคลนั้นย่อมพาขุมทรัพย์คือ บุญนั้นไป ขมุ ทรัพย์คอื บญุ ไมส่ าธารณะแกช่ นเหลา่ อ่ืน โจรลกั ไปไมไ่ ด้ บุญนิธอิ ันใดตดิ ตนไปได้

โทษของการไมป่ ฏิบัติตามแนวทางแหง่ นิธกิ ัณฑ์สูตร มีโทษ 2 อย่าง คอื 1.การไมฝ่ ังทรพั ย์ที่เป็นอรยิ ทรพั ย์ เกิดจาก การที่บุคคลมุ่งหมายแต่จะฝังแต่ขุมทรัพย์ภายนอก ไม่สนใจจะฝังทรัพย์ที่เป็นอริยทรัพย์ เพราะขุมทรัพย์ภายนอกน้ัน เคลือ่ นยา้ ยออกไปจากท่ี ๆ เขาฝงั ไว้ดีแลว้ แม้ไมม่ เี จตนากไ็ ปท่ีอน่ื ได้ โดยเจ้าของสิ้นบญุ บา้ ง. ความจำของเขาคลาดเคลื่อน คือ เขาจำไม่ไดถ้ งึ ที่ ๆ ฝงั ขุมทรัพย์ไว้บ้าง พวกนาค ทีค่ วามสิน้ บุญของเขาเตอื นแล้ว ยกั ย้ายขุมทรพั ย์น้ัน เอาไปทอ่ี นื่ เสียบ้าง พวก ยักษ์ลักพาเอาไปตามชอบใจเสียบ้าง พวกทายาทผู้รับมรดกที่ไม่ชอบกัน ขุดพื้นดินยกเอาขุมทรัพย์นั้นไป เมื่อเขาไม่เห็นบ้าง. ขมุ ทรัพยน์ ั้นไม่สำเรจ็ ประโยชน์แกเ่ ขา เพราะเหตุมกี ารเคลือ่ นท่เี ปน็ ต้น 2.การฝังทรพั ยท์ ่ีเป็นอรยิ ทรัพยไ์ มถ่ ูก ไดแ้ ก่การให้ทาน หรอื การทำสมาธิท่ีเป็นลกั ษณะมิจฉาสมาธินอกจากไม่ไดบ้ ญุ เป็นกำลงั อริยทรัพย์ในการใช้ในโลกหน้าแลว้ แต่ยงั ก่อใหเ้ กดิ ข้อเสยี นำไปสอู่ บายภมู ิอีกดว้ ย การกระทำตนให้เข้าสู่แนวทางแห่งนิธิกัณฑ์สูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถึงขุมทรัพย์ภายนอก ที่แม้บุคคลฝังไว้ แล้วด้วยความประสงค์นั้นๆ แต่ก็ไม่สำเร็จประโยชน์ตามที่ประสงค์ ถึงโลกสมมติกต็ ้องมีอันพินาศไปเป็นธรรมดา จากนั้นทรง แสดงบญุ สัมปทาเท่านั้นว่า เปน็ ขุมทรัพย์โดยปรมตั ถท์ ่ปี รากฏในนิธิกัณฑสตู รน้ี คือ ขุมทรัพย์ ของผ้ใู ด จะเป็นสตรีก็ตาม บรุ ุษก็ ตาม ช่อื ว่าฝงั ไวด้ แี ลว้ กด็ ว้ ยทาน ศลี สญั ญมะ และทมะ เหล่านี้เป็นขุมทรพั ยโ์ ดยปรมตั ถ์ ผลและอานิสงส์ของปฏิบัติตามแนวทางแห่งนิธิกัณฑ์สูตร อันได้แก่ขุมทรัพย์โดยปรมัตถ์ที่ฝังดีแล้ว มีทาน ศีล สัญญมะ และทมะ ขุมทรัพย์นั้นคือขุมทรัพย์บุคคลฝังไว้ดีแล้ว เพราะสามารถอำนวยผลที่น่าปรารถนาได้ตลอดกาลนาน ชน ทง้ั หลายถวายในพระเจดยี ์แม้เลก็ นอ้ ย ยอ่ มเปน็ ผไู้ ดผ้ ลท่ีปรารถนาตลอดกาลนาน จากนัน้ พระผู้มีพระภาคเจา้ ได้ทรงแสดงวัตถุ ทเ่ี ปน็ ขมุ ทรพั ย์โดยปรมตั ถ์ มีเจดีย์เป็นตน้ ขมุ ทรัพย์ท่สี ำเรจ็ ด้วยบญุ ซงึ่ เขาฝงั ไวด้ ้วยทานเป็นต้น ไวว้ า่ “ขมุ ทรัพย์ ที่เขาฝังไว้ดี แล้วนั้น ใครๆ ก็ผจญไม่ได้ ติดตามไปได้ ในเมื่อบรรดาโภคะที่จำต้องละไป เขาก็พาขุมทรัพย์คือบุญไปด้วยได้” ซึ่งมีอานิสงส์ ใหแ้ ก่ผทู้ ผ่ี ฝังไว้ด้วยบุญนธิ นิ ี้ย่อมได้ ความเปน็ ผมู้ ผี วิ พรรณงาม ความเป็นผูม้ เี สียงไพเราะ ความเป็นผู้มีทรวดทรงดี ความเป็นผู้ มีรปู สวย ความเปน็ อธิบดี ความเปน็ ผมู้ บี รวิ าร อฐิ ผลท้งั ปวง แนวทางปฏิบตั ิตามนิธิกัณฑ์สตู ร เปน็ แนวทางการฝังขุมทรัพย์โดยปรมตั ถ์ ด้วย 1)ทาน คือ รู้จักให้ เผื่อแผ่แบ่งปัน, บริจาคสงเคราะห์และบำเพ็ญประโยชน์ รวมถึงการประพฤติธรรม ดำรงอยู่ในศีลธรรม 2)ความการไม่ล่วงละเมิดทางกายและ วาจา คือ ศลี 5 ศลี 8 ศลี 10 และปาฏิโมกขส์ งั วรศลี เปน็ ต้น 3)สำรวม คอื การหา้ มใจไปในอารมณต์ า่ งๆ หรอื เรียกอีกอย่างว่า สมาธิทีบ่ ุคคลประกอบแลว้ เปน็ การสำรวมสูงสุด หรอื อีกความหมายได้แก่ความระวงั ความสังวร คำนเี้ ปน็ ชื่อของอินทรีย์สังวร และ3)ความฝกึ ตน ในเจดียก์ ็ดี ในสงฆก์ ด็ ี ในบุคคลกด็ ใี นแขกก็ดี ในมารดาก็ดี ในบิดาก็ดี ในพี่ชายกด็ ี เพราะสามารถอำนวยผล ท่นี า่ ปรารถนาไดต้ ลอดกาลนาน ดงั นั้นชนทั้งหลายถวายในพระเจดยี แ์ ม้เลก็ นอ้ ย ย่อมเป็นผู้ไดผ้ ลทป่ี รารถนาตลอดกาลนาน ท้ัง 3 ขอ้ ท่ีกลา่ วมานี้เปน็ แนวทางการฝังขมุ ทรัพยแ์ หง่ ตามนิธิกณั ฑ์สตู ร แรงบันดาลใจแห่งนิธิกัณฑ์สูตร มนุษย์ที่ฝังขุมทรัพย์โดยปรมัตถ์ ย่อมได้ด้วยบุญนิธิน้ี ได้แก่ ความเป็นพระราชา ประเทศราช ความเป็นใหญ่ สุขของพระเจา้ จักรพรรดิอันเป็นทีร่ กั แม้ความเปน็ พระราชา แห่งเทวดาในทพิ กาย อิฐผลทั้งปวง นั้น อันเทวดาและมนุษย์ย่อมไดด้ ้วยบญุ นธิ ินี้ มนุษย์สมบัติ ความยนิ ดใี นเทวโลก และนิพพานสมบัติ อิฐผลทง้ั ปวงน้ี เทวดาและ มนุษย์ยอ่ มได้ด้วยบญุ นิธินี้ ความท่พี ระโยคาวจร ถ้าเม่อื อาศยั คุณเครือ่ งถึงพรอ้ มคือมิตร แลว้ ประกอบอยู่โดยอบุ ายอนั แยบคาย ไซร้ เปน็ ผู้มีความชำนาญในวิชชาและวมิ ตุ ติ อิฐผลทัง้ ปวงน้ี อันเทวดาและมนุษย์ยอ่ มได้ดว้ ยบุญนิธินี้ ปฏิสัมภทิ าวิโมกข์ สาวก บารมีญาณ ปจั เจกโพธญิ าณ และพุทธภูมิอิฐผลทง้ั ปวงนี้ อันเทวดาและมนษุ ย์ย่อมไดด้ ว้ ยบุญนิธนิ ี้ คุณเคร่ืองถึงพร้อมคือบุญน้ี เป็นไปเพื่อประโยชน์มากอยา่ งน้ี เพราะเหตุนั้น บัณฑิตผ้มู ปี ัญญาจงึ สรรเสริญความทีบ่ ุคคลมีบญุ อันทำไว้แลว้

ประโยชนช์ าติหนา้ นพิ พานสมบตั ิ ประโยชน์ชาตนิ ้ี ไม่มคี ่าแก่ตนเมือ่ ตาย เพ่อื ดำรงชีวติ ทรพั ย์ในโลก ปรมตั ถท์ รัพย์ ทรัพยอ์ ันบุคคลฝงั ไว้เพ่อื ประโยชน์ แผนภาพ 1 : กระบวนการแหง่ การสรา้ งเสริมขมุ ทรพั ย์โดยปรมตั ถ์ เพือ่ ประโยชนส์ ูงสดุ

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมาธแิ ละปัญญา เพอ่ื เข้าถงึ จติ เดิมแท้ พระกมลรตั น์ อภิปญโฺ ญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย Email : [email protected] บทเกริน่ นำ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมาธิและปัญญา เพื่อเข้าถึงจิตเดิมแท้ เป็นการตีความเนื้อหาในหมวดท่ี 4 ว่าด้วย สมาธิและ ปัญญา ในเว่ยหล่างสูตร ตามแนววิสุทธิมรรค 6 เกณฑ์ โดยเรื่องสมาธิและ ปัญญา ในเว่ยหล่างสูตร เป็นหลักนิกายเซ็นและ โดยเฉพาะของพระสงั ฆปรนิ ายกชอ่ื เวย่ หลา่ ง นอกจากจะเปน็ วธิ ีการที่ลดั สัน้ แลว้ ยังเป็นวิธปี ฏิบัติทอี่ ิงหลกั ธรรมชาติทางจิตใจ ของคนทั่วไป แม้ที่ไม่รู้หนังสือ หรือไม่เข้าใจพิธีรีตองต่างๆ จึงเป็นเหตุให้ลัทธินี้ถูกขนานนามว่า \"ลัทธิพุทธศาสนาที่อยู่นอก พระไตรปฎิ ก\" คำสอนของท่านเว่ยหล่างเป็นระบบคำสอนที่กล่าวถึงลักษณะของสมาธิ และปัญญา ว่าในเรื่องสมาธิ และปัญญา นับว่าเป็นหลักทสี่ ำคญั แต่เราท้ังหลายมกั จะเข้าใจผดิ ไปวา่ ธรรมะขอ้ นี้ คือ สมาธิ และปญั ญา นน้ั เปน็ หลกั ธรรมทสี่ ามารถแยก จากกันได้อย่างเป็นอิสระ แตใ่ นความจริงแลว้ สมาธิ และปัญญานนั้ เปน็ ของรวมอย่ดู ้วยกันอยา่ งทจ่ี ะแยกกนั ไม่ได้ และมใิ ชเ่ ป็น ของสองอยา่ งท่เี ป็นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ซ่ึงต่างฝ่ายต่างมคี วามเปน็ ลกั ษณะทีเ่ ดน่ เปน็ เฉพาะเปน็ ของตัวเอง หรือสามารถกล่าวได้ อีกนัยนึงวา่ สมาธินัน่ แหละคือตวั จริงของปรชั ญา(เว่ยหล่าง (ฮุ่ยเลง้ ) พระสงั ฆปริณายก. สูตรของเว่ยหลา่ ง, 2547.) เหตุท่ีสมาธิ และปัญญามีความสมั พันธกื ันจนไม่สามารถแยกจากกันได้น้ัน ท่านเว่ยหล่าง ได้แสดงความสัมพนั ธ์และ อธิบายดังนี้ คือ ในเมื่อปญั ญา (ปรัชญา) เป็นแต่เพียงอาการไหวตัวของสมาธิ ในขณะทีเ่ ราได้ปรัชญา สมาธิก็มีพรอ้ มอยู่ในน้ัน แล้ว หรือจะกล่าวกลับกันว่า เมื่อมีสมาธิ เมื่อนั้นก็มีปรัชญา ดังนี้ก็ได้ ถ้าท่านทั้งหลายเข้าใจหลักอันนี้ ก็แปลว่าท่านเข้าใจ ความสัมพันธ์อันมีส่วนเสมอกันระหว่างสมาธิกับปรัชญา ผู้ศึกษาไม่ควรจะไปคิดว่า มันมีอะไรแตกต่างกันในระหว่างคำว่า \"สมาธิให้เกดิ ปรชั ญา\" กบั คำว่า \"ปรัชญาใหเ้ กดิ สมาธ\"ิ การถอื ความเห็นวา่ แยกกนั ได้นัน้ ย่อมสอ่ วา่ มันมีอะไรท่เี ด่นๆ อยู่ถึงสอง ฝกั สองฝา่ ย ในธรรมะน้ี ลักษณะของสมาธิ และปัญญานั้น ท่านเว่ยหล่างกล่าวว่า ควรจะเปรียบกับอะไรเล่า? ธรรมะสองชื่อนี้ ควรจะ เปรยี บกนั กับตะเกียง และแสงของมันเอง มีตะเกียง ก็มแี สง ไมม่ ตี ะเกียงมันกม็ ดื ตะเกียงนนั่ แหละคือตวั การแท้ของแสงสว่าง และแสงสว่างเป็นแต่สิ่งซึ่งแสดงออกของตะเกียง โดยชื่อ ฟังดูเปน็ สองอย่าง แต่โดยเนื้อแท้แลว้ มันเป็นของอยา่ งเดียว และ ท้ังเปน็ ของอันเดยี วกนั ดว้ ย กรณเี ชน่ น้แี หละ ไดก้ ับสมาธแิ ละปรชั ญา ประเภทของสมาธิ และปัญญาตามที่ท่านเว่ยหล่าง แห่งลัทธิแห่งการบรรลุธรรมโดยฉับพลันได้แสดงไว้ในสูตรอัน ประกาศบนมหาบัลลังก์แหง่ \"ธรรมรถ\" หมวดที่ 4 ว่าด้วย สมาธิและ ปรัชญา โดยสามาถสรุปได้ว่าท่านเว่ยหล่างได้กล่าวถึง สามธิ และปัญญาไว้เพียงประเภทเดียวคือ สมาธิตรงแน่ว และปัญญาแห่งความไม่ข้องติด ดังนื้ 1)สมาธิตรงแนว่ ท่านผู้คงแก่ เรียนทัง้ หลาย การบำเพ็ญ \"สมาธทิ ่ีถูกวิธี\" นั้น ได้แก่การทำให้เป็นระเบียบตายตัว เพื่อใหเ้ ราเป็นคนตรงแน่วในทุกโอกาส ไม่ ว่าคราวเดิน ยนื น่ัง หรอื นอน วิมลกรี ตฺ นิ เิ ทศสูตร มขี อ้ ความวา่ \"ความเป็นผตู้ รงแนว่ นนั่ แหละคอื เมืองอริยะ \"แดนบริสุทธ์ิ\"

ท่านทั้งหลายจงอย่าปล่อยใจให้คตเคี้ยวไปมา และอย่าประพฤติความตรงแน่ว เพียงสักว่าท่ีริมฝีปาก เราต้องบำเพ็ญให้ตรง แน่วจริงๆ และไม่ผูกพันตวั เองไวก้ ับสิ่งใดๆ คนพวกที่งมงายอยู่ภายใต้อวิชชา ย่อมเชื่ออย่างดื้อดึงไปตามตัวหนังสือ และ 2) ปญั ญาแหง่ ความไม่ข้องตดิ ท่านผู้คงแกเ่ รียนทั้งหลาย มนั เปน็ จารตี ในนิกายของเรา ในการทจ่ี ะถือเอา \"ความไม่เป็นไปตาม อำนาจของวติ ก\" วา่ เปน็ ผลทเ่ี ราจำนงหวังถอื เอา \"ความไมต่ กอยูภ่ ายใต้วิสัยของอารมณ์\" วา่ เป็นมลู รากอนั สำคัญและถือเอา \"ความไมข่ อ้ งติด\" ว่าเป็นหลักหรอื ต้นตอ อันเป็นประธานสำคัญ \"ความไมต่ กอยู่ภายใต้วสิ ัยของอารมณ์\" นั้น หมายถึงความ ไมถ่ ูกอารมณ์ดงึ ดดู เอาไป ในเม่ือได้สัมผัสกกันเข้ากับอารมณ์ \"ความไมเ่ ป็นไปตามอำนาจของวิตก\" น้นั หมายถึงความไม่ถูก ลากเอาไปโดยความคิดอันแตกแยกแต่อย่างใดอย่างหนึ่ง ในขณะที่กำลังบำเพ็ญภาวนาทางจิต \"ความไม่ข้องติด\" นั้น หมายถึงลกั ษณะเฉพาะแหง่ จิตเดมิ แท้ ของเรานนั่ เอง ส่วนของอานิสงส์ของการปฏิบตั ิเจรญิ ธรรมแหง่ สมาธิ และปัญญาใหส้ มั พันธก์ ัน ทา่ นเว่ยหลา่ ง ได้กล่าวถึงอานิสงส์ไว้ ว่า การทำตัวเราเอง ให้เป็นอสิ ระ จาการถูกดูดดึงไปตามอารมณ์ภายนอกนเ้ี รียกว่า \"ความไม่ตกอย่ภู ายใต้วิสัยของอารมณ์\" เมื่ออยู่ในฐานะที่จะทำได้ดั้งนัน้ สภาพธรรม(ที่มีในเรา) ก็จะบริสุทธิ์ เพื่อผลอันนี้ เราจึงถือเอา \"ความไม่ตกอยูภ่ ายใต้วิสยั ของอารมณ์\" ว่าเป็นมูลรากอันสำคัญ การดำรงใจไว้ให้เป็นอิสระจากอำนาจของกิเลส ในทุกๆลักษณะของสิ่งที่แวดล้อม รอบตวั เรา นี้เรยี กว่า \"ความไม่เป็นไปตามอำนาจของวติ ก\" ใจของเราลอยอยู่สูงเหนือสิ่งตา่ งๆ ทแ่ี วดล้อมเรา และในทุกกรณี เราไมย่ อมใหส้ ่ิงเหล่านัน้ มามีอิทธิพลครอบงำ ในการทใ่ี จของเราของเราจะทำหนา้ ทีข่ องมนั แต่วา่ มันเป็นความผิดอย่างใหญ่ หลวง ในการบีบบังคับใจไม่ให้คิดอะไรเสียหมด เพราะว่าแม้เราจะทำได้สำเร็จในการบังคับเช่นนั้น และเราดับจิ ตลงไปใน ขณะนั้น เราก็ยังคงต้องเกิดใหม่ ในภพใดภพหนึ่งอยู่ดี จงกำหนดความข้อนี้ไว้เถิดบรรดาท่านผู้เดินทางทั้งหลาย มันเป็น ความชั่วอยา่ งพอตัวทีเดยี ว สำหรบั คนที่ทำอย่างผิดพลาด เนื่องมาจากไม่เข้าใจความหมายของธรรมบัญญัติข้อนั้น แล้วมนั จะเปน็ ความช่วั มากขึ้นไปเพยี งใดอีก ในการเร้าใจให้ผู้อ่ืนพากนั ทำตามเป็นบริวารของตน เมื่อหลงเสียแล้ว เขาก็มองไม่เห็น อะไร และย่ิงกวา่ นน้ั เขายังแถมเป็นผู้กลา่ วตพู่ ระพุทธวจนะ ยู่ตลอดกาลเปน็ นิจดว้ ย เหตุฉะน้ันแหละ เราจงึ ถือเอา \"ความ ไมเ่ ปน็ ไปตามอำนาจของวิตก\" ว่าเป็นผลท่จี ำนงหวังของเรา สิ่งที่เปน็ อุปสรรคตอ่ การปฏิบัติสมาธิ และเจริญปัญญาให้สัมพันธ์กัน ท่านเว่ยหล่าง ได้กล่าวไว้ในหมวดที่ 4 ว่าด้วย สมาธิและ ปรัชญาน้ีโดยสรุปได้เป็น 3 ประเด็น ได้แก่ 1)ผู้ที่ไม่ได้รับการปฏิบตั ิสมาธิ และเจริญปัญญา โดยสำหรับบคุ คลท่ลี ้ิน ของเขาพูดได้ไพเราะ แตใ่ จของเขาไม่สะอาดนัน้ สมาธแิ ละปรัชญาไม่มปี ระโยชนอ์ ะไรแกเ่ ขา เพราะสมาธิและปรัชญาของเขา ไม่ทางจะสมส่วนสัมพันธ์กันได้เลย อีกทางหนึ่งซึ่งตรงกนั ข้าม คือถ้าท้ังใจและดที ั้งถอ้ ยคำท่ีพูด ทั้งกิรยิ าอาการภายนอกกบั ความรสู้ ึกในใจกป็ ระสานกลมกลนื กนั แลว้ นั่นแหละคอื กรณสี มาธิและปรชั ญา ไดส้ มั พนั ธก์ ันอยา่ งสมสว่ น 2) การโต้แยง้ กันใน เรื่องปฏบิ ตั ิสมาธิ และเจรญิ ปญั ญานัน้ การมัวเถยี งกันว่าปรชั ญาเกดิ กอ่ น หรอื สมาธิเกดิ ก่อนนนั่ แหละ จะทำใหผ้ ้นู ั้นตกอยู่ใน ภาวะเช่นเดียวกับคนที่ถูกอวิชชาครอบงำทั้งหลาย การเถียงกันย่อมหมายถึงความด้ินรนจะเป็นฝ่ายชนะ ย่อมเสริมกำลัง ให้แก่ความยัดมั่น ถือมั่นว่าตัวตน และย่อมจะผูกพันเราไว้กับความยึดถือ ด้วยความสำคัญว่าตัวตน ว่าสัตว์ ว่าชีวะ ว่า บุคคล 3) การแปลความหมายของสมาธิผิด คนพวกที่งมงายอยู่ภายใต้อวิชชา ย่อมเชื่ออย่างดื้อดึงไปตามตัวหนังสือ ฉะน้ัน เขาจึงรั้นที่จะแปล เอาตามชอบใจของตัวเอง ในการแปลคำวา่ \"สมาธิทีถ่ ูกวิธี\" ซึ่งเขาเหล่านั้นพากันแปลว่า \"นั่งอย่างเงยี บ ตดิ ตอ่ กนั ไป โดยไมย่ อมให้ความคดิ อันใดอนั หนงึ่ เกิดขึน้ ในจิต\" การแปลความหมายเชน่ นี้ เปน็ การจัดตัวเราเองให้ลงไปอย่ใู น ช้ันเดียวกบั วตั ถุทีไ่ ร้ชีวติ วิญญาณทั้งหลาย และยงั จะกลายเป็นสงิ่ สะดุดเกะกะกดี ขวางหนทางตรง ท่านเว่ยหล่าง ส่งเสริม ผู้คงแก่เรยี นท้ังหลาย ในการปฏบิ ัติให้ถงึ ธรรมอนั เอก ไว้ว่า เพราะเหตุทีค่ ุณลักษณะของ ตถ ตา ต่างหากที่ใหก้ ำเนิดแกว่ ิตก ฉะนั้น อวัยวะสำหรับรู้สึกอารมณ์ต่างๆ ของเราไม่จำเป็นจะตอ้ งพลอยด่างพร้อยหรือเศรา้

หมองไปด้วย ในทุกๆเหตุการณ์ แม้ว่ามันจะเป็นผูท้ ำหน้าที่ในการดู การฟัง การสัมผัส การรู้ฯลฯ ก็ตาม, และตัวภาวะแท้ ของเรา ก็อาจยัง \"แสดงตัวเองให้ปรากฏได้\" ทุกเวลา เพราะเหตุฉะนั้น พระสูตรนั้นจึงกล่าวว่า ผู้ทีคล่องแคล่วในการ แยกแยะธรรมลักษณะนานาประการ เพอ่ื ความเข้าใจอนั ถกู ต้องได้ จกั เป็นผู้ตั้งอยู่อยา่ งไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน ใน \"ธรรมอัน เอก\" (กล่าวคือถ่ินอนั สงบเยน็ ของพระอรยิ ะหรอื นิพพาน) ตวั จรงิ ของ ปญั ญา ทำให้เกดิ ปัญญา สมาธิ ความไม่ตกอยภู่ ายใตว้ สิ ยั ของอารมณ์ที่เขา้ มาสู่จิต จิตเดมิ แท้ ทำใหเ้ กดิ สมาธิตรงแนว่ อาการไหว ปัญญา ไมอ่ ยู่ภายใต้อวชิ ชา ตัวของสมาธิ สมาธิ แผนภาพ 1 : กระบวนการความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมาธิและปญั ญาทปี่ รากฎในเวย่ หล่างสูตร

หลกั การปรัชญาปารามติ าหฤทยั สูตร เพื่อเขา้ สศู่ นู ยต์ า พระกมลรตั น์ อภิปญฺโญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นักศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั Email : [email protected] บทเกร่ินนำ หลักการปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร เพื่อเข้าสู่ศูนย์ตา เป็นการตีความเนื้อหาพระสูตรปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร ที่ถูกจารจารึกในภาษาทิเบต ตามแนววิสทุ ธิมรรค 6 เกณฑ์ โดย ปรัชญาปารามิตาหฤทยั สตู ร เป็นพระสตู รด้ังเดิมทีส่ ุด กับท้ัง เปน็ มลู ฐานของทฤษฎีศูนยตา เป็น พระสูตรสำคญั ของทง้ั มหายานและวัชรยาน คุรุนาคารชุนผกู้ อ่ ตง้ั นิกายมาธยมิก ราว ค.ศ.1 เป็นผู้รวบรวม อยู่ใน”มาธยมิกศาสตร์ ท่านกุมารชีพได้แปลเป็นพากษ์จีน ประ มาณพุทธศตวรรษที่ 8 แพร่หลายมากจนถึง ปจั จุบนั ทีเ่ รยี กวา่ “ซมิ เก็ง” คำสอนในเรื่องของหลักการสี่ประโยคที่เป็นหัวใจของมัธยมิก ในปรัชญาปารามิตาหฤทัยสูตร นั้นเป็นปัญญาของ พระพทุ ธเจา้ เปน็ ปญั ญา แห่งอสิ ระ เหน็ แจ้งใน ศนู ยตา เปน็ ความสขุ อนั นิรนั ดร ตามความหมายแหง่ พระสตู รนี้ เป็นไปเพื่อ ให้ เกิด ปัญญาแห่งพระพุทธเจ้า เพื่อให้ผูป้ ฏิบัติได้เป็นเช่นพระพุทธเจ้า ปารามิตา แปลว่า ข้ามไป ฝั่งโน้น ในทางพุทธศาสนาได้ แบ่งโลกออกเป็น 2 ฝั่ง โลกฝั่งนี้คือโลกียะโลก โลกแห่งความ หลงติด ยึดมั่น ขาดอิสระ โลกอีกฝั่งคือโลกุตระโลก คือโลกที่ ประทับแหง่ พระพทุ ธเจา้ ทั้งหลาย โลกแห่งความเหน็ แจง้ อสิ ระ ศูนยตา( วา่ งเปลา่ ) หฤทัย ความหมาย ทางโลกยี ะ คือ ใจอัน เป็นแหล่งเก็บปัญญา เพื่อแย่งชิงความสุขทางโลก โดยยึดติด อยู่กับ ความโลภ โกรธ หลง ส่วนหฤทัยตามความหมายแห่ง โลกุตระนั้น คือ จิตแหล่งเก็บ ปัญญา เพื่อไปสู่พระนิพพาน อันจะทำให้เราได้เป็นเช่นพระพุทธเจา้ ในที่สุด ปรัชญาปารามิตา หฤทยั สตู ร คอื คำสอนหวั ใจแหง่ ปัญญานำพาขา้ มฝากฝ่ัง(ล.เสถียรสตุ . การพน้ ทุกขข์ องมหายาน, 2539.) ตามนัยแห่งเหตุของพระสูตรนี้ความว่างเปล่ามิใช่ความว่างเปล่าซึ่งไม่มีสิ่งใดเลยเป็นความว่าเปล่าซึ่งเกิดจาก หลักการสี่ประโยคที่เป็นหวั ใจของมัธยมกิ ซึ่งปรัชญาปารามิตาหฤทยั สตู รไดก้ ล่าวถงึ เหตุไว้ว่า การเหน็ การได้ยนิ ของมนุษยเ์ ริ่ม ด้วยการเห็นและได้ยินในระดับตื้น เห็นผิวเผินก่อนหลัง จากนั้น ถ้าเราได้ดำเนินการต่อไปก็จะเห็นและได้ยินด้วยจิตตามมา เปน็ การเหน็ และ ไดย้ ินลึกซ้งึ เขา้ ไป อกี ระดบั หนงึ่ น่นั คือการเพ่งต่อจากการเห็น เมื่อเพ่งเหน็ แล้วได้ปฏิบัติต่อคือการพิจารณา ผล ที่ได้สมบูรณ์ คือเห็นลึกซึ้งถึงธรรมชาติอันแท้จริงของสรรพสิ่ง การเพ่งมองเห็นด้วยจิต คือ สมาธิ การพิจารณาต่อมาคือ วิปัสสนา ทั้ง 2 วิธีคือการเรียนรู้แผนที่เพื่อใช้ใน การเดินทางเข้าสู่ ประตูแห่งความเป็นพุทธะ การปฏิบัติทั้ง 2 วิธี เพื่อให้เกิด ปัญญา ปัญญาที่ว่าคือปัญญา ในการ อ่านแผนที่อย่างชำนาญและไม่หลงทาง ดังที่ท่านนาคารชุนโพธิสัตว์ได้กล่าวไว้ว่า “ปัญญา คือตา ปฏิบัติคือเท้า จะไปถึงดินแดนที่เยน็ สบาย (พระนิพพาน)”ปัญญาจากตาคอื ทฤษฎี ทฤษฎีที่ไม่มีการปฏิบัติ ก็ เปล่าประโยชน์ การปฏิบัติท่ีไม่มีทฤษฎี ก็สับสนหลงทางได้ง่าย ดั่งคนตาบอดคลำทาง(มปป. พุทธศาสนประวัติระหวา่ ง 2500 ปีที่ล่วงแล้ว, 2537.) ดังนั้นปัญญาจากการเพ่ง(สมาธิ) ปัญญาจากการคิด(วิปัสสนา)จะให้ ผลสมบูรณ์ คือปัญญาที่ได้จากการ ปฏิบัติ เราเคยได้อ่าน ได้ยินเรื่องศูนยตา เราเคยได้ คิดถึง ความหมายของศนู ยตา สุดท้ายเราเคยไดเ้ ข้าสู่ ศูนยตา นั่นคือผลท่ี สมบูรณ์ บรรลุความรู้แจ้ง แล้ว ความว่างเปลา่ หรือศูนยตา คือความว่างเปล่า เอกภาพ สันติภาพอันนิรันดร ตามนัยแห่ง พระ

สตู รน้คี วามว่างเปลา่ มิใช่ความว่างเปล่าซ่ึงไมม่ สี ่ิงใดเลยเป็นความวา่ เปล่าซึ่งเกดิ จาก สิง่ ทใี ช่-ไมใ่ ช่, สิ่งทไี่ ม่ใช่-ไม่ใช่, ไม่ใช่ส่ิงท่ี ใช่-ไม่ใช่, ไม่ใช่ส่ิงทไ่ี ม่ใช่-ก็ไม่ใช่ ลักษณะของความว่างเปล่า ตามหลักการสีป่ ระโยคที่เป็นหัวใจของมัธยมกิ คือ สรรพส่ิงในโลกมิมีสิ่งใดเกิดข้นึ ลอยๆ ทุกส่งิ เกดิ ขน้ึ และสัมพันธ์กับสิง่ อ่ืนเป็นปรตตี ยสมุตปาท ความวา่ งเปลา่ เป็นที่เกดิ ของสรรพสิ่ง สรรรพสง่ิ ก็เป็นที่เกิด ของความ ว่างเปล่า วินาทีนี้เกิดมาจากการดับของวินาทีก่อน และการดับของวินาที นี้จึง ได้เกิดวินาทีหน้า เกิดดับ ดับเกิด วนเวียน ตลอดไป คลา้ ยดังมีและคลา้ ยดงั ไม่มี ความสมั พนั ธ์ ทเี่ กยี่ วเน่อื งกันน้ันมใี นทกุ สรรพส่งิ ไมม่ ียกเวน้ ความสัมพนั ธ์ของเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต ความสัมพันธ์ของโลก ธรรมชาติ สังคม สรรพสัตว์ มนุษย์ ความว่างเปล่าเกิดในจิต ของมนุษย์ และก็มีแต่ มนุษย์ที่เข้าถึงความว่างเปล่าได้ สิทธิพิเศษนี้มิใช่มีไว้เพื่อให้มนุษย์ อยู่เหนือสรรพ สิ่งทั้งมวล ผลของความเข้าใจใน ศูนยตา ภาวะหรือความว่างเปล่า ที่สังคมโลกได้รับคือสันติภาพอันนิรันดร ผลความว่างเปล่าที่ปัจเจก บุคคล ได้รับคือความหลุดพ้น จากทกุ ขท์ ้งั มวล มแี ต่ผู้ที่เห็นแจ้งและเข้าถึงซ่งึ ธรรมชาติแทข้ องความ วา่ ง เปลา่ เทา่ น้นั ท่อี ย่เู หนือความเลวร้ายทง้ั มวล สามารถ อย่กู บั ความเลวรา้ ยไดโ้ ดยไมเ่ ลวร้าย ตาม สภาพแวดล้อมรอบตัว ดงั เชน่ บวั แมเ้ กดิ ในโคลนตม แตบ่ วั ก็ไม่ได้ปนเป้อื นด้วย โคลน ตม เลย เม่ือใดเราเพง่ เหน็ ขนั ธ์ 5 คือความวา่ งเปลา่ ส่งิ ปรงุ แตง่ ทงั้ หลายไมเ่ กดิ ภาพทเ่ี หน็ ด้วย ตาจะมีลักษณะใดก็ตามจะสวย สดงดงามในจิตเสมอ ดังเช่นภาพพระพุทธ องค์ในรูปดุร้าย น่าเกลียดน่ากลัวของชาวพุทธวัชระยาน การดำเนินการกับขันธ5์ ดังข้อความเดิมข้างบนเปน็ การทำใหข้ นั ธ์5บรสิ ุทธ์ิ และใช้ขนั ธ์5อนั บริสทุ ธเ์ิ พื่อต่อสูก่ ารเปน็ ขัน้ ธ์5เป็นมายา ซง่ึ ก็เพยี งพอให้เกิด ความหลุดพ้นแล้ว แต่ยงั คงมิใช่เข้าสพู่ ทุ ธภาวะดงั พระอวโลติเกศวรโพธสิ ัตว์ พระองคท์ า่ นเหน็ แจ้งและเขา้ ถงึ ซ่ึงศนู ยตา ขันธ์5 ของท่านเป็นอย่างไรก็ได้ดังที่มันจะเป็นแต่ก็เป็นศูนยตาเมื่อท่านต้องการให้เป็น(โยฮัน กัลป์ตุง. พุทธสันติวิธี : ทฤษฏีเชิง โครงสร้าง, 2538.) ดังนั้น ท่านจึงอยู่เหนือความควบคุมของขันธ์ 5 สามารถใช้ขันธ์ 5 ตามความปารถนา ของตน จึงข้ามพ้น สรรพทกุ ข์ ตัวเราก็เชน่ กนั เหน็ แจง้ ในความวา่ งเปลา่ ของขันธ์ 5 เรากเ็ ปน็ เชน่ ดงั องค์พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ หลกั ธรรมของพระสตู รปรัชญาปารามิตาหฤทยั สตู ร แบง่ เปน็ 6 ประเภทซ่ึงเกื้อกูลตอ่ การปฏบิ ตั เิ รียงลำดบั กนั ดังน้ี 1. ความว่างเปล่ามิใช่ความว่างเปล่าซึ่งไม่มีสิ่งใดเลยเป็นความว่าเปล่าซึ่งเกิดจาก สิ่งทีใช่-ไม่ใช่, สิ่งที่ไม่ใช่-ไม่ใช่, ไมใ่ ชส่ งิ่ ที่ใช่-ไมใ่ ช่, ไม่ใชส่ ่งิ ที่ไม่ใช่-กไ็ มใ่ ช่ นั่นคอื รปู และความว่างเปลา่ ทำไมรูปคือความว่างเปล่าและความว่างเปล่าจึงคือรูป รูปคือโลกคอื สงั สารวฏั ความว่างเปล่าคอื พทุ ธะภาวะ สงั สารวัฏเน้อื แทก้ ำเนดิ มาพรอ้ มกันและสง่ิ เดยี วกบั พทุ ธสภาวะ อันกล่าว ได้เลยว่าพุทธคือสงั สารวัฏ หรอื สงั สารวฏั กค็ อื พุทธะ ก็ได้ เม่อื สองสิง่ เปน็ สิง่ เดยี วกัน แล้วทำไมจึงแบ่งเปน็ สองอย่าง สิ่งท่ีมากั้น กลางแบ่งมันออกก็คือความสมมุติ เมื่อเราทุบความสมมุติทิ้งทุกสิ่งก็กลับเป็นหนึ่งเดียวกัน ความสมมุติคืออะไร จึงมีพลัง มหาศาลมาแยกพทุ ธะและวัฏออกจากกันได้ เม่ือไดเ้ หน็ ไดย้ ิน ไดก้ ล่ิน ไดร้ ส ได้สมั ผัส ในขณะที่จิตยังดำรงอยู่อวชิ ชา(ความไม่ รู้) จิตกเ็ สกสรรค์ปั้นแตง่ ใหส้ ิง่ ต่างๆเกิดข้ึนตามอารมณ์ เปรียบดังคนตาบอดแตก่ ำเนิดคลำช้าง นแ่ี หละคือตัวสมมุติ ตัวสมมุติก็ คอื ข้ัวหนง่ึ ข้วั ขวั้ ใดในในส่ีประโยคนี้ สง่ิ ทีใช่-ไม่ใช่, สิง่ ท่ีไมใ่ ช่-ไม่ใช่, ไม่ใชส่ งิ่ ที่ใช่-ไมใ่ ช่, ไม่ใชส่ ิ่งท่ไี มใ่ ช่-กไ็ ม่ใช่ 2. รูปคือความว่างเปล่า ความว่างเปล่าคือรูป รูปไมอ่ ื่นไปจากความว่างเปล่า ความว่างเปล่าไม่อื่นไปจากรปู เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณก็ว่างเปล่า ประโยคทั้ง 2 นี้เป็นแก่นแท้ของพุทธศาสนา เห็นแจ้งในรูปเป็นความว่างเปล่า เกิดมหา ปัญญา เห็นแจ้งในความว่างเปล่าเป็นรูป เกิดมหากรุณา เมื่อเห็นแจ้งในรูปเป็นความว่างเปล่า ความ ยึดมั่นในอัตตาย่อมไมม่ ี ความหลงในสรรพสิ่งย่อมถูกทำลายไป ธรรมชาติแท้ของสรรพสิ่ง ก็บังเกิดขึ้นในจิต นั่นคือ มหาปัญญา ได้บังเกิดขึ้น และเมือ่ ได้เห็นแจ้งถึงความว่างเปล่าได้ กำเนิดรูป ความรัก ความเมตตากรุณาในสรรพสิ่งที่เป็นธรรมชาติแท้ย่อมบังเกิดขึ้น ความ

เมตตากรุณาที่เกิดจากปัญญาจะไม่มืดบอด หลงไหล ความรักของพ่อและแม่ที่มีต่อลูกเป็น เช่นเดียวกัน แต่พื้นฐานของการ ปฏิบัตินน้ั ตา่ งกนั 3. ธรรมท้ังปวงว่างเปล่า ไมม่ ีรูป ไมเ่ กดิ ไม่ดับ ไม่มวั หมอง ไม่ผอ่ งแผ้ว ไมเ่ พ่ิม ไม่ลด ในความวา่ งเปลา่ ไม่มีรูป ธรรม ในความหมายแรก คือ องค์รวมขันธ์ 5 เป็นสรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวง และเป็นความว่าง เปล่าดังได้กล่าวไว้แล้ว ธรรมในอีก ความหมายหนึ่ง คือ คำสอนของพระพุทธเจ้าอันเป็นแนว ทางในการบรรลุความหลดุ พ้น ธรรมในความหมายทั้ง 2 เกาะเกีย่ ว สัมพันธ์ อิงซึ่งกัน และกัน อยู่ตลอด เมื่อเราเห็นแจ้งธรรมแรกเป็นความวา่ งเปล่า ธรรมที่ 2 ก็ว่างเปล่าด้วย เมื่อสรรพสิง่ ว่าง เปล่า เครื่องมือในการจัดการสรรพสิง่ ก็ไม่จำเป็นต้องมแี ละว่างเปล่าด้วย ขณะท่ีความ ว่างเปลา่ บังเกิดสรรพส่ิง ธรรมทั้งปวงก็ บังเกิดด้วย เพื่อจัดการควบคมุ สรรพสิง่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นธรรมชาติ แท้ของสรรพสัตว์ ในสายตาของผู้ที่ยงั วนเวยี นอยูใ่ น ขนั ธ์ 5 การเกิด เป็นความปิตยิ นิ ดี เป็นความบริสทุ ธิ์ 4. พน้ื ฐานของพุทธศาสนา คือศลี สมาธิ ปัญญา ดำรงศลี เพ่อื เตรยี มตวั ใหพ้ ร้อม ดำรงสมาธเิ พ่ือรับธรรมปฏิบัติ และ ก็เดินไปที่ละก้าวเพื่อสู่ปญั ญา แต่ก็มีอีกหนทางหน่ึงซ่ึงผู้มีสติเป็นเลิศไดป้ ฏิบัติเพื่อให้เกิดผลในทันที่ คือเข้าใจรู้แจ้งว่า พุทธะ, ธรรมะและวัฏฏ์ เป็นสิ่งเดียวกันนั่นคือการสร้างทรรศนะมรรคที่ถูกต้องให้เกิดขึ้นก่อนและจึงดำเนินภาวานามร รค เพื่อให้ ทรรศนะมรรคเปล่ยี นจากทรรศนะเปน็ ความจรงิ ทดี่ ำรงทกุ ขณะ นน่ั คือ คุณคอื พทธะ เมื่อดำรงอยู่ในความเป็นพุทธะแล้ว ศีลก็ คือ หนวดหรือเคราซ่ึงเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมิตอ้ งบงั คบั ในกรณีเช่นน้ี ความเปน็ พทุ ธะเกิดขึ้นไดใ้ นทันที เพียงแต่คุณรู้ แจ้งเห็นจริงว่า ศูนยตา,ธรรมและวัฏฏ์เป็นสิ่งเดยี วกัน เมื่อทั้งสรรพสิ่งเปน็ สิ่งเดียวกัน จึงไมใช่ขัว้ ใดขั้วหนึ่ง ในสี่ประโยค สิ่งที่ เกิด ดับ เพิ่ม ลด บริสุทธิ์ สกปรกเปน็ ส่ิงท่ีเกดิ ขึ้นเฉพาะสิ่งทีอ่ ยู่ในขึ้วทั้งสีเ่ ท่าน้ัน เมื่อไม่มีขั้วก็ไมม่ ที ่ีให้กระทำจนเกิดปฏกิ ริยา ต่างๆ 5. ไม่มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่มีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ธรรมารมณ์ ไม่มี จักษธุ าตุ ไมม่ มี โนธาตุ กล่าวคือ ไม่มสี รรพสตั ว์ใดทีไ่ ม่มอี ายตนะภายนอก 6 อายตนะภายใน 6 กม็ ันตอ้ งมีแล้วทำไมจึงบอกว่า ให้มันไม่มี พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนผิด ดังนั้น พระสูตรจึงไม่ตกทอดมาผิด ในความมีต้องดำรงอยู่อย่างไม่มี นั่นคือ มีก็ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ไม่มกี ็ไมใ่ ช่ และก็ไม่ใชก่ ารไปทำลายมนั ทิง้ เพราะมนั ตอ้ งมอี ยแู่ ละมอี ยอู่ ยา่ งไม่มี นั่นคอื ไม่มกี ไ็ มใ่ ช่, ไม่ใช่ไมม่ ีก็ไม่ใช่ น่ีจึง เป็นพุทธะภาวะทเี่ ปน็ หน่งึ เดียวกับสังสารวฏั ฏ์ 6. ไม่ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ไม่มีฌาน ไม่มีการบรรลุ เพราะไม่มีอะไรให้บรรลุ อธิบายได้ว่า อริยสัจ 4 อันมีทุกข์ สมทุ ยั นโิ รจ มรรค เป็นศูนยตาเป็นความวา่ งเปลา่ มิขัดกนั หรือ เรามาพิจารณากัน เมอ่ื พระพุทธเจา้ สอนอริยสัจ4 เพื่อให้หลุด พ้น นน่ั คือ การหลดุ พน้ เป็นพระอรหนั ต์ ซึ่งก็คอื การดับหายไปเฉยๆ สูญสิ้นไปหมดไมเ่ หลอื่ ใยใดไวเ้ ลย ตอ่ มาพระพุทธเจ้าทา่ น กส็ อนทางสายกลาง มาเพอ่ื ใหส้ านุศิษย์ไดด้ ำรงความเปน็ พทุ ธะเช่นพระองค์มิต้องสูญหายไปเฉยๆ อนั ใดคอื ทางสายกลาง ก็คือ ให้พิจารณาอริยสัจ4ให้เป็นปรตตี ยสมุทปาท ให้เป็นศูนยตา อย่าพิจารณาอยา่ งแยกสว่ น เมื่อพิจารณาแยกสว่ น แต่ละขอ้ พระ อรยิ สจั 4 กจ็ ะอยู่ในข้ัวใดขึว้ หนึ่งในสปี ระโยค การพจิ ารณาพระอรจิ สจั 4ใหเ้ ปน็ ความสัมพนั ธอ์ ิงอาศัยกัน เพราะมเี หตุจงึ มีทกุ ข์ เพราะมีทุกข์จึงต้องหาทางแก้ เพราะหาทางแก้จึงมีทางแก้ เมื่อดำเนินทางแก้ทุกข์ก็สามารถเกิดอีก เมื่อพระอริยสัจเป็นปร ตีตยสมทุ ปาทกเ็ ปน็ ศนู ยตาดว้ ย และกเ็ ป็นทางสายกลางดัวย เพราะทางสายกลางคือภาวะท่เี ปน็ เช่นนั้นโดยไม่ถูกจำกัดด้วยขั้ว ใดขัว้ หน่ึงในสีป่ ระโยค นน่ั คอื เมอื่ ใดท่พี จิ ารณาพระอริยสัจ 4 เป็นศูนยตา เมือ่ นั้น ความเป็นพทุ ธะกเ็ กดิ ส่วนของอานิสงส์ของการปฏิบัติ ดำเนินตาม “ปรัชญาปารามิตา” จิตย่อมไม่สับสนมืดมัว เพราะจิตไม่สับสนมืดมวั จึงไม่มีความกลัว อยู่เหนือความ หลอกลวง มีพระนิพพานเป็นที่สุดพระโพธิสัตว์ คือ ผู้ที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

พระโพธิสตั ว์ คือ ผู้ที่ทรงไว้ซ่ึง มหาเมตตากรุณา ในวิมลเกรียตสิ ูตรได้กล่าวไว้ว่า”โรคของสตั ว์โลกเกิดจากกิเลส โรคของ พระ โพธิสตั ว์เกิดจากมหาเมตตา” พระโพธิสัตวม์ ่งุ รักษาโรคทั้งหลายทั้งปวง ท้ังทางกาย และใจแกส่ รรพสัตว์ เหตุใดเราจึงเรียกพ่อ แม่ว่าเป็นพระโพธิสัตว์ของลูก เมื่อลูกเจ็บป่วย ความเจ็บป่วยของลูกคือความเจ็บป่วยของพ่อแม่ และถ้าพ่อแม่ลูกเจ็บป่วย พร้อมกนั พ่อแมจ่ ะ ไม่รักษาตนเองก่อนที่จะรกั ษาลูก ความเจ็บปว่ ยของพระโพธสิ ัตวเ์ กิดจากตอ้ งการช่วยสตั ว์โลก ต้องการให้ สัตว์โลกได้รับความสุข พระโพธิสัตว์อยู่เหนือความทุกข์ทั้งมวล ที่เป็นทุกข์อยู่ ไม่ใช่ ทุกข์ของตนแต่เป็นทุ กข์ของสัตว์โลก เพราะสัตว์โลกเจบ็ ปว่ ย ตนจึงเจ็บป่วย ในบรรดาธรรม ของพระพุทธเจา้ ทที่ รงสอนแก่ชาวโลก ศาสตร์แห่งการแพทย์ถือว่าเป็น สุดยอด ศาสตร์แห่งการ แพทย์ คือศาสตรท์ ีพ่ ระโพธิสตั ว์ทกุ พระองค์ทรงใชอ้ ยู่ตลอดเวลา ทศบารมี 10 ประการ ทาน ศีล ขันติ วิริยะ สมาธิ ปญั ญา อบุ าย ปณิธาน พละ ฌาน เกดิ ขึ้นพรอ้ มกนั ทันท่ี เมอื่ ไดม้ กี าร ปฏบิ ตั ศิ าสตร์แห่งการแพทย์ ดังนั้นบุคคลที่ มุ่งบำบัดทุกข์ทั้งทางกาย และใจของชาวโลกโดย หวังสิ่งตอบแทน เพียงความสุขของชาวโลกบุคคลนั้นจึงเป็นพระโพธิสัตว์ที่ จริงแท้ พระโพธิสัตวท์ ่ีปฏิบตั ิตนเชน่ น้นั ได้ กด็ ้วยเหน็ แจ้งถึงธรรมชาตขิ องสรรพสง่ิ ท่ีเปน็ ความว่างเปล่า สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการเห็นซึงตามหลักการสี่ประโยคที่เป็นหัวใจของมัธยมิก คือ การที่เรารูจ้ ักพารณาในทรัพย์สนิ เงินทอง ถ้าเราไม่สามารถเห็นถงึ ธรรมชาติแท้ของมันแทนที่เราจะ เป็นผู้ใช้ ทรัพย์สิน เงินทอง เรากลับเป็นผู้ถูกทรัพย์สินใช้ เราต้องตกเป็นทาสของมัน ต้องทนทุกข์ ต้องใช้ความโลภ โกรธ หลง อย่างที่สุดเพื่อปฏิบัติตามคำสั่งของมัน รักษามัน สรรพ สัตว ์และสรรพสิ่ง ประกอบกันขึ้น มาจากขันธ์ 5 รูป และ จิตวิญญาณรูป(ร่างลักษณะ) เวทนา (อารมณ์) สัญญา(ความจำ) สังขาร(ความรู้สึก) วิญญาณ(จิต) กรรม(การกระทำ) ต่างๆ ทั้งหลายทั้งปวงเกิดจากขันธ์ 5 เป็นตัวควบคุม ดังเช่นการได้เห็น ภาพอันสวยสดงดงาม ความ ชอบความต้องการเป็นเจ้าของ ก็บังเกิดขึ้น ต่างกันในขณะที่เห็นภาพที่น่าเกลียดน่ากลัว ความชอบความอยากได้เป็นเจ้าของก็ไม่เกดิ ปรากฏการณ์ท้ัง 2 เกิดจากขนั ธท์ ั้ง 5 เปน็ ตัว กำหนด “ปรัชญาปารามิตา”เป็นมหาศักดาธารณี เป็นมหาวิทยาธารณี เป็นอนุตรธารณี เป็นอสมธารณี สามารถดับสรรพ ทุกข์ธารณีหรือมนตร์หรือคาถา คือ คำศักดิ์สทิ ธ์ิ คำสวด คำสอนของพระพุทธเจ้า ทุกคำถือเป็น คำศักด์ิสิทธิ์ มหาศักดาธารณี คือคำศักดิ์สิทธิ์ทรงฤทธิ์อำนาจในการทำลายอวิชชาทั้งมวล เข้าสู่สภาวะสูงสุด คือพระนิพพาน มหาวิทยาธารณี คือ วิชาการ อันจริงแท้แน่นอน ไม่มี กาลเวลา เพราะทันสมยั อยู่เสมอไม่ว่าวิทยาศาสตรจ์ ะนำไปสู่ดาวอังคารแล้ว วิทยาการนี้ ก็ยังคงเป็น ยานพาหนะสำคัญนำพาเราไปสู่ฝั่งนิพพานตลอดเวลาตลอดกาล ไม่เคยเสื่อม สภาพหรือชำรุดใช้การไม่ได้ อนุตรธารณี คือ ธารณนี ีท้ รงความศักดสิ์ ทิ ธ์ิสูงสุดไม่มีธารณี ใดสูงกวา่ อสมธารณี คอื ไมม่ ธี ารณีใดเทยี บเท่า สจั จะธรรมไม่ผิดพลาด

ศนู ยตา อายตนะ รปู ธรรม ความวา่ งปล่าว ความว่างเปล่า = พุทธะภาวะ เรา คือ พุทธะ พนื้ ฐานของพทุ ธศาสนา ศลี สมาธิ ปญั ญา แผนภาพ 1 : กระบวนการหลกั การสปี่ ระโยคสู่ศนู ยตา ทปี่ รากฎในพระสตู รปรัชญาปารามติ าหฤทยั สตู ร

การมองทฤษฎีการเคล่อื นไหวทางสังคมด้วยส่ือออนไลน์ โดยใชก้ ระบวนทัศน์หลงั สมัยใหม่ เพื่อสร้างการ ทำหนา้ ท่แี บบร่วมมือกัน พระกมลรตั น์ อภิปญฺโญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นักศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนศ์ กึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย Email : [email protected] บทเกรนิ่ นำ การมองทฤษฎีการเคลื่อนไหวทางสังคมด้วยสื่อออนไลน์ โดยใช้กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่ เพื่อสร้างการทำหน้าท่ี แบบร่วมมือกัน เป็นการตีความเนื้อหาใน ทฤษฎีของ เคลย์ เชอร์ก้ี (Clay Shirky) ว่าด้วยเรื่อง ทฤษฎีสื่อสังคมออนไลน์กับ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม โดยใชก้ ระบวนการตคี วามแบบ กระบวนทศั น์สมยั ใหม่ (Modern Paradigm) โดยเมือ่ ไดส้ าระ แหง่ การตคี วามทฤษฎดี ังกล่าวแล้วจึงนำความรู้น้นั มาปรับประยุกต์ใชป้ ระโยนต์ ามเปา้ ประสงคข์ อง กระบวนทศั นห์ ลงั สมัยใหม่ (Post Modern Paradigm) มีดงั น้ี คือ เมือ่ ไมย่ ึดม่นั กแ็ บง่ หนา้ ที่ เม่ือแบ่งหนา้ ท่ี กส็ ง่ เสรมิ กัน เมื่อส่งเสรมิ กนั กไ็ ว้วางใจ และ เมือไวว้ างใจ กร็ ว่ มมือกนั เปน็ ต้น Clay Shirky เกิดปี 1964 (\"Clay Shirky – New York, NY\". PeekYou. 2008-04-27. Retrieved 2011-06-03.) เป็นนักเขียน ท่ปี รึกษา และครูชาวอเมรกิ ันเกยี่ วกับผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกจิ ของเทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตและวารสาร ศาสตร์ ในปี 2017 เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรอง Provost of Educational Technologies of New York University (NYU) หลังจากดำรงตำแหน่ง Chief Information Officer ที่ NYU Shanghai ตั้งแต่ปี 2014 ถึง 2017 นอกจากนี้ เขายังดำรง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ที่สถาบัน Arthur L. Carter Journalism และรองศาสตราจารย์ด้านศิลปะที่ Tisch School of the Arts 'Interactive Telecommunications Program ( \" New Media Expert Clay Shirky to Become Professor at NYU's Carter Journalism Institute, Tisch School of the Arts and Sciences\". Nyu.edu. Retrieved 2011-06-03.) หลักสูตรของเขากล่าวถึงผลกระทบที่สัมพันธ์กนั ของโทโพโลยีของเครือข่ายสังคมและเครือข่ายเทคโนโลยี วิธีที่เครือข่ายของ เรากำหนดวฒั นธรรม (Clay Shirky. \"Shirky: Bio\". shirky.com. Archived from the original on 2 January 2011.) และ ในทางกลับกนั เขาเขยี นและสมั ภาษณ์เกี่ยวกบั อนิ เทอร์เนต็ มาต้ังแตป่ ี 2539 คอลัมนแ์ ละงานเขียนของเขาปรากฏใน Business 2.0, The New York Times, The Wall Street Journal, Harvard Business Review และ Wired Shirky แบ่งเวลาระหวา่ ง การให้คำปรึกษา การสอน และการเขียนเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต แนวทาง ปฏบิ ตั ใิ นการให้คำปรกึ ษาของเขามุ่งเนน้ ไปที่การเพ่ิมขนึ้ ของเทคโนโลยีการกระจายอำนาจ เช่น เพียรท์ ูเพยี ร์ บรกิ ารเว็บ และ เครือข่ายไรส้ ายที่ให้ทางเลอื กแกโ่ ครงสร้างพื้นฐานของไคลเอน็ ต์-เซริ ฟ์ เวอร์แบบมสี ายซงึ่ มลี กั ษณะเฉพาะของเวิลดไ์ วดเ์ ว็บ เขา เป็นสมาชิกของคณะกรรมการที่ปรึกษาของมูลนิธิวิกิมีเดีย (\"Advisory Board\". Wikimedia Foundation Governance Wiki. Retrieved 2019-01-06.) ใน The Long Tail ครสิ แอนเดอรส์ ันเรยี กเชอรก์ วี้ ่า \"นกั คิดทโี่ ดดเด่นเกีย่ วกบั ผลกระทบทาง สังคมและเศรษฐกิจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต\" (Anderson, Chris (2008). The Long Tail. Hyperion. ISBN 978-1-4013- 0966-4.)

ทฤษฎีสือ่ สงั คมออนไลน์กบั ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คม คือ บริบทของส่อื สงั คมออนไลนก์ บั ขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคม (The Political Power of Social Media : Technology, the Public Sphere, and Political Change) เคลย์ เชอร์กี อธิบายได้ว่าสื่อสังคมออนไลน์ อาทิ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์และบล็อกเป็นเครื่องมือสำคัญในการผลักดันให้กลุ่มคนมี พฤติกรรมหรือผลักดันการเคลื่อนไหวบางอย่างได้ เพราะสื่อสังคมออนไลน์มลี ักษณะที่แตกต่างจากสื่ออื่นตรงที่การสื่อสารมี ลกั ษณะเปน็ สองทางและผูร้ ับสารจะสนใจในตวั ผู้ส่งสารและต้องการได้ข้อมลู เก่ยี วกบั ผูส้ ่งสารเพิม่ มากข้ึน นำไปสู่แนวโน้มของ การกระทำหรือการเคลื่อนไหวบางอย่างได้ ดังนั้นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักการเมืองและผู้นำความคิดด้านการเมืองจึง เปน็ สง่ิ จำเปน็ เพราะช่วยทำใหเ้ พ่ิมกลุม่ ผสู้ นบั สนุนความคิด กระตนุ้ การมสี ว่ นรว่ ม และสรา้ งบทสนทนาการพูดคยุ แลกเปล่ียนท่ี ต่อเน่ือง นอกจากนี้การปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ยังทำให้ผู้ที่เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมืองสร้างบริบทความคิดที่มี อิทธิพลต่อคนที่ไม่ได้เป็นนักเคลื่อนไหวให้เห็นด้วย คล้อยตาม และอยากมีส่วนร่วมได้(Shirky Clay. 2011. “The Political Power of Social Media: Technology, the Public Sphere, and Political Change.”, 2550) จากลักษณะของสื่อออนไลน์และการสื่อสารออนไลน์ สิ่งสำคัญคือการปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารสองทาง ความ รวดเรว็ และข้อมลู ทีไ่ หลพรอ้ มกนั จำนวนมากจากทุกทิศทาง ประเดน็ ความหว่ งใยผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ จากการสง่ ข้อมูล ข่าวสาร ข้อความ ความคิดความเห็น ผ่านเครือข่ายสื่อสังคม ที่ทำให้เกิด “ภาพเสมือนจริง” ที่แยกไม่ออกระหว่างความจริงกับความ เท็จ การทผ่ี ู้สง่ สารซงึ่ จะเป็นใครกไ็ ด้ในสังคมนี้ สามารถสง่ สารไปยังมวลชนไดด้ ้วยความรวดเร็วในฉับพลนั ทันที ในขณะที่ผู้รับ สารก็อาจขาดความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งราว หรือประเดน็ ท่ีกล่าวถงึ แล้วเชื่อหรือส่งตอ่ ข้อความนั้นไปยงั บุคคลอ่ืนๆ โดยขาด จติ สำนกึ ความรบั ผดิ ชอบ ก็นบั เป็นอันตรายไม่น้อยไปกว่าโอกาสของผ้คู นทจ่ี ะเข้าถงึ ข้อมูลข่าวสาร หรือทำใหโ้ ฉมหน้าของการ รายงานขา่ วเปล่ียนไป” เมื่อนำทฤษฎีของ เคลย์ เชอร์กี มาตีความด้วยกระบวนทัศน์สมัยใหม่ (Modern Paradigm) การตีความด้วยความ เชอ่ื สรา้ งสวรรคบ์ นดิน ทำใหส้ ่อื สงั คมออนไลน์ ซึ่งเปน็ เคร่ืองมอื สำคัญท่ผี คู้ นสว่ นมากนิยมใชใ้ นปัจจุบันมาสร้างความสงบสุขใน การใช้ชีวิตรวมกันบนโลกอินเทอร์เน็ต ไม่เอาเปรียบทำร้ายซึ่งกันและกัน มีการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน เพื่อสร้างค่านิยมที่ดีใน การทำงานรว่ มกันในสงั คมปจั จบุ ันได้ ดงั นี้ คอื 1) ดา้ นของการใชช้ ีวติ ในทำงานรว่ มกันนั้นเมื่อใช้โซเชยี ลก็ให้เกียรติเพื่อนร่วมแพลทฟร์อมไมเ่ หยยี ดในเช้ือชาติ หรือ สีผิวจนละเลยความเป็นมนุษย์ที่ทุกคนมีเหมือนกัน และเคารพความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ซึ่งจะเห็นได้จากการแสดงความ คดิ เหน็ บนโลกของส่อื ออนไลนน์ ้นั จะมกี ารแสดงความคดิ เห็นที่แตกต่างในเชิงของเหตผุ ลมากข้ึน ลดการแสดงความคิดเห็นเชิง การด่าทอคนที่เห็นตา่ ง การแสดงออกทางพฤติกรรมการไม่ยึดถือในความคิดเห็นขงตนเป็นใหญ่ รวมถึงการลดตัวตนไม่ดา่ ทอ รวมถึงความมีเหตุผลบนโลกออนไลน์นั้น เป็นการสร้างค่านิยมที่ดีในการไม่ยึดถือในตัวตนในความคิดเห็น ทัศนคติ และชาติ พนั ธ์ เพื่อการอยู่ร่วมกันท่ีเปน็ สุข์ทั่วทั้งโลกสังคมออนไลน์ดง่ั สวรรค์ รวมถึงการสรา้ งคา่ นิยมทำงานที่มีประสิทธิภาพร่วมกันใน โลกแหง่ สังคมของมนษุ ย์อีกดว้ ย 2) ด้านการเผยแพร่ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในโลกของสื่อออนไลน์ เพื่อการสร้างสมดุลในการวางแผนหน้าที่ในส่วน งานตามความถนัดของตน รวมไปถึงการแบ่งหน้าที่ในการผลิตข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เป็นความรู้ เป็นประโยชน์ในบางกลุ่มที่ ทำหน้าที่รวมรวมข่าวสารในกลุม หรือเพจนั้นๆก็มีการแบง่ หนา้ ท่ีกันอย่างเป็นระบบ ทำงานตามหน้าที่ท่ีในแตล่ ะคนถนัดดว้ ย ความเชอ่ื ใจกนั อย่างไม่เก่ียงงาน มผี ลทใหข้ ้อมูลข่าวสารตามเพจ หรอื เวปต่างๆ มีการทำงานอยา่ งสามคั คีรวมมือกันทำให้งาน เหล่านนั้นออกมาไดอ้ ย่างสมบูรณ์ และรวดเรว็ แมก้ ลุ่มคนที่แบ่งหนา้ ทีก่ ันทำงานทางออนไลน์น้ันไมไ่ ด้เจอหนา้ กันตลอดเวลาก็

ตาม เหล่านี้เปน็ แบบอย่างทด่ี ที ี่แสดงถงึ การทำงานแบง่ หน้าการทำงานทกี่ นั อยา่ งเตม็ ใจ ทุกคนรหู้ นา้ ท่ที ต่ี นได้รับผิดชอบ และ ทำงานกันอย่าเป็นระบบ ผลสุดท้ายนั้นเป็นการสร้างสวรรค์แห่งความสุขในการทำหน้าที่ของตนในโลกของสื่อออนไลน์ ด้วย เหตุนีก้ ารทำงานอย่างรู้หนา้ ที่รว่ มมอื กันในโลกออนไลน์จึงเป็นตัวอยา่ งที่ดีสำหรบั เป็นตัวขับเคลื่อนทัศนะคติที่ดใี นการทำงาน แบบร่วมมอื กนั ในสังคมแหง่ ความจรงิ 3) ด้านการส่งเสริมกนั ในดา้ นต่าง ๆ เพื่อสร้างความสุขย่ิงขึ้นไปในโลกของสังคมออนไลน์ท่ีเปีย่ มไปด้วยความเมตตา กรุณาต่อกัน และการทำหน้าที่ที่เสมอภาคในสังคมของสื่อออนไลน์นั้นเป็นดั่งสรวงสวรรค์ซึ่งจะไปมีใครในโลกออนไลน์ที่จะ คอยจอ้ งแต่จะเอาเปรียบกนั ท้ังนก้ี ารสง่ เสรมิ กนั ในสงั คมแห่งการทำงานในบริบทโลกของสื่อออนไลนน์ ้นั ขนึ้ อยู่กบั ความเมตตา กรุณาต่อกัน ทำให้การทำหน้าที่ที่ได้รับการส่งเสริมในโลกออนไลน์ได้รับการยอมรับจากผู้คนในโลกออนไลน์ และทำให้การ ทำงานรว่ มกนั สง่ เสรมิ กันในโลกออนไลน์น้ันมีการผลักดนั การเคล่ือนไหวในการให้ความไวว้ างใจมากขน้ึ ตามไปดว้ ย ด้วยเหตุน้ี จึงเป็นแบบอย่างที่ดีต่อการทำงานแบบส่งเสริมร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในสังคมแห่งความจริงนั้นผู้ที่ทำงาน ร่วมกันในสงั คมหรอื องคก์ รจะต้องมีการเปิดเผยตัวตน และแสดงความจริงใจตอ่ กนั เพ่ือให้การทำงานรว่ มกันน้ันเกดิ การสง่ เสรมิ กนั และกนั และมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด 4) ด้านการเชื่อใจ และไว้ใจโลกแหง่ สื่อออนไลน์นั้นมคี วามสำคญั มากถา้ เราสามารถสรา้ งฐานของงการเช่ือใจกันได้ก็ ไม่ตอ้ งคอยกงั วลการถกู ล่อลวง หรือการชอ่ โกงขึ้นเปน็ เฉกเช่นสวรรค์บนดนิ ซงึ่ การไวใ้ จนน้ั มีผลเกี่ยวเนอื่ งกนั อย่างแยกจากกัน ไม่ไดใ้ นการทำงานรว่ มกนั ในโลกของส่อื อออนไลน์ โดยความเชือ่ ใจนนั้ ขึ้นอย่กู บั ความหนา้ เช่ือถือของกลุ่มหรือตัวองค์กรเองว่า มีความโปรงใสที่เปิดเผยต่อสาธารณะชนนั้นมากเท่าไหร่ ยิ่งให้ใจโดยการเปิดเผยมากเท่าไหร่ผู้คนในโลกออนไลน์ย่อมเชื่อใจ มากเท่านัน้ ทำให้เป็นการผลกั ดันใหก้ ลุ่มคนมีพฤตกิ รรมการเปิดเผยซึ่งแสดงถงึ ความบริสุทธิใจต่อสังคมสือ่ ออนไลนท์ ีส่ ่งเสรมิ ให้ผู้คนในโลกออนไลน์นนั้นยอมรับและให้การส่งเสริมกนั มากกว่าองค์กรทีไ่ มม่ คี วามน่าเชื่อถือ เหตุเพราะสื่อสังคมออนไลน์มี ลักษณะที่แตกต่างจากสื่ออื่นตรงที่การส่ือสารมีลักษณะเป็นสองทาง และผู้รบั สารจะสนใจในตัวผู้ส่งสารดังนั้นทัง้ ตัวผูร้ ับสาร กับผู้ส่งสาร และจากนั้นต้องการได้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ส่งสารเพิ่มมากขึ้นจึงเป็นเหตุผลว่าทำไมถึงควรเปิดเผยตัวตนรวมถึง กระบวนการทำงานของคงค์กรไม่ว่าจะเป็นบุคคล เพจ เวปไซต์ต่อหน้าสาธารณะชนเพื่อสร้างความมั่นใจ และความเชื่อใจ นำไปสแู่ นวโนม้ ของการไวใ้ จกนั ในการทำงานร่วมกนั มากข้นึ ทงั้ ในโลกส่อื ออนไลนแ์ ละโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ ในสงั คมของมนุษย์ 5) ด้านความสามัคคีของชมชนชาวเน็ต หรือพวกเรามักเรียกอย่างเป็นทางการว่า เหล่าสังคมผู้ใช้สื่อออนไลน์ การ ร่วมมือกันนั้น ไม่ว่าจะเป็นการทงานร่วมกัน หรือขจัดปัญหาความไม่โปร่งใสของชุมชนออนไลน์ ก็ล้วนแล้วแต่ต้องการการ ร่วมมือสามัคคีกันในทุกคนทุกภาคส่วน ดังนั้นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักการเมืองและผู้นำความคิดด้านการเมืองที่มี ความคิดที่ผสารการร่วมมือกัน มีจิตใจดี มุ่งเน้นในการทสิ่งที่ถูกต้อง จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพราะช่วยทำให้เพิ่มกลุ่มผู้สนับสนุน ความคิด กระตุ้นการมสี ่วนร่วม และสร้างบทสนทนาการพูดคุยแลกเปลี่ยนที่ต่อเนื่อง นอกจากนี้การปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคม ออนไลนย์ ังทำให้ผู้ท่ีเป็นนักเคล่อื นไหวทางการเมืองสรา้ งบริบทความคิดทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อคนที่ไมไ่ ด้เป็นนักเคลื่อนไหวให้เห็นด้วย คลอ้ ยตาม และอยากมสี ว่ นรว่ มได้ในโลกของส่อื ออนไลน์ และโลกสงั คมแห่งความเปน็ จรงิ หลังจากการนำทฤษฎขี อง เคลย์ เชอรก์ ี มาตคี วามด้วยกระบวนทศั นส์ มยั ใหม่ (Modern Paradigm) โดยใช้รูปแบบ การตีความด้วยความเชื่อสร้างสวรรค์บนดิน (Interpretation with faith creates heaven on earth) จึงสกัดได้สาระแห่ง สวรรค์บนโลกของส่ือออนไลน์และโลกแหง่ ความจรงิ 5 ดา้ น ดังทก่ี ลา่ วมาแลว้ จากนนั้ จำนำสาระที่สกดั จากการตีความมาใชใ้ น การประยุกต์เข้าจุดประสงค์สูงสุดแหง่ Post Modern Paradigm ได้เป็นกระบวนการไปโดนลำดับ คือ 1)ไม่ยึดมั่น ให้เกียรติ

ในความเปน็ มนษุ ยไ์ ม่เก่ยี งชาตพิ ันธ์ เพศ และเคารพความเหน็ ต่างท่ีแสดงออกมาในสังคม เมื่อใหเ้ กียรตกิ ันในสังคมแล้ว ต่อมา เม่ือสังคมเคารพใหเ้ กยี รติซงึ่ กนั ทำให้เกิดการไมเ่ กี่ยงกนั ในหนา้ ทท่ี ่ตี นทำอยเู่ ปน็ 2)การแบง่ หน้าที่ ทำงานตามความถนดั และรู้ หนา้ ที่ รวมถึงทำหนา้ ท่ีของตนอย่างสดความสามารถทำใหเ้ กดิ 3)สง่ เสริมกัน เปดิ เผยตัวตน ไม่คดิ ในส่ิงที่ไม่ดีหรือทำร้ายกัน มี เมตตา เพื่อหมายเอาการส่งเสริ่งเกื่อกูลกันในประโยยชน์ของการใช้ชีวิตที่เป็นสุขต่อกันทั่วทุกตัวคนทั้งสังคม เมื่อทุกคนมี เมตตา ปรารถนาดีต่อกันทำให้เกิด 4)ความไว้วางใจซึ่งกันแล้ะกัน เพราะทุกคนมตตาต่อกัน ไม่ทำร้ายกัน จึงเกิดความซ่อื สัตว์ ภายในจติ ใจ ทำใหเ้ กิดสรา้ งความนา่ เช่ือถอื ตอ่ กนั และกันเหล่านท้ี ำใหเ้ กดิ 5)การรว่ มมือ เปน็ การสร้างทศั นะท่ดี ีต่อสงั คมชมุ ชน ส่ือออนไลน์และสังคมโลกแหง่ ความจริง กระตุน้ การมีส่วนรว่ ม และสร้างบทสนทนาการพูดคยุ แลกเปล่ยี นที่ตอ่ เนือ่ งจากทุกคน อกี ทงั้ ทำใหเ้ กดิ ความไม่ยดึ มน่ั ในตัวตน วนกนั เปน็ วงกลมทม่ี ความสมั พันธ์ต่อกันและกนั ของทั้ง 5 จุดประสงคส์ งู สดุ Honor User The Political Power of Social Media แผนภาพ 1 : การมองทฤษฎีการเคลื่อนไหวทางสงั คมดว้ ยส่ือออนไลน์ โดยใช้กระบวนทัศนห์ ลงั สมยั ใหม่ เพอ่ื การทำหนา้ ทแ่ี บบรว่ มมอื กนั

มมุ มองความรกั อันยิ่งใหญ่ของผรู้ ยู้ คุ กลาง เพอ่ื ชวี ติ ทสี่ งบสขุ พระกมลรตั น์ อภิปญฺโญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นักศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าพระพุทธศาสนศ์ ึกษา มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย Email : [email protected] บทเกร่นิ นำ มุมมองความรักอันยิ่งใหญ่ของผู้รู้ยุคกลาง เพื่อชีวิตที่สงบสุข เป็นการตีความเนื้อหาใน แนวความคิดของ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare) วา่ ดว้ ยเรือ่ ง ความรกั ตามบริบทของสงั คมในยุคน้นั ที่ปรากฏผา่ นหนงั สือ เร่อื ง All's Well That Ends Well. โดยใช้กระบวนการตีความแบบ กระบวนทัศน์หลงั สมัยใหม่ (Post Modern Paradigm) ในมุมมองของยุค กลาง : การตีความตามคัมภีร์ เพื่อชีวิตที่สงบสุข โดยเมื่อได้สาระแห่งการตีความทฤษฎีดังกล่าวแล้วจึงนำความรู้นั้นมาปรับ ประยุกต์ใช้ประโยน์ตามเป้าประสงค์ของ กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่ (Post Modern Paradigm) มีดังนี้ คือ เมื่อไม่ยึดมั่น ก็ แบง่ หนา้ ที่ เมอ่ื แบง่ หนา้ ท่ี กส็ ง่ เสริมกนั เมื่อสง่ เสริมกัน กไ็ ว้วางใจ และเมอื ไว้วางใจ กร็ ่วมมอื กนั เป็นต้น วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวี และนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของวงการวรรณกรรมอังกฤษและของโลก(สตี เฟน กรนี แบลทท์ (2005). Will in the World: How Shakespeare Became Shakespeare.) มักเรยี กขานกนั ว่าเขาเปน็ กวี แห่งชาติของอังกฤษ และ \"Bard of Avon\" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบท ละคร 38 เรอื่ ง กวนี พิ นธแ์ บบซอนเนต็ 154 เรอ่ื ง กวีนพิ นธอ์ ยา่ งยาว 2ลา้ น เร่อื ง และบทกวีแบบอน่ื ๆ อีกหลายชุด บทละคร ของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครท้ังหมด(ลีออน แฮโรลด์ เครก (2003). Of Philosophers and Kings: Political Philosophy in Shakespeare's \"Macbeth\" and \"King Lear\".) เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมอื งสแตรทฟอรด์ ริมแม่น้ำเอวอน เมอ่ื อายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ มบี ุตรดว้ ยกนั 3 คน คือ ซซู านน่า และฝาแฝด แฮมเนต็ กบั จดู ิธ ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1585- 1592 เขาประสบความสำเร็จในการเปน็ นักแสดงในกรุง ลอนดอนรวมถึงการเป็นนักเขียน ได้ร่วมเป็นหุ้นส่วนในคณะละครลอร์ดเชมเบอร์เลน (Lord Chamberlain's Men) ซึ่งใน ภายหลังมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ King's Men เชกสเปียร์เกษียณตัวเองกลับไปยังสแตรทฟอร์ดในราวปี ค.ศ. 1613 และ เสียชวี ิตในอีกสามปีต่อมา ไม่ค่อยมีบันทึกใดเก่ียวกับชีวิตส่วนตวั ของเชกสเปียร์มากนัก จึงมีทฤษฎีมากมายที่คาดกันไปต่าง ๆ นานา เกี่ยวกับชวี ิตส่วนตัว ความเชือ่ ทางศาสนา และแรงบันดาลใจในงานเขียนของเขา(เจมส์ ชาปิโร (2005). 1599: A Year in the Life of William Shakespeare.) ผลงานที่มีชือ่ เสียงส่วนใหญ่ของเชกสเปียร์ประพนั ธ์ขนึ้ ในชว่ งปี ค.ศ. 1590 ถึง 1613 ในยุคแรก ๆ บทละครของเขาจะเป็นแนวชวนหัวและแนวอิงประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแนวทางบทละครที่เป็นที่นิยมอย่างมาก ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาเขาเขียนบทละครแนวโศกนาฏกรรมหลายเรื่อง รวมถึงเรื่อง แฮมเลต็ King Lear และ แม็คเบธ ซึ่งถือว่าเป็นบทละครตัวอย่างของวรรณกรรมอังกฤษ ในช่วงปลายของการทำงาน งานเขียนของเขาจะเป็นแนวสุข- โศกนาฏกรรม (tragicomedies) หรือแนวโรมานซ์ และยังร่วมมือกับนักเขียนบทละครคนอื่น ๆ อีกมาก บทละครของเขา ตีพมิ พ์เผยแพรใ่ นหลายรูปแบบโดยมีรายละเอยี ดและเนื้อหาตา่ ง ๆ กันตลอดช่วงทเ่ี ขามชี วี ิตอยู่ ในปี ค.ศ. 1623 เพอ่ื นร่วมงาน

สองคนในคณะละครของเขาไดต้ ีพิมพห์ นงั สือ \"First Folio\" เป็นการรวบรวมงานเขียนของเขาขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งได้บรรจุบท ละครท่ปี ัจจบุ ันเชื่อวา่ เปน็ งานเขยี นของเชกสเปยี รเ์ อาไว้ทง้ั หมด แนวความคิดของ วิลเลยี ม เชกสเปยี ร์ (William Shakespeare) ว่าดว้ ยเร่ือง ความรักตามบริบทของสงั คมในยุคนั้น ท่ปี รากฏผา่ นหนังสอื เรือ่ ง All's Well That Ends Well. โดยมีขอ้ ความสำคัญท่ีวา่ “Love all, trust a few, Do wrong to none: be able for thine enemy Rather in power than use; and keep thy friend Under thy own life's key: be check'd for silence, But never tax'd for speech.” (William Shakespeare, All's Well That Ends Well, 1604) จากแนวคิดทว่ี า่ “จงรกั ทุกผ้ทู ุกคน เชอ่ื คนเพยี งบางคน และอย่าได้ทำผิดพลาดกบั ใครสักคน…” จึงสามารถกล่าวได้ ว่าเป็นแนวความคิดที่มีลักษณะอิงได้สองนัย คือ 1. ตามปรัชญาของ Aristotle : รักแท้สามารถเข้าใจได้โดยใช้เหตุผล อริสโตเติลเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคม เราไม่สามารถอยู่ตัวคนเดียวในสังคม เพราะฉะนั้นแล้วมนุษย์จึงต้องอยู่ร่วมกันเพื่อ ช่วยเหลือกันและกัน และความรักเกิดจากการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ของมนุษย์ด้วยกันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้มนุษย์เอา เปรียบจากความรัก มนุษย์ทุกคนตอ้ งใช้เหตุผลและคณุ ธรรมในการดำรงชีวิต และ 2. ตามศาสนา Christianity : ความรักคอื ความปรารถนาดี ความเมตตาและการให้อภัย ความรกั ในศาสนาคริสตเ์ ทียบได้กับคำว่า Agape ในปรัชญากรีก และความรกั ของศาสนาคริสต์คือหัวใจสำคัญของทุกคำสอนในศาสนาคริสต์ โดยแบ่งความรักออกเป็น 2 ระดับคือ มนุษย์กับมนุษย์ (ความหวังดี ความเมตา การให้อภัย) และมนุษย์กับพระเจ้า (ความศรัทธา) แต่ใจความสำคญั ของความรักในศาสนาคริสต์คือ ความปรารถนาดที ่เี รามใี หแ้ ก่ผอู้ ่นื นน้ั เอง(ยมู น้อยในเมืองใหญ่, Philosophical Love นกั ปรัชญาพดู ถึงความรกั วา่ ยังไงกันบ้าง นะ, 2562) เมื่อนำแนวความคิดของ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare) มาตีความด้วยกระบวนการตีความแบบ กระบวนทัศน์หลังสมยั ใหม่ (Post Modern Paradigm) ในมมุ มองของยุคกลาง : การตีความตามคัมภรี ์ เพอ่ื ชวี ติ ท่ีสงบสุข ทำ ให้ความรักมีลักษณะอิงตามหลักของศาสนา โดยคริสต์ศาสนิกชนเข้าใจว่าความรักมาจากพระเจ้า ความรักของชายและหญิง (ซึ่งในภาษากรกี เรียกว่า อีรอส) และความรักผู้อืน่ อย่างไม่เห็นแกต่ ัว (อากาเป) มักขัดแย้งกัน แต่ท้ายที่สุดแล้วเป็นสิง่ เดียวกัน ในทางศาสนาคริสต์มีการใช้คำภาษากรีกว่า \"ความรัก\" หลายคำบ่อยครั้ง(Pope Benedict XVI. \"papal encyclical, Deus Caritas Est\") แต่สามารถสรปุ คำวา่ ความรกั ในทนี่ ้ีเป็น 2 หลกั ใหญ่ คอื 1. อากาเป : ในพันธสัญญาใหม่ อากาเปเป็นความรกั แบบเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ไม่เห็นแก่ตัว เห็นแก่ผูอ้ ื่นและไม่มีเงื่อนไข เปน็ ความรกั แบบบดิ ามารดามีตอ่ บตุ ร (parental love) และถกู มองวา่ ไดก้ อ่ ให้เกดิ ความดีในโลก ความรักแบบดงั กล่าวถกู มอง วา่ เป็นความรักทพ่ี ระเจา้ มตี อ่ มนุษย์ และถูกมองว่าเปน็ ความรกั ซึ่งครสิ ต์ศาสนกิ ชนปรารถนาให้มรี ะหว่างกนั

2. ฟิลิโอ (Phileo) : พบในพันธสัญญาใหมเ่ ช่นกนั เป็นความรักที่มนุษย์ตอบสนองต่อบางส่ิงซึ่งมนษุ ย์เห็นวา่ น่ายนิ ดี หรือรูจ้ กั กนั ว่า \"รกั ฉันพีน่ อ้ ง\" (brotherly love) คริสต์ศาสนชิกชนเชื่อว่า รักพระเจ้าด้วยสุดจิตสุดใจและสุดกำลัง และรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง เป็นสองสิ่งท่ี สำคญั ทส่ี ุดในชวี ติ ซึ่งพระเยซูครสิ ตต์ รสั ว่า เป็นพระบญั ญัติขอ้ ที่สำคัญท่สี ุดในคัมภีรฮ์ บี รขู องชาวยวิ เปาโลอัครทูตยกย่องว่าความรักเป็นคุณธรรมสำคัญเหนืออื่นใด โดยอธิบายความรักไว้ในพระธรรม 1 โครินธ์ อันมี ชือ่ เสยี ง วา่ \"ความรักนั้นกอ็ ดทนนาน และกระทำคุณให้ ความรักนั้นไมอ่ จิ ฉา ไม่อวดตัว ไมห่ ยงิ่ ผยอง ไมห่ ยาบคาย ไม่คิดเห็น แก่ตนเองฝ่ายเดียว ไม่ฉุนเฉียว ไม่ช่างจดจำความผิด ไม่ชื่นชอบยินดีเมื่อมีการประพฤติผิด แต่ชื่นชมยินดีเมื่อมีการประพฤติ ชอบ ความรักทนได้ทกุ อย่างแม้ความผิดของคนอ่ืน และเชื่อในส่วนดีของเขาอยู่เสมอ และมีความหวังอยู่เสมอ และทนต่อทกุ อย่าง\" ยอห์นอัครทูตเขียนว่า \"เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนท่ี วางใจในพระบุตรนน้ั จะไม่พินาศ แตม่ ชี วี ติ นิรนั ดร์ เพราะว่าพระเจา้ ทรงให้พระบตุ รเข้ามาในโลก มใิ ช่เพอ่ื พิพากษาลงโทษโลก แต่เพ่อื ชว่ ยกโู้ ลกใหร้ อดโดยพระบุตรน้นั \" (คัมภรี ไ์ บเบิล, ยอหน์ 3:16-17) ยอห์นยงั เขยี นอกี วา่ \"ท่านที่รักทัง้ หลาย ขอให้เรารัก ซงึ่ กนั และกัน เพราะวา่ ความรักมาจากพระเจ้า และทกุ คนทีร่ กั ก็บังเกิดมาจากพระเจ้า และรู้จกั พระเจา้ ผู้ทีไ่ ม่รักก็ไม่รู้จักพระ เจา้ เพราะว่าพระเจา้ ทรงเป็นความรกั \" (คมั ภีร์ไบเบลิ , 1 ยอห์น 4:7-8) นักบุญออกสั ตินกลา่ วว่า มนุษยจ์ ะต้องสามารถแยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งความรักกับราคะได้ ราคะนั้น นักบญุ ออกสั ตินบอกวา่ เปน็ ความหมกม่นุ เกินไป แตก่ ารรักและการถกู รักนั้นเปน็ ส่ิงท่เี ขาแสวงหามาตลอดทั้งชีวิต นักบุญออกัสตินบ อกวา่ ผเู้ ดียวทสี่ ามารถรกั มนษุ ยอ์ ยา่ งแท้จริงและเต็มเปี่ยมนน้ั คือพระเจ้า เพราะความรักของมนุษยด์ ว้ ยกันเองน้ันยังมีช่องว่าง ข้อบกพร่อง อาทิ \"ความอิจฉา ความสงสัย ความกลัว ความโกรธ และการช่วงชิง\" นักบุญออกัสตินบอกอกี วา่ การรักพระเจ้า น้ันคอื \"การบรรลสุ ันติซ่ึงเปน็ ของคณุ \" (คำสารภาพของนกั บญุ ออกัสติน. ค.ศ.400) นักเทววิทยาศริสต์ศาสนิกชนนั้นมองว่าพระเจ้าเป็นท่ีมาของความรัก ซึ่งสะท้อนออกมาในมุนษย์และความสัมพันธ์ ความรักของพวกเขาเอง นักเทววิทยาคริสต์ศาสนิกชนผู้มีอิทธิพล ซี. เอส. ลิวอิส เขียนหนังสือชื่อ The Four Loves สมเดจ็ พระสันตะปาปาเบเนดกิ ต์ที่ 16 เขียนสารสันตปาปาว่าด้วย \"พระเจ้าเป็นความรัก\" พระองค์ตรัสว่า มนุษย์ สร้างขึ้นตามพระ ฉายาของพระเจ้า ผทู้ รงเปน็ ความรัก สามารถปฏิบตั คิ วามรกั ได้ โดยมอบถวายตนเองแด่พระเจา้ และคนอ่นื (อากาเป) และโดย การรับและประสบความรักของพระเจ้าในการใคร่ครวญ (อีรอส) ชีวิตนี้เป็นความรัก และตามที่พระองค์ว่านั้น เป็นชีวิ ตของ นักบุญอย่างแม่ชีเทเรซา และพระแม่มารีย์ และเป็นทศิ ทางทีศ่ ริสต์ศาสนชิกชนยึดถือเมื่อพวกเขาเช่ือว่าพระเจ้ารักตน(Pope Benedict XVI. \"papal encyclical, Deus Caritas Est\") ในศาสนาครสิ ต์ นยิ ามความรกั ในทางปฏิบัตแิ ล้ว สามารถสรปุ ไดด้ ที สี่ ดุ โดยนกั บุญโทมัส อควนี าส ผนู้ ยิ ามความรักไว้ วา่ เป็น \"การหวงั ดตี อ่ คนอื่น\" หรอื ปรารถนาให้ผู้อืน่ ประสบความสำเรจ็ ซ่งึ เปน็ คำอธบิ ายของความตอ้ งการของคริสต์ศาสนกิ ชน ที่จะรกั ผ้อู ่ืน รวมทง้ั ศัตรขู องตนดว้ ย ตามคำอธิบายของโทมัส อควนี าส ความรักแบบครสิ ต์ศาสนกิ ชนมาจากความตอ้ งการเห็น ผูอ้ ืน่ ประสบความสำเร็จในชวี ติ คือ การเป็นคนดี(\"St. Thomas Aquinas, STh I-II, 26, 4, corp. art\".)

สรุปได้ว่า ความรัก กระบวนทัศน์ยุคกลาง (Mediaeval Paradigm) : การตีความตามผู้รู้ มีสองอย่างคือ 1)ความรกั แบบเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่เห็นแก่ตัว เห็นแก่ผู้อื่นและไม่มีเงื่อนไข และ 2)ความรักที่มนุษย์ตอบสนองต่อบางสิ่งซึ่งมนุษย์เห็นว่า น่ายนิ ดี เมื่อได้สาระแห่งการตีความทฤษฎีดังกล่าวแล้วจึงนำความรู้นั้นมาปรับประยุกต์ใช้ประโยน์ตามเป้าประสงค์ของ กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่ (Post Modern Paradigm) มีดังนี้ คือ เมื่อมีความรักให้แก่เพื่อนมนุษยโ์ ดยไม่แบง่ แยกมิตร หรอื ศัตรู ทำให้ไม่ยึดมั่นแบง่ ฝักฝ่าย ก็แบ่งหน้าการทำงานร่วมกันอย่างรักใคร เมื่อแบ่งหน้าที่ ก็ส่งเสริมกันดว้ ยความเมตตาตอ่ กัน เมอื่ สง่ เสรมิ กนั กไ็ ว้วางใจ และเมอื ไวว้ างใจ กร็ ่วมมอื กัน Love of Shakespeare แผนภาพ 1 มุมมองความรักอันย่ิงใหญข่ องผู้ร้ยู ุคกลาง เพ่อื ชวี ติ ทีส่ งบสุข

แนวทางสมาธแิ บบธรรมกาย เพอ่ื เขา้ สู่อายตนะนพิ พาน พระกมลรตั น์ อภิปญโฺ ญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวชิ าพระพุทธศาสนศ์ กึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย Email : [email protected] บทเกริน่ นำ แนวทางสมาธิแบบธรรมกาย เพื่อเข้าสู่อายตนะนิพพาน เป็นการตีความวิธีทำสมาธิตามแนวทางของธรรมกาย ใช้ แนวกระบวนทัศน์ 4 มิติ (4 Deep Dimensions) โดยวิธีทำสมาธิตามแนวทางของธรรมกาย หรือเรียกอีกย่างว่า วิชชา ธรรมกาย เป็นวิธีเจริญกรรมฐานที่พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ค้นพบในปี พ.ศ.2459(วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม, วิชชาธรรมกาย, 2560) ต่อมาจึงแพร่หลายในประเทศไทยและขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้ วย (McDaniel, J.T., \"Buddhists in Modern Southeast Asia\", 2010) ใช้คำบริกรรมว่า \"สัมมาอะระหัง\" ขณะเจริญกรรมฐาน จึงเรียกสำนักกรรมฐานสายนี้ว่าสายบริกรรม สัมมา–อรหัง ถือเป็นหนึ่งในห้าสายปฏิบัติตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตรที่ได้รบั การรับรองจากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, เกณฑ์ มาตรฐานสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดดีเด่น, 2560) ด้วยเหตุนี้จึงไดแ้ สดงวิธีตีความวิธีทำสมาธิตามแนวทางของธรรมกาย แบบ 4 มิตเิ ชิงลึกไว้เป็น เพ่อื เขา้ สู่อายตนะนิพพาน ดังนี้ ตีความตามปรากฏการณ์ (Body) การฝึกสมาธิเพื่อการเข้าถึงพระธรรมกายนี้ เป็นรูปแบบของการฝึกสมาธิใน พระพุทธศาสนาที่ได้สูญหายไปเมื่อ 500 ปีหลังพุทธปรินิพพาน(วิชัย เพียรภักดีสกุล, ธรรมกาย, 2540) ซึ่งพระมงคลเทพมุนี หลวงพ่อวดั ปากน้ำ(สด จนทฺ สโร) ไดค้ ้นพบดว้ ยการน่งั สมาธิในปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์ (บน) บางคเู วียง แล้วท่านก็ได้ศึกษา จากการปฏิบัติอย่างเชี่ยวชาญจนพบว่า ในกลางกายของมนุษย์ทุกคนมีพระรัตนตรัยอยู่ภายใน คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรัตนะ พทุ ธรตั นะ ก็คือ ธรรมกาย หรอื กายทเ่ี ป็นผูร้ ู้ ผตู้ ่ืน ผ้เู บกิ บานแลว้ ท่มี อี ยู่ภายในตัวมนุษย์ทุกคน ซ่ึงมหี ลกั ฐานท่ี เปน็ คำสอนปรากฏในพระไตรปิฎก ทง้ั ฉบบั ของเถรวาท มหายาน วัชรยาน เพยี งแตใ่ นพระไตรปฎิ กไม่ไดก้ ลา่ วไว้อย่างละเอียด ว่า ธรรมกายมีลักษณะเป็นอย่างไร จนกระทั่งหลวงปู่วัดปากน้ำท่านได้เข้าถึงแล้วกล่าวว่า ธรรมกายมีลักษณะคล้าย ๆ กับ พระพุทธรูปหรือพระพุทธปฏิมากรที่จำลองออกมา แต่งดงามกว่า เป็นพระแก้วใสบริสุทธิ์ มีเกตุดอกบัวตูม ประกอบด้วย ลักษณะมหาบุรษุ ครบถ้วนทุกประการ การจะรู้เร่อื งราวเกย่ี วกบั พระธรรมกายท่มี ีอยู่ภายใน จะร้ไู ด้ตอ่ เมื่อเขา้ ถึงแล้วก็ไปร้ไู ปเหน็ ด้วยวิธีการวางใจมาหยุด นง่ิ ทีศ่ นู ยก์ ลางกายฐานที่ 7 อันเปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของการเดนิ ทางสายกลางทจี่ ะนำไปส่อู ายตนนพิ พาน วิธีการที่จะทำให้ใจหยดุ นิ่งตรงฐานท่ี 7 มีหลายวธิ ี แต่ย่อลงมาเหลือเพียงแค่ 40 วิธี ที่มีปรากฏในคมั ภีร์วิสุทธมิ รรค จะเลือกวิธีไหนก็ได้ ที่จะฝกึ ใจให้หยดุ นิง่ เช่น เราจะเริ่มต้นจากการพิจารณาซากศพ (อสุภะ)หรือกำหนดลมหายใจเข้าภาวนา “ พุท” หายใจออกภาวนา”โธ” อยา่ งทเี่ รยี กว่า อานาปานสติ หรอื ทำใจนิง่ ๆเฉยๆ ไม่คดิ อะไรก็ได้ หรือบางคนระลกึ ถึงศลี ที่ตน รักษาได้บริสุทธิ์บริบรู ณ์ ไม่ว่าจะใช้วิธีใดก็ตาม เมื่อปฎิบัติไปเรื่อย ๆ พอใจสบาย ใจหยุดถูกสว่ นเข้า ก็หล่นวูบเข้าไปสู่ภายใน พบดวงธรรมภายใน ถ้าดำเนินจติ ไปเรือ่ ยๆ ก็จะเข้าถึงพระรัตนตรยั เช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้นวิธีท่ีจะเข้าถึงพระรัตนตรัยน้นั มี

หลายวิธี แต่ทุกวิธีมีอารมณ์เดียว คือต้องมีอารมณ์ดี อารมณ์สบาย แล้วก็ต้องหยุดนิ่ง ใจที่ปกติชอบแวบไปแวบมาใหก้ ลับมา หยุดนิง่ อยภู่ ายใน พอหยุดถกู ส่วนกจ็ ะเข้าถึงพระธรรมกายในท่ีสดุ ตีความตามความคิด (Mind) สมาธิแบบธรรมกาย คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์ สามารถสรา้ งข้ึนได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏบิ ัติ เพื่อการดำรงชวี ิตทกุ วนั อย่างเป็นสขุ ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรือ่ งไม่เหลอื วิสยั ทุกคนสามารถปฏิบัติได้งา่ ยๆ ดังวิธีปฏิบัติทีพ่ ระ เดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปูว่ ดั ปากนำ้ ภาษเี จริญ(วดั หลวงพอ่ สดธรรมกายาราม, วิธีเจริญสมถภาวนา ถึงธรรมกาย, 2560) ได้เมตตาสัง่ สอนไว้ดังนี้ 1.กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตวั เตรียมใจให้นุ่มนวลไว้ เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศลี 5 หรอื ศีล 8 เพือ่ ยำ้ ความมั่นคงในคณุ ธรรมของตนเอง2.คกุ เขา่ หรือนั่งพับเพยี บสบายๆ ระลึกถึงความดี ท่ีได้ กระทำแล้ว ในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงาม ความดีล้วนๆ 3.นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ของมือขา้ งขวา จรดนิ้วหัวแมม่ ือข้างซา้ ย นั่งให้อยู่ใน ท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสบายคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบ กลา้ มเนื้อตาหรอื ขมวดคว้ิ แลว้ ตง้ั ใจมนั่ วางอารมณ์สบาย สรา้ งความร้สู กึ ให้พร้อม ท้งั กายและใจวา่ กำลังจะเขา้ ไปสภู่ าวะแห่ง ความสงบสบายอยา่ งยง่ิ 4.นึกกำหนดนิมติ เปน็ \"ดวงแก้วกลมใส\" ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธ์ิ ปราศจากรอยตำหนใิ ดๆ ขาว ใส เยน็ ตาเยน็ ใจ ดงั ประกายของดวงดาว ดวงแกว้ กลมใส นี้เรียกว่า บรกิ รรมนมิ ติ นึกสบายๆ นึกเหมอื นดวงแกว้ น้นั มาน่ิงสนิท อยู่ ณ ศูนย์กลางกาย ฐานที่ 7 นึกไปภาวนาไปอย่างนุม่ นวล เป็นพุทธานุสตวิ ่า \"สัมมา อะระหัง\" หรือค่อยๆ น้อมนึกดวงแกว้ กลมใสใหค้ ่อยๆ เคลือ่ นเข้าส่ศู นู ยก์ ลางกาย ตามแนวฐาน โดยเรม่ิ ต้น ต้ังแตฐ่ าน ท่ี 1 เป็นตน้ ไป น้อมนึกอยา่ งสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพรอ้ มๆ กับคำภาวนา ตีความตามความรู้สึก (Heart) ในความรู้สึกที่เกิดขึ้นของการทำสมาธิแบบธรรมกาย เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใส ปรากฏแลว้ ณ กลางกาย ใหว้ างอารมณห์ ากดวงนิมติ นั้นอันตรธานหายไป กไ็ มต่ อ้ งนึกเสียดายใหว้ างอารมณส์ บายแลว้ นกึ นมิ ติ น้ันข้นึ มาใหมแ่ ทนดวงเกา่ หรอื เมือ่ นิมติ น้นั ไปปรากฏที่อ่ืนทมี่ ใิ ช่ศูนยก์ ลางกายใหค้ ่อยๆ นอ้ มนมิ ติ เขา้ มาอย่างค่อยเป็นค่อยไปไม่ มกี ารบังคับ และ เมอ่ื นิมติ มาหยุดสนิท ณ ศนู ยก์ ลางกาย ให้แตะใจหรือสติของเราเบาๆ ลงไปยังจุดศูนยก์ ลางของดวงนมิ ติ ดวง เดิม แล้วเอาใจจรดไวเ้ บาๆ สบายๆ ตรงดวงนมิ ิตน้นั ไปเรอ่ื ยๆ โดยไม่คิด ไมส่ งสยั ไม่ถาม ไม่นกึ อะไร ใหใ้ จเปน็ กลางๆ ก็จะทำ ให้ใจน่มุ เบาละเอยี ดมากเข้ามากเข้า จนใจถูกส่วนกจ็ ะเกิดการตกศนู ย์ซ่ึงคำว่า \"ตกศนู ย์\" น้ีนนั้ ทกุ คนต้องได้สัมผัสหากปฏิบัติ ธรรมไดถ้ ูกตอ้ ง แต่ละคนมอี าการตกศูนย์ไมเ่ หมอื นกัน บางคนจะมอี าการคลา้ ยกับตนเองถกู ควง หมุนเขา้ กลางดำด่ิงลงไป บาง คนเหมือนตกจากทส่ี งู บางคนก็เปน็ การตกจากทส่ี งู แบบรุนแรง บางคนก็ละมุนละไม ซง่ึ อาการตกศนู ย์ดังกลา่ ว หากผู้ท่ีปฏิบัติ ธรรมไมเ่ คยพบมาก่อน หรือ ไม่เคยไดย้ ินมาก่อนอาจเกิดความกลัว อันที่จริงเมื่อได้สัมผัสอาการตกศูนย์ขอให้จดจำว่า ไม่ต้อง กลัว เพราะเปน็ เพียงอาการท่ที ำให้รสู้ กึ หว่นั ใจ ตีความตามสภาวะปรมัตถ์ (Soul) ธรรมกายพระอรหัตเป็นกายทีเ่ ทีย่ งแท้ เป็นสุข และเป็นอัตตาที่แท้จริง เพราะ เป็นพระนพิ พานธาตุ เป็นอมตะ สถิตอยใู่ นอายตนะนพิ พานตลอดไป โดยเม่ือผ่านไปไดก้ ็จะเกิดแสงสวา่ ง หรือ ดวงสว่างขึ้นมา แทนที่ดวงนิมิตทีเ่ ราใช้เปน็ บริกรรมนิมิตแตต่ ้นน้ัน ซึ่ง ดวงธรรมที่ปรากฏหลงั การตกศูนย์ เรียกว่า \"ดวงธรรม\" หรือ \"ดวงปฐม มรรค\" หรือ \"ดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน\" ซึ่งเป็นดวงธรรมดวงแรกที่เราจะพบ และ มีอยู่ในกายของมนุษย์ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ดวงปฐมมรรคน้ี เป็นประตเู บ้อื งต้นท่ีจะเปดิ ไปสหู่ นทางแหง่ มรรคผลนพิ พาน การเดินสติ หรือ สมาธิไปตามดวงธรรมนี้ คือ การแตะใจเบาๆ ท่กี ลางดวงธรรม อย่างสบายๆ กจ็ ะทำใหป้ รากฏความกา้ วหนา้ ในสมาธิวปิ ัสสนานี้ ไปเป็นลำดบั จนกระทงั่ เข้าถึง พระธรรมกายภายใน เมื่อออกจากการปฏิบัติสมาธิภาวนาแล้ว หลายท่านอาจยังคงเห็นดวงธรรม หรือ องค์พระที่

ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 อยู่ในทุกอิริยาบท ก็ให้วางใจเบาๆ แตะที่กลางดวงธรรมหรือ ที่ศูนย์กลางกายขององค์พระนั้นไว้ทุก เวลา ทุกอริ ิยาบท ท้งั น่ัง นอน ยืน เดิน ก็จะทำให้ธรรมปฏิบตั กิ า้ วหน้าไปไดม้ ากขึ้นและละเอียดออ่ นมากขึ้นเร่ือยๆ(วัดหลวงพอ่ สดธรรมกายาราม, พระธรรมกาย, 2560) อายตนะ นิพพาน ดวงแกว้ กลมใส สัมมา อะระหัง พระพุทธปฏมิ ากรดั่งแกว้ ใสบริสทุ ธ์ิ สมาธิแบบธรรมกาย แผนภาพ 1 : แนวทางสมาธิแบบธรรมกาย เพ่ือเขา้ สอู่ ายตนะนพิ พาน

การทำสมาธแิ บบเต๋า 4 มติ ิ เพ่อื บรรลคุ วามว่างเปลา่ สูงสุด พระกมลรตั น์ อภปิ ญฺโญ (ตา่ ยลลี าศ) Pra Kamolrat Aphipunyoo (Taileelais) นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสน์ศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั Email : [email protected] บทเกริน่ นำ การทำสมาธิแบบเต๋า 4 มติ ิ เพอ่ื บรรลคุ วามว่างเปลา่ สูงสดุ เปน็ การตีความวธิ ีทำสมาธิตามแนวทางของลทั ธเิ ต๋า โดย ใช้แนวกระบวนทัศน์ 4 มิติ (4 Deep Dimensions) วิธีทำสมาธิตามแนวทางของลัทธิเต๋า เป็นการทำสมาธิแบบดั้งเดิม เข้าฌาน แนวปฏิบัติทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับปรัชญาและศาสนาของจีน เต๋ารวมถึงสมาธสิ ตไิ ตรต่ รอง และการมองเหน็ ภาษาจีนที่เก่าแก่ ที่สุดอ้างอิงถึงวันที่ทำสมาธิตั้งแต่วันที่ ช่วงเวลาแห่งสงคราม (475–221 คริสตศักราช) เทคนิคการทำสมาธิ Daoist มี ความสัมพันธ์กันในอดีต สมาธิแบบพุทธตัวอย่างเช่น Daoists ในศตวรรษที่ 6 ได้พัฒนาขึ้น กวน 觀 \"การสังเกต\" การทำ สมาธิเชิงลึกจาก เทียนไท ชาวพุทธ อานาปานสติ \"การเจรญิ สติตามลมหายใจ\" แพทย์แผนจีน และ ศิลปะการต่อสูข้ องจีน ได้ ปรับเปลี่ยนเทคนคิ การเข้าฌาน Daoist ตัวอย่างบางส่วนคือ เต๋าหยิน แบบฝึกหัดการหายใจ \"นำทางและดึง\" นีดาน เทคนคิ \"การเล่นแร่แปรธาตุภายใน\" นีกง การปฏิบัติ \"ทักษะภายใน\" ชี่กง แบบฝึกหัดการหายใจ จ้วงจ้วง เทคนิค \"ยืนเหมือนโพสต์\" ทิศทางตรงกันข้ามของการยอมรับยังเกิดขึ้นเมื่อศิลปะการป้องกันตัว Taijiquan\"สุดยอดกำปั้น\" กลายเป็นหนึ่งในแนวทาง ปฏิบัติของพระสงฆ์ลัทธิเต๋าสมัยใหม่ในขณะท่ีในอดตี ไมไ่ ด้เป็นเทคนิคดั้งเดิม ด้วยเหตุน้ีจงึ ได้แสดงวิธีตีความการทำสมาธิแบบ เต๋า 4 มิติ เพ่ือบรรลคุ วามว่างเปลา่ สูงสดุ ดงั น้ี มิติปรากฏการณ์ (Body) โดยลิเวียโคห์น (Kohn Livia, \"Meditation and visualization,\" 2008) จำแนกการทำ สมาธิแบบเต๋าขั้นพื้นฐาน 3 ประเภท ได้แก่ \"สมาธิ\" \"ความเข้าใจ\" และ \"การสร้างภาพ\" Ding 定 ตามตัวอักษรหมายถึง \"ตัดสินใจชำระเสถียรภาพมั่นคงแน่นอนมั่นคงมั่นคง\" และนักวิชาการรุ่นแรก ๆ เช่น ซวนซาง ใช้ในการแปล ภาษาสันสกฤต Samadhi \"ฌานสมาธิลึก\" ในภาษาจีน ตำราทางพระพุทธศาสนา. ในแง่นี้ Kohn (Kohn Livia, \"Ding 定 concentration,\" 2008) จงึ แสดงผล ดิง เปน็ \"เจตนาใครค่ รวญ\" หรอื \"การดดู ซึมทสี่ มบรู ณ์แบบ\" Zuowanglun มีสว่ นทเ่ี รยี กวา่ ไทดิง 泰定 \"เข้มข้นเข้มขน้ \" กวน 觀 โดยทว่ั ไปหมายถงึ \"ดู (อยา่ งระมดั ระวัง) ดสู งั เกตดูดูกลน่ั กรอง\" กวน กลายเป็นศพั ท์เทคนคิ Daoist สำหรับ \"อาราม; วัด\" ซึ่งเป็นตัวอย่างโดย Louguan 樓觀 วัด \"ฉัตรแบ่งเขต\" กำหนด \"หอสังเกตการณ์\" ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ลัทธิเต๋าที่สำคัญตั้งแต่ศตวรรษที่ 5 ถึง 7 (Kohn Livia, \"กวน 觀 observation,\" 2008) พูดคำนี้ กวน, \"แสดงให้เห็นถึง บทบาทของสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของลัทธิเต๋าในฐานะสถานที่ติดต่อกับสิ่งมีชีวิตบนท้องฟ้าและการสังเกตดวงดาว\" ราชวงศ์ถัง (618–907) ปรมาจารย์ลัทธเิ ตา๋ พฒั นาข้นึ กวน \"การสงั เกต\" การทำสมาธจิ ากเทียนไทพุทธ จอื่ กวน 止觀 \"การหยุดและการ หยั่งรู้\" การทำสมาธิซึ่งสอดคล้องกับ śamatha-vipaśyanā - สมาธิพื้นฐานสองประเภทของพุทธคือ สมาถะ \"ความสงบน่ิง การทำสมาธใิ หค้ งท\"่ี และ วิปสั สนา \"การสงั เกตท่ชี ดั เจนการวิเคราะห์\". โคหน์ (Kohn Livia, \"กวน 觀 observation,\" 2008) อธิบายว่า“ คำสองคำนบ้ี ง่ บอกถึงรูปแบบพื้นฐานของการทำสมาธแิ บบพุทธสองแบบ: จือ่ เป็นแบบฝกึ หัดทีม่ สี มาธซิ งึ่ ทำให้เกิด ความคิดที่ชัดเจนหรือ \"การหยุด\" ของความคิดและกิจกรรมทางจิตทั้งหมดในขณะที่ กวน เป็นการฝึกการยอมรับข้อมูลทาง

ประสาทสัมผัสอย่างเปิดเผยตคี วามตามหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาว่าเปน็ รูปแบบของ \"ความหย่ังรู้\" หรือ \"ปัญญา\" กวน ผู้ทำสมาธิจะพยายามรวมจิตสำนึกของแตล่ ะบุคคลเข้าสู่ความว่างเปล่าและบรรลุความเปน็ หนึ่งเดยี วกับ Dao คูน 存 มักจะ หมายถงึ \"มีอยเู่ ป็นปัจจบุ นั มีชวี ติ อย่รู อดยังคงอยู่\" แต่มคี วามหมายของ \"ทจ่ี ะทำใหม้ ีอย่เู พือ่ ให้ปัจจบุ ัน\" ในเทคนิคการทำสมาธิ เต๋าซึ่งทั้งสอง โรงเรียน Shangqing และ โรงเรียน Lingbao เป็นที่นิยม ดังนั้นจึงหมายความว่าผู้ทำสมาธิโดยการกระทำของ สมาธิอย่างมีสติและความตั้งใจที่จดจ่อทำให้เกิดพลังงานบางอยา่ งท่ีมีอยู่ในบางส่วนของร่างกายหรือทำให้เทพหรือพระคัมภีร์ บางอย่างปรากฏตอ่ หนา้ ตอ่ ตาจิตของเขาหรือเธอ ด้วยเหตนุ ้ีคำน้ีจึงมักแสดงเป็น \"เพื่อใหเ้ ห็นภาพ\" หรอื เปน็ คำนาม \"การสร้าง ภาพ\" อย่างไรก็ตามความหมายพื้นฐานของ คูน ไม่ใช่แค่การมองเห็นหรอื รับรู้ แต่เป็นการนำเสนออย่างแทจ้ ริงการแปล \"เพื่อ ทำให้เป็นจริง\" หรือ \"ทำให้เป็นจริง\" ในบางครั้งอาจจะถูกต้องหากผู้อ่านชาวตะวันตกค่อนข้างแปลก (Kohn Livia, \"คูน 存 visualization, actualization,\" 2008) มิติความคิด (Mind) การทำสมาธิแบบเต๋าในความคิดทั่วไปนั้นนั้นมีลักษณะที่ถูกเรียกว่า กวางซี (คริสตศักราช ศตวรรษที่ 4–3) ลทั ธิเตา๋ กวางซี หมายถึงการทำสมาธใิ นแง่ที่เฉพาะเจาะจง สองตัวอยา่ งท่รี จู้ กั กันดขี องวินยั ทางจิต คือ ขงจื้อ ไดอ้ ธิบาย ซินไจ๋ 心齋 \"การอดอาหารด้วยใจ\" (Roth Harold D., \"Psychology and Self-Cultivation in Early Taoistic Thought,\" 1991) ในบทสนทนาแรกขงจือ้ อธิบาย ซินไจ๋ \"ฉันกล้าถามว่า\" การอดอาหารของจิตใจ \"คืออะไร\" ฮุ่ยกล่าว “ การ รกั ษาเอกภาพแห่งเจตจำนงของคณุ ” ขงจื้อกลา่ ววา่ “ อย่าฟังด้วยหู แต่ทำด้วยใจอย่าฟังด้วยความคิดของคณุ แตด่ ้วยลมหายใจ เบอื้ งตน้ ของคุณหูถูก จำกดั ไวท้ ีก่ ารฟังจติ ใจถกู จำกัด ไว้ที่การนบั ปฐม อย่างไรกต็ ามลมหายใจรอคอยสิง่ ตา่ ง ๆ อยา่ งว่างเปลา่ มนั เป็นเพยี งวิธเี ดยี วทีเ่ ราสามารถรวบรวมความว่างเปลา่ และความว่างเปลา่ คอื การอดอาหารของจิตใจ \" (Mair, Victor H., tr., Wandering on the Way: Early Taoist Tales and Parables of Chuang Tzu, Bantam Books., 2537) มิติความรู้สึก (Heart) ในด้านแห่งใจเรียกว่า Guanzi เป็นการปฏิบัติสมาธิแบบ : Xinshu 心術 \"เทคนิคใจ\" Baixin 白心 \"การทำจิตใจให้บริสุทธิ์\" และ เนย์เย Nei-yeh “ การฝึกอบรมภายใน” โดยนักวิชาการสมัยใหม่(Harper Harper Donald, \"Warring States Natural Philosophy and Occult Thought,\" 1999) เชื่อว่า Nei-yeh ข้อความถูก เขียนขึ้นในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตศักราชและข้อความอื่น ๆ ได้มาจากข้อความนั้น A. C. Graham(Graham Angus C., Disputers of the Tao, Open Court Press. ,1989) เกี่ยวกับ เนย์เย ในฐานะ \"อาจเป็นข้อความ\" ลึกลับ \"ที่เก่าแก่ที่สุดใน จนี \"; Harold Roth(Roth Harold D., \"Psychology and Self-Cultivation in Early Taoistic Thought,\" 1991) อธบิ ายว่า เป็น \"คู่มอื เกี่ยวกับทฤษฎีและแนวปฏบิ ตั ขิ องการทำสมาธิทีม่ กี ารอ้างอิงถึงการควบคมุ ลมหายใจทีเ่ กา่ แก่ทส่ี ุดและการอภิปราย เก่ียวกับพื้นฐานทางสรีรวิทยาของการเพาะปลูกดว้ ยตนเองในประเพณีจีนท่ีเก่าแก่ที่สุด\" เนื่องจากฉันทามติที่ proto-Daoist ฮวง - ลาว นักปรัชญาที่ สถาบัน Jixia ใน ฉี ประกอบด้วยแกนกลาง Guanzi, เนย์เย เทคนิคการทำสมาธิเป็นเทคนิค \"Daoistic\" มากกว่า \"Daoist\" ตัวย่างของสมาธิแห่งใจของ เนย์เย ข้อ 8 ผู้ร่วมงาน dingxin 定心 \"การทำให้จิตใจมี เสถียรภาพ\" ด้วยการได้ยนิ เฉียบพลันและการมองเห็นทีช่ ัดเจนและสรา้ ง จิง 精 \"สาระสำคัญ\". อย่างไรก็ตามความคิด Roth (1999: 114) กล่าววา่ \"เปน็ อปุ สรรคต่อการบรรลุจติ ใจท่ีมีระเบียบโดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมนั มากเกินไป\" “หากคุณสามารถเข้ากันได้และสงบสุข แค่นั้นคุณก็มั่นคงได้แล้ว ด้วย จติ ใจท่ีม่นั คงเป็นหลัก ด้วยตาและหูที่ชดั เจนและชัดเจน และดว้ ยแขนขาทั้งส่ีท่ี มั่นคงและมั่นคง คุณสามารถสร้างที่พักสำหรับสาระสำคัญที่สำคัญได้ สาระสำคัญ: เป็นสาระสำคัญของพลังงานที่สำคัญ เมื่อพลังงานที่สำคัญถูกนำ

ทางมันจะถูกสร้างขึ้น [สาระสำคัญ] แต่เมื่อมันถูกสร้างขึ้นก็มีความคิด เมื่อมี ความคิดมีความรู้ แต่เมื่อมีความรู้แล้วก็ต้องหยุด เมื่อใดก็ตามที่รูปแบบของ จิตใจมีความรู้มากเกินไป คุณสูญเสียความมีชีวิตชีวา” (Roth, Harold D., Original Tao: Inward Training (Nei-yeh) and the Foundations of Taoist Mysticism, 1999) มิติสภาวะปรมัตถ์ (Soul) สภาวะปรมัต์ของสมาธิแห่งเต่า เรียกว่า เต้าเต๋อจิง ถูกตีความว่าหมายถึงการทำสมาธิ เพื่อ \"บรรลุความว่างเปล่าสูงสุดรักษาความนิ่งที่สุด\" (Mair Victor H., tr, Wandering on the Way: Early Taoist Tales and Parables of Chuang Tzu, 1994) เนน้ xu 虛 \"ว่างเปลา่ โมฆะ\" และ จิง 靜 \"น่ิง; เงยี บ\" ซึ่งท้ังสองอยา่ งนี้เป็นแนวคิด ส ม า ธ ิ ก ล า ง Randal P. Peerenboom(Peerenboom Randal P., Law and Morality in Ancient China: the Silk Manuscripts of Huang-Lao, 1995) อธิบายกระบวนการไตรต่ รองของ Laozi ว่า “สมาธิแบบการล้างรูปทัง้ หมด (ความคิด, ความรู้สกึ , และอื่น ๆ ) มากกว่าการมีสมาธิหรือเติมจิตด้วยภาพ” เปรียบได้กบั พุทธ นิโรธา - สะมะปัตติ \"การหยุดความรู้สึก และการรบั รู้\" การทำสมาธิ ตัวอย่างสภาวะปรมัตข์ องสมาธแิ หง่ เตา่ คอื ส่งิ ท่ี Roth (Roth, Harold D., Original Tao: Inward Training (Nei-yeh) and the Foundations of Taoist Mysticism., 1999) เรียกว่า \"อาจเป็นหลักฐานที่สำคญั ที่สุดสำหรบั การทำสมาธใิ นการหายใจ\" ใน เตา้ เต๋อจิง. “ในขณะที่คุณ ปลูกฝังจิตวิญญาณและโอบกอดความสามัคคี คุณ สามารถป้องกันไม่ให้แยกออกจากกัน จดจ่อลมหายใจที่สำคัญของคุณจนกว่า มันจะนุ่มนวลที่สุด คุณจะเป็นเหมือนทารกได้ไหม ทำความสะอาดกระจกแห่ง ความลึกลับ คุณสามารถทำให้ปราศจากตำหนิได้หรอื ไม่? รักประชาชนและทำ ให้รัฐมีชีวิตชีวา คุณสามารถทำได้โดยไม่ต้องมีเล่ห์เหลี่ยม เปิดและปิดประตู สวรรค์ คุณสามารถเล่นบทของผ้หู ญงิ เขา้ ถงึ ดว้ ยความชดั เจนในทกุ ทศิ ทาง คุณ สามารถละเว้นจากการกระทำ มันให้กำเนิดและเลี้ยงดูพวกเขา มันให้กำเนิด พวกเขา แต่ไม่มีพวกมัน มันเลี้ยงพวกมัน แต่ไม่ได้ควบคุมพวกมัน สิ่งนี้เรียกวา่ ความสมบูรณ์ลึกลับ” (Mair Victor H., tr, Wandering on the Way: Early Taoist Tales and Parables of Chuang Tzu, 1994)

BODY MIND 定 HEART SOUL (Ding) 心 心 虛 齋 術 觀 (xu) (Xin zhai) (Xinshu) (Kuan) 靜 การอดกล้นั 白 存 心 (Jing) (Koon) (Baixin) บรรลคุ วาม ว่างเปลา่ สมาธิ 內 สูงสุดรกั ษา ความเข้าใจ ความน่ิงทส่ี ดุ การสรา้ งภาพ 業 (Nei-yeh) เทคนคิ ใจ การทำจติ ใจใหบ้ ริสุทธิ์ การฝกึ อบรมภายใน แผนภาพ 1 : การทำสมาธแิ บบเตา๋ 4 มติ ิ เพือ่ บรรลคุ วามว่างเปลา่ สูงสดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook