การใช้งานโปรแกรม Adobe Illustrator รหัสวิชา 20204-2006 วชิ าองค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพวิ เตอร์ จดั ทำโดย นายบุรุษวิชญ์ มิตรเปรียญ รหัสนักศึกษา 62202040074 กลุ่ม 62 คต.2 หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษา ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนคิ พทั ลุง
ก คำนำ รายงานเล่มน้เี ป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชาองค์ประกอบศลิ ปส์ ำหรับงานคอมพิวเตอร์รหัสวิชา 20204-2006 ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ค้นหาข้อมูล เรื่องการใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เพื่อใช้ในการทำงานด้านการ ออกแบบและพฒั นา เพ่อื ใช้ในการเรยี น และการศกึ ษาการใชง้ านโปรแกรม ผู้จัดทำได้ไปศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สำหรับนักเรียน และบุคคลทั่วไป ที่ต้องการศึกษา การใช้โปรแกรม Adobe Illustrator ซึ่งหากมีข้อผิดพลาด ประการใด ผจู้ ัดทำ ขออภัยมาและนอ้ มรบั ไว้ ณ ที่น้ีด้วย นายบุรษุ วิชญ์ มิตรเปรียญ
สารบัญ ข เร่ือง คำนำ หน้า สารบัญ ก Adobe Illustrator ข ความสามารถของโปรแกรม Illustrator 1 ความแตกต่างระหวา่ งไฟล์ Vector และ Bitmap 2 วธิ ีการติดต้งั และการเขา้ ใช้งานโปรแกรม Adobe illustrator หน้าตา่ งโปรแกรม Adobe illustrator 4 วธิ ีการใชง้ านโปรแกรม Adobe Illustrator 9 การสรา้ งไฟล์ใหม่ 10 การเปดิ ไฟล์ด้วยคำสง่ั Open 11 การบนั ทกึ ไฟล์ 12 การใช้งานไม้บรรทดั และเสน้ ไกด์ 13 วาดภาพด้วยเครอ่ื งมือพืน้ ฐาน 14 การใช้งานกลุม่ เคร่ืองมือดินสอวาดภาพ 15 วาดเส้นตรงดว้ ย Pen Tool 16 วาดเส้นโคง้ ด้วย Pen Tool 17 ปรบั แตง่ ภาพจาก Image Trace 18 การใช้งานสใี น Adobe Illustrator 19 การเลอื กสจี ากพาแนล 20 การปรับแตง่ ภาพดว้ ยพาเนล Transparency 21 การจดั การ Layers 22 การหมนุ วตั ถดุ ้วย Rotate Tool 23 การกลับดา้ นวัตถุดว้ ย Reflect Tool 24 การสร้างตัวอกั ษร 25 การ Export 26 อา้ งองิ
1 Adobe Illustrator CS 1. Adobe Illustrator Adobe Illustrator คือโปรแกรมด้าน Graphic Design ซึ่งผลิตโดย บริษัท Adobe ที่เน้นการสร้างงาน จากการวาด การสรา้ งภาพกราฟิกผ่านจอคอมพิวเตอร์ จุดเด่นของโปรแกรมน้คี อื สามารถสร้างภาพลายเส้นได้เป็น อย่างดี ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในสุดยอดโปรแกรมด้านการออกแบบที่ใช้กันแพร่หลาย ท่ัวโลก ในการ ออกแบบหลายแขนง ทำภาพประกอบในหนังสือ ไม่ว่าจะเป็นงานออกแบบLogo การออกแบบภายใน การ ออกแบบสิ่งพิมพ์ การออกแบบโฆษณา การวาดภาพประกอบ การออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบสิ่งทอ การออกแบบบรรจุภัณฑ์การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบการ์ตูนแอนิเมชั่น และอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งใน ลักษณะการใช้งานแบบโปรแกรมเดี่ยว หรือการใช้งานร่วมกับโปรแกรม Graphic Design อื่นๆ Adobe Illustrator ได้เข้ามาเป็นเครื่องมือของนักออกแบบและนักวาดภาพ แทนเครื่องมือบนโต๊ะเขียนแบบหรือบน กระดานวาดภาพ ได้แทบทง้ั หมด เพื่อทจ่ี ะสามารถสรา้ งสรรค์งานออกแบบได้ง่ายและรวดเรว็ ข้นึ ภาพที่ 1.1 ไอค่อนโปรแกรม Adobe Illustrator ในความเป็นจริงแล้วภาพกราฟฟิกที่เก็บในคอมพิวเตอร์นั้น จะมีวิธีการประมวลผลภาพ 2 แบบแตกต่าง กนั ไปตามแตล่ ะโปรแกรมดังน้ี คอื 1. การประมวลผลแบบอาศัยการคำนวณทางคณติ ศาสตร์ ตัวอย่างเช่น รูปล้อรถจักรยาน ถ้าเป็นการเก็บแบบเว็กเตอร์ เครื่องจะเก็บข้อมูลที่เป็นสูตรทาง คณิตศาสตร์แต่สามารถอธิบายไดค้ ือ รูปล้อจักรยาน คือเส้นวงกลมที่เกิดจากการวัดความห่างจากจดุ ศูนย์กลางจดุ หนึ่งไปยังบริเวณรอบๆ ด้วยระยะห่างทีเท่ากัน โดยมีสีและตำแหน่งของสีที่แน่นอน ฉะนั้นไม่ว่าเราจะมีการ เคลื่อนย้ายท่หี รือย่อขยายขนาดของภาพ ภาพจะไม่เสยี รูปทรงในเชิงเลขาคณิต เช่น โปรแกรม Illustrator ใช้วิธีนี้ ในการเก็บ เป็นต้น ตัวอย่างงานกราฟฟิกของภาพแบบเวกเตอร์งานกราฟฟิกในแบบเวกเตอร์นี้จะเป็นลักษณะของภาพลายเส้น ซึ่งงานเหล่านี้จะเน้นถึงความ คมชัดของเส้นเป็นหลัก เช่น ภาพโลโก้ ตราบริษัท และภาพลายเส้นแบบคลิปอารต์ โปรแกรมเหลา่ น้ีได้แก่ Illustrator, Corel Draw และ Freehand เปน็ ต้น
2 2. การเก็บและแสดงผลแบบบิตแม็พ Bitmap เป็นการประมวลผลแบบอาศัยการอ่านค่าสีในแตล่ ะพิกเซล ซึ่งเหมาะกับภาพที่มีโทนสีที่ใกล้เคียงกัน เช่น ภาพถ่าย โปรแกรม Photoshop ใช้วิธีนี้ การประมวลผลแบบบิตแม็พนี้เราเรียกอีกอย่างว่า Raser image เป็น การเก็บข้อมูลดิบ คือค่า 0 และ 1 ใช้การแสดงผลเป็นพิกเซล โดยแต่ละพิกเซลจะมีการเก็บค่าสีที่เจาะจงในแต่ละ ตำแหน่ง ตัวอย่างงานกราฟฟิกของภาพแบบบิตแม็พ งานกราฟฟิกในแบบบิตแม็พนี้จะเป็นลักษณะของภาพ ที่ ต้องการปรับแต่งรายละเอียดของสีเป็นหลัก เช่น การซ้อนภาพและการตกแต่งภาพให้เหนือจริง โปรแกรมเหล่าน้ี ได้แก่ Photoshop, Corel Photo-paint และ Fireworks เป็นตน้ 2. ความสามารถของโปรแกรม Illustrator โปรแกรม Illustrator สามารถออกแบบงานชนิดต่าง ๆ ไดด้ งั น้ี งานสิง่ พมิ พ์ ไม่ว่าจะเป็นงานโฆษณา โบร์ชัวร์ นามบัตร หนังสือ หรือนิตยสาร เรียกได้ว่าเกือบทุกสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ ความคมชัด งานออกแบบทางกราฟฟกิ การสรา้ งภาพสามมติ ิ การออกแบบปกหนงั สอื การออกแบบสกรนี CD-ROM และการออกแบบต่าง ๆ งานทางด้านการ์ตนู ในการสร้างภาพการ์ตูนต่างๆนั้น โปรแกรม Illustrator ได้เข้ามามีบทบาทและช่วยในการวาดรูปได้เป็น อย่างดี งานเวบ็ ไซตบ์ นอนิ เทอรเ์ น็ต ใช้สรา้ งภาพตกแตง่ เว็บไซต์ไมว่ า่ จะเปน็ Background หรือปมุ่ ตอบโต้ แถบหวั เร่ืองตลอดจนภาพประกอบ ต่างๆ ท่ีปรากฏบนหนา้ เว็บ 3. ความแตกต่างระหว่างไฟล์ Vector และ Bitmap Vector คือ ไฟล์ที่ประกอบไปด้วยจุดและเส้น สร้างขึ้นมาจากรูปทรงที่ถูกกำหนดโดยสมการคณิตศาสตร์ ข้อดี ของไฟลป์ ระเภทนี้คือ ตอ่ ใหข้ ยายภาพเท่าไหร่ก็ไม่แตกเป็นเมด็ ๆ มีความคมชัดเหมือนตอนท่ียังไม่ขยาย 100% จึง เหมาะกับงานป้ายโฆษณาหรอื โปสเตอรท์ ี่มีขนาดใหญ่มากๆ แต่ข้อเสียของมันก็คือมีขนาดไฟล์ทีใ่ หญ่กว่า Bitmap ตัวอย่างไฟล์ประเภท Vector เช่น AI (Adobe Illustrator Artwork), SVG (Scalable Vector Graphics) โดย โปรแกรมที่สามารถสร้างงานประเภท Vector ได้นั้นก็อย่างเช่นโปรแกรม Illustrator, Fireworks, CorelDRAW เปน็ ตน้
3 ภาพที่ 3.1 ตวั อยา่ งภาพ ประเภทVector Bitmap เรยี กอีกช่ือว่าไฟล์ Raster คือไฟล์ภาพที่ประกอบดว้ ยจดุ สีต่างๆ หรือทเี่ รยี กกันวา่ Pixel โดยจุดเหล่าน้ีจะ เรียงต่อกันอัดแน่นจนเกิดเป็นภาพหนึ่งภาพ เป็นเหตุผลว่าถ้าหากเราขยายภาพเกินกว่า 100% ภาพจะแตกเป็น เม็ดๆ ต่างจากไฟล์ Vector หากต้องการใช้ไฟล์ Bitmap สำหรับงานพิมพ์ จำเป็นต้องใช้ภาพที่มีความละเอียด 300 dpi หรือมากกว่า ตัวอย่างไฟล์ Bitmap นั้นเราจะคุ้นเคยกันดี เพราะเป็นไฟล์ภาพปกติอย่าง JPEG, PNG, GIF เป็นต้นไฟล์ทั้ง 2 ประเภทนี้ไม่มีอันไหนที่ดีไปเลยหรือแย่ไปเลยเพราะแต่ละประเภทถูกสร้างขึ้นมาให้รองรับ งานที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าเราจะใช้ทำงานประเภทไหนนั่นเองและสำหรับใครที่สนใจงาน Graphic Design แบบ ครบ 360 องศาและต้องการที่จะเรียนรู้หลักการออกแบบงานกราฟิกรวมไปถึงเทคนิคและวิธีการใช้งานโปรแกรม Photoshop และ Illustrator ภาพที่ 3.2 ตัวอย่างภาพ ประเภท Bitmap
4 4. วธิ กี ารตดิ ตงั้ และการเข้าใช้งานโปรแกรม Adobe illustrator CC ผู้ใช้สามารถติดตั้งโปรแกรม Illustrator ได้จากชุดโปรแกรมของ Adobe CS Master Collection ซ่ึง สามารถจะเร่ิมโดยการใสแ่ ผ่นดวี ดี ีลงไป และเร่มิ ทำการตดิ ตั้งโปรแกรมดงั ขั้นตอนต่อไปน้ี 1. คลิกเลือก ไฟล์ Set-up.exe 2. จะปรากฏแถบแสดงสถานะ การตดิ ตั้ง 3. ทหี่ น้าต่าง Welcome การติดตง้ั ให้คลกิ เลือกปมุ่ คำสัง่ Accept เพอื่ เรมิ่ การตดิ ตั้ง ภาพที่ 4.1 หน้าต่างการตดิ ตั้งโปรแกรม 4. ให้กรอก รหัส Serial Number ซึ่งมีอยู่ในแผ่นโปรแกรม ลงในช่อง Provide a serial number เม่ือ กรอกรหสั ถกู ต้องจะปรากฏเครอื่ งหมายถูกท่ชี ่องสุดทา้ ย 5. เลอื กภาษาที่ใช้ในการตดิ ตัง้ ใหเ้ ลือก English (International) 6. หลังจากเลือกภาษาเสรจ็ แลว้ ใหค้ ลกิ ปุ่ม Next เพ่ือดำเนนิ การในข้นั ตอนตอ่ ไป 7. คลกิ เครือ่ งหมายถูกเพ่อื เลอื กทำการติดต้ังโปรแกรม Illustrator 8. คลิกเลือกปุ่ม Install เพื่อทำเริ่มติดตั้งโปรแกรมลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และรอจนกว่าจะติดตั้งเสร็จ และคลิก Finish ขนั้ ตอนการเข้าใชง้ านโปรแกรม Adobe illustrator 1. คลกิ ปุม่ Start บนแถบ Task bar 2. เลือก All Programs -> Adobe illustrator 3. เลือก Adobe illustrator จะเปิดใหใ้ ชง้ านได้ทันที
5 5. หน้าตา่ งโปรแกรม Adobe illustrator ภาพที่ 5.1 ภาพหนา้ ต่างโปรแกรม Adobe illustrator แถบเมนคู ำส่งั (Menu bar) ภาพที่ 5.2 ภาพแถบเมนูคำส่งั (Menu bar) File: เป็นหมวดของคำสั่งที่จัดการเกี่ยวกับไฟล์และโปรแกรมทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการ เปิด-ปิดไฟล์ การ บันทกึ ไฟล์ การนำภาพเข้ามาใช้ (Place) ตลอดจนการออกจากโปรแกรม (Exit) Edit: เป็นหมวดของคำสั่งที่จัดการแก้ไข เช่น Undo Cut Copy Paste Select รวมทั้งการกำหนด คณุ สมบตั ิ ตา่ งๆ ทม่ี ผี ลตอ่ การปรับแต่งภาพดว้ ย เช่นการสรา้ งรปู แบบ (Define Pattern) การกำหนดค่าสี (Color Setting) เปน็ ตน้
6 Type: เป็นหมวดของคำส่งั ทีใ่ ช้จดั การตวั หนงั สือ เชน่ Fonts Paragraph เปน็ ต้น Select: เป็นหมวดของคำสั่งที่ใช้ในการเลือกวัตถุ สามารถเลือกด้วยคุณสมบัติได้ เช่น เลือกวัตถุที่มี Fill และ Stroke แบบเดียวกันวตั ถทุ ีอ่ ยูบ่ น Layer เดยี วกนั เปน็ ต้น Filter: เปน็ หมวดของคำสง่ั ทใ่ี ช้สรา้ งเทคนิคพิเศษให้กับภาพ โดยจะมผี ลตอ่ รปู รา่ งของ Path Effect: เปน็ หมวดของคำสง่ั ที่ใช้สรา้ งเทคนิคพเิ ศษใหก้ บั ภาพคล้าย Filter แต่จะไมม่ ีผลกบั รปู รา่ งของ PathView: เป็นหมวดของคำสั่งเกี่ยวกับการมองทุกสิ่งในงาน เช่น Zoom Show/Hide Ruler Bounding Box Outline Mode/Preview Mode เปน็ ต้น Window: เป็นหมวดของคำส่ังเกีย่ วกับการเปดิ -ปดิ หนา้ ต่างเคร่ืองมือต่างๆ เช่น Palette Tool Box เป็น ตน้ Help: เปน็ หมวดทร่ี วบรวมวิธกี ารใช้งานและคำแนะนำเพื่อชว่ ยเหลือผ้ใู ชโ้ ปรแกรม กลอ่ งเครอื่ งมือ (Toolbox) เป็นส่วนท่ีเก็บรวบรวมเคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการสรา้ ง การปรับแตง่ และการแกไ้ ขภาพ ภาพที่ 5.3 ภาพกล่องเคร่ืองมือ (Toolbox)
7 คอนโทรลพาเนล (Control Panel) ภาพท่ี 5.4 ภาพคอนโทรลพาเนล (Control Panel) เป็นแถบตัวเลือกสำหรับกำหนดคา่ ต่างๆ ของวัตถุ เพื่ออำนวยความสะดวกแกผ่ ูใ้ ช้ใหส้ ามารถกำหนดค่าสี ขนาด ตำแหน่ง และคณุ สมบตั ิตา่ ง ๆ ของวัตถทุ ่ีเลือกไดง้ า่ ยขึน้ พีน้ ทีก่ ารทำงาน (Artboard) ภาพที่ 5.5 ภาพพ้ืนทก่ี ารทำงาน (Artboard) เปน็ บริเวณทเ่ี ราใช้วางวตั ถเุ พ่ือสร้างชนิ้ งาน สว่ นพ้ืนท่ีนอกเหนือจากนนั้ (Scratch area) เป็นบริเวณท่ีเรา วางวัตถุแต่ไมต่ ้องการใหแ้ สดงในชน้ิ งานใช้เพื่อพกั วัตถุ หรือเผ่อื ไว้ใชใ้ นภายหลงั
8 พาเนลควบคุมการทำงาน (Panel) ภาพที่ 5.6 ภาพพาเนลควบคุมการทำงาน (Panel) เป็นหน้าต่างยอ่ ยท่ีรวบรวมคุณสมบตั ิการทำงานของเครื่องมอื ต่าง ๆ ซึ่งให้เราเลือกปรับแตง่ การใชง้ านได้ งา่ ย ๆ ไม่ต้องเปิดหาแถบคำส่ังซ่งึ พาเนลจะถูกจดั เก็บไวใ้ นกรอบจัดเกบ็ พาเนลดา้ นขวาของหน้าจอ
9 6. วธิ ีการใชง้ านโปรแกรม Adobe Illustrator การสรา้ งไฟล์ใหม่ 1. ไปที่ File New 2. กำหนดรายละเอียดตามตอ้ งการ Name ตงั้ ชือ่ ไฟล์งาน Profile กำหนดรูปแบบการทำงาน Number of Artboards กำหนดจำนวนอารต์ บอรด์ และแนวการจดั วางอาร์ตบอรด์ Spacing กำหนดระยะหา่ งระหว่างแตล่ ะพื้นทกี่ ารท างาน Size กำหนดขนาดของอาร์ตบอร์ด โดยเลือกจากขนาดที่โปรแกรมเตรียมไว้ หากต้องการขนาด อนื่ ๆ ใหพ้ มิ พข์ นาดอาร์ตบอรด์ ตามต้องการ Units กำหนดหน่วยวดั Orientation กำหนดอารต์ บอร์ดเปน็ แนวต้ังหรือแนวนอน Bleed กำหนดพืน้ ที่ระยะตัดตก Color Mode โหมดสี Raster Effects กำหนดความละเอียดของภาพ 3. กด OK ภาพที่ 6.1 ภาพการสรา้ งไฟล์ใหม่
10 การเปิดไฟลด์ ้วยคำส่ัง Open หากเรามีรูปภาพที่ต้องการน ามาตกแต่งเพิ่มเติม เราสามารถเลือกเปิดไฟล์รูปขึ้นมาเพื่อทำงานได้ทันที หรือจะเปิดไฟล์ Ai ที่เคยทำไวม้ าท ทำงานตอ่ ได้ทันที โดยมขี น้ั ตอนดังน้ี 1. คลกิ File Open 2. เลอื กรปู ภาพทีต่ ้องการ 3. คลกิ Open ภาพที่ 6.2 ภาพการเปดิ ไฟลด์ ้วยคำสง่ั Open 4. จะปรากฏไฟลง์ านใน Adobe Illustrator ภาพท่ี 6.3 ภาพการเปิดไฟล์
11 การบันทกึ ไฟล์ หากตอ้ งการบันทึกเปน็ คร้ังแรกหรือบนั ทกึ เปน็ ไฟล์ใหม่จะใช้คำสัง่ Save As หากตอ้ งการแก้ไขแล้วบันทึก ทกึ ใชค้ ำสงั่ Save โดยมีขั้นตอนดงั นี้ 1. ไปท่ี File Save As 2. เลือกท่เี ก็บไฟล์ 3. ต้งั ชื่อไฟล์ 4. เลอื กรูปแบบไฟล์ 5. คลกิ Save ภาพที่ 6.3 ภาพการบันทึกไฟล์
12 การใช้งานไม้บรรทดั และเสน้ ไกด์ ไม้บรรทดั จะแสดงอยู่รอบพ้ืนท่ีการทำงาน ซึ่งจะอำนวยความสะดวกในเร่อื งการวดั ความ ยาวและความสูง และสามารถลากเสน้ ไกด์ออกมาจากไมบ้ รรทดั เพอ่ื อำนวยความสะดวกในการ จดั การกับวัตถุ โดยมีขั้นตอนดงั น้ี 1. ไปที่ View Rulers Show Rulers 2. ลากเส้นไกดอ์ อกมาจากไม้บรรทัด หากต้องการย้ายตำแหนง่ ใหใ้ ช้ Selection Tool ภาพที่ 6.4 ภาพการลากเสน้ ไกด์
13 วาดภาพด้วยเคร่อื งมือพื้นฐาน การใช้งำนเครื่องมือกลุ่มวาดเส้นเคร่ืองมือในกลุ่มวาดเส้นจะไดเ้ ส้นพาธ (Path) เปน็ แบบเสน้ เปดิ หมายถึง จุดปลายเสน้ พาธท้งั 2 ด้านไมส่ ัมผัสกัน โดยมีเคร่ืองมอื ดังนี้ ภาพที่ 6.5 ภาพเคร่ืองมือในการวาด 1. คลิกท่เี ครื่องมือวาดเส้นตามต้องการ 2. กำหนดสขี องเสน้ ขนาดของเสน้ และรปู แบบของเสน้ ตามต้องการ 3. ลากเมาสบ์ นพ้ืนท่ีการทำงานจนเกดิ เสน้ และปลอ่ ยเมาส์เมอ่ื ได้เส้นตามต้องการ ภาพที่ 6.6 ภาพเส้นหลงั จากการวาด
14 การใชง้ านกลุ่มเครือ่ งมอื ดินสอวาดภาพ เครื่องมือในกลุ่มวาดรูปด้วยดินสอ จะเป็นการใช้เมาสล์ ากได้อิสระจนเกดิ เป็นภาพเหมือนการวาดภาพลง ในกระดาษ แต่ผู้ใชง้ านตอ้ งมีความชำนาญพอสมควร โดยเคร่ืองมอื ท่ีเกย่ี วข้องกบั การวาดภาพดว้ ยดนิ สอมีดงั น้ี ภาพท่ี 6.7 ภาพกลุ่มเคร่ืองมือดินสอวาดภาพ 1. คลิกที่ Pencil Tool 2. กำหนดคา่ สแี ละเสน้ ที่ Option Bar 3. คลิกเมาสซ์ ้ายค้างไว้พร้อมลากจนเกิดรปู ภาพท่ตี ้องการ ภาพท่ี 6.7 ภาพจากการใช้เครื่องมือ Pencil Tool
15 วาดเสน้ ตรงดว้ ย Pen Tool การวาดเส้นตรงด้วย Pen Tool สามารถทำได้โดยการคลิกไปบนอาร์ตบอร์ด ก็จะได้เส้นตรงทันที โดยมี ข้นั ตอนดังน้ี 1. คลิกท่ี Pen Tool 2. คลกิ เพ่อื กำหนดจดุ เร่มิ ต้น หลังจากน้ันใหค้ ลกิ จดุ ตอ่ ไปเรือ่ ย ๆ จะเหน็ ว่ามเี ส้นพาธเปน็ เสน้ ตรง 3. คลิกไปเร่อื ย ๆ จนกลบั มาจุดเร่มิ ต้น Pen Tool จะแสดงสัญลกั ษณ์ 4. คลกิ บริเวณท่ีจุดเรม่ิ ตน้ แล้วเป็นพาธแบบปดิ ภาพที่ 6.7 ภาพเคร่ืองมือ Pen Tool ภาพที่ 6.8 ภาพการใช้เครือ่ งมือ Pen Tool ขณะที่วาดเส้นตรง สามารถกดปุ่ม <Shift> เพื่อควบคุมองศาของเส้นตรง เช่น เมื่อคลิกสร้างเส้นตรงใน แนวนอนจะได้เสน้ แนวราบ 180O คลิกแนวตั้งจะได้ 90Oหรอื คลิกในแนวเฉียงจะได้ 45
16 วาดเส้นโค้งดว้ ย Pen Tool การวาดเส้นโค้งด้วย Pen Tool จะต้องลากเมาส์เพื่อดึงจุด Direction ออกมาจาจุดที่คลิกเพื่อกำหนด ทิศทางของเสน้ โค้งและปรมิ าณความโค้ง แขน Direction ที่มีความยาวมากความโคง้ ของเสน้ จะมากตามไปดว้ ย การวาดเส้นโค้งรูปตัวยู (U) จะใช้วิธีการลากเมาส์สร้าง Direct Point ไปทิศทางตรงกันข้ามกัน โดย มี ขั้นตอนดงั นี้ 1. คลกิ แล้วลากเมาส์เฉยี งลงดา้ นลา่ ง เพ่ือสรา้ งแขน Direction 2. คลกิ แลว้ ลากเมาส์เฉยี งขึน้ ดา้ นบน เพอื่ สรา้ งแขน Direction จะเหน็ วา่ เส้นพาธเป็นรปู ตัว U ภาพท่ี 6.9 ภาพการวาดเส้นโคง้ ตัว U การวาดเส้นโคง้ รปู ตวั เอส (S) จะใชว้ ิธลี ากเมาส์สรา้ งแขน Direction ไปทศิ ทางเดียวกนั โดยมีขั้นตอนดงั นี้ 1. คลกิ แลว้ ลากเมาส์เฉียงลงด้านลา่ ง เพื่อสรา้ งแขนDirection 2. คลิกแลว้ ลากเมาส์เฉียงลงด้านลา่ งอีกครัง้ จะเห็นวา่ เสน้ พาธเปน็ รูปตัว S ภาพที่ 6.10 ภาพการวาดเส้นโค้งตวั S
17 ปรับแต่งภาพจาก Image Trace หลงั จากท่แี ปลงภาพถา่ ยเปน็ ภาพวาดแลว้ เราสามารถปรบั แต่งให้สวยงามขน้ึ ได้ โดยมีข้นั ตอนดงั นี้ 1. คลกิ Image Trace Panel ท่ี Option Bar 2. จะปรากฏหนา้ ต่าง Image Trace ใหก้ าหนดค่าของค าสัง่ ต่างๆ ตามตอ้ งการ 3. คลิก Expand ที่ Option Bar หากต้องการแยกช้ินสว่ น 4. จะปรากฏแต่ละชื้นส่วนที่แยกกันซึ่งถูกจัดกลุ่มอัตโนมัติ ให้ดับเบิ้ลคลิกที่ภาพ แล้วคลิกเลือกส่วนท่ี ตอ้ งการลบ จากนั้นกด <Delete> เพ่อื ลบสว่ นที่ไม่ตอ้ งการออก ภาพท่ี 6.11 ภาพปรับแต่งภาพจาก 5. ส่วนที่ลบจะหายไป และสามารถแก้ไขจุดแองเคอร์กับเส้นพาธได้ตามต้องการ โดยใช้ Direct Selection Too
18 การใชง้ านสใี น Adobe Illustrator A เราสามารถควบคมุ สแี ละกำหนดรูปแบบการลงสไี ดจ้ าก Tool Bar โดยมีสว่ นประกอบดงั น้ี B ดบั เบลิ คลกิ เพ่ือลงสพี นื้ (Fill) C ดบั เบลิ คลิกเพอ่ื ลงสีเส้น (Stroke) E ใช้สลับคา่ สีพ้ืนและสเี สน้ F ใชก้ ลบั ไปใช้สีเร่มิ ตน้ คือพ้ืนสีขาวและเส้นสีด า G เลือกลงสีแบบทึบ H เลอื กลงสีแบบไล่โทนสี ภาพที่ 6.12 ภาพการใชง้ านสี Color Picker เป็นหน้าตา่ งสำหรบั เลือกสี สามารถเรยี กใช้งานโดยดบั เบลิ คลิกที่ Fill ท่ี Tool Bar จากน้ัน กำหนดโหมดสที ตี่ ้องการใช้โทนสี และความเขา้ ของสีได้เอง โดยสว่ นประกอบของหนา้ ตา่ ง Color Picker มดี งั นี้ A เลอื กโทนสี B เลอื กความเขม้ ของสี C สใี หมท่ ่เี ลอื ก D สเี ดิมก่อนเลอื กสีใหม่ E เลือกการผสมสีตามโหมด HSB,RGB, CMYK หรือพมิ พ์โคด้ ของค่าสี F เลอื กใช้สจี ากพาเนล Swatches G คลกิ เพ่ือแสดงสีที่ใช้ในการออกแบบเว็บเท่านนั้ ภาพท่ี 6.13 ภาพการใชง้ านสี
19 การเลือกสีจากพาแนล การลงสโี ดยใช้พาเนล Color สามารถเลอื กลงไดท้ ง้ั สพี นื้ (Fill) และเส้น (Stroke) ได้ในพาเนลเดยี ว โดยไม่ ต้องกำหนดจากส่วนอื่น ๆ แต่จะต้องมีความแม่นยำเรื่องสี เนื่องจากต้องผสมสีขึ้นมาใช้เอง โดยส่วนประกอบของ พาเนล Color มีดังน้ี A สพี น้ื B สีเส้น C ส่วนของการผสมสี D ส่วนของคา่ สีเร่มิ ตน้ E เลอื กสีจากสเปกตรัมสี F ตวั เลอื กเพิ่มเติม Hide Option เลอื กใหพ้ าเนลไมแ่ สดงออปชนั Grayscale / RGB / CMYK / Web Safe RGB เลือกโหมสี Invert ใชเ้ ลอื กสีตรงกันข้ามกับสีที่เลือกอยู่ Complement ใชเ้ ลอื กสีใกล้เคยี งกับสีท่ใี ชอ้ ยู่ Create New Swatch นำสที เี่ ลือกไปใช้งานในพาเนล Swatches ภาพที่ 6.14 ภาพการเลือกสีจากพาแนล
20 การปรับแต่งภาพดว้ ยพาเนล Transparency การสร้างงานที่มีวัตถุซ้อนทับกัน จำเป็นต้องก าหนดความโปร่งใสของวัตถุ เพื่อทำให้ เกิดความสวยงาม เพิ่มมากข้ึน โดยมีขน้ั ตอนดังนี้วาดรูปรา่ งตามตอ้ งการ 1. วาดรปู ร่างอีก 1 ชิ้น และน ามาวางซ้อนกัน จากนน้ั คลิกเลอื กวัตถทุ ซ่ี อ้ นอยูด่ ้านบน 2. ไปทพี่ าเนล Transparency แล้วปรบั คา่ Opacity ตามความตอ้ งการ 3. วตั ถุท่ีอย่ดู า้ นบนจะโปร่งใสจนเหน็ วัตถุท่ีอยู่ดา้ นลา่ ง ภาพท่ี 6.15 ภาพการแตง่ ภาพด้วยพาแนล
21 การจัดการ Layers เลเยอร์ (Layer) คือ ชั้นของวัตถุที่เราสร้างขึ้นใน Illustrator โดยวัตถุแต่ละช้ินจะวางซ้อนกันตามลำดับ ซึ่งเลเยอร์ใน Illustrator ต่างจาก Photoshop เล็กน้อยคือ Photoshop 1 เลเยอร์ต่อ 1 วัตถุ แต่ใน Illustrator 1 เลเยอรจ์ ะมีกีว่ ตั ถกุ ็ได้ โดยวตั ถทุ ี่สร้างใหม่จะอย่ดู า้ นบนเสมอ โดยสว่ นประกอบของพาเนลเลเยอรม์ ีดงั น้ี A ซ่อนหรือแสดงผลวัตถุ B ล็อควัตถุเพ่อื ปอ้ งกนั การปรับแตง่ วตั ถใุ นเลเยอร์ C ส่วนของเลเยอร์ สามารถดบั เบล้ิ คลิกเพอ่ื เปลีย่ นชอื่ เลเยอรแ์ ละลากเมาสข์ น้ึ ลงเพอื่ จัดลำดับเลเยอร์ D คำส่ังทใี่ ช้จัดการเลเยอร์ Locate Object ค้นหาเลเยอร์ท่ที ำงานกับวตั ถทุ กี่ ำลังเลอื ก Make / Release Clipping Mask คลกิ เพ่ือสร้างหรือยกเลิกมาสก์ Create New Sublayer สร้างเลเยอรย์ อ่ ย Create New Layer สร้างเลเยอร์ใหม่ Delete Selection ลบเลเยอรท์ ีเ่ ลือก ภาพที่ 6.16 ภาพการจัดการ Leyer
22 การหมนุ วตั ถดุ ว้ ย Rotate Tool Rotate Tool ใชส้ ำหรับหมุนวัตถุ โดยเราสามารถก าหนดจดุ กงึ่ กลางในการหมุนได้โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี 1. ใช้ Selection Tool เลือกวตั ถุทต่ี อ้ งการหมุน 2. คลกิ ที่ Rotate Tool 3. คลิกบนรปู รา่ งเพอ่ื กำหนดจดุ กงึ่ กลางของการหมนุ ถา้ ไม่เลอื กจุดกึ่งกลางจะอยู่กลางภาพ 4. ลากเมาสเ์ พ่ือหมุนภาพไปในทศิ ทางทตี่ ้องการ ภาพที่ 6.17 ภาพหมุนวัตถุ
23 การกลบั ด้านวตั ถุด้วย Reflect Tool Reflect Tool ใช้กลับด้านวัตถุโดยการลากเมาส์ ลักษณะการใช้งานจะคล้ายกับ Selection Tool แต่ สามารถช่วยคงสัดส่วนเดมิ ของวตั ถุได้ โดยมขี ้นั ตอนดงั นี้ 1. ใช้ Selection Tool เลอื กวตั ถุท่ีตอ้ งการกลบั ด้าน 2. คลกิ ท่ี Reflect Tool 3. คลิกบรเิ วณทเ่ี ปน็ จุดอ้างอิงในการกลับด้าน ถา้ ไมค่ ลิกจะถกู กำหนดไวท้ ีจ่ ดุ กึ่งกลางวตั ถุ 4. กดปุ่ม <Shift> คา้ งไว้แล้วลากเมาสก์ ลับดา้ นวตั ถไุ ปยงั ทิศทางตรงกนั ข้าม 5. จะปรากฏวัตถทุ ่กี ลับดา้ น เราสามารถพลิกกับด้านวัตถุโดยการระบุองศาด้วยคำสั่ง Object -Transform-Reflect แล้วกำหนดแกน หรอื องศาที่ตอ้ งการกลับดา้ นวัตถุได้ ภาพที่ 6.18 ภาพกลบั ดา้ นวัตถุ
24 การสร้างตวั อักษร ข้อความสน้ั ๆ ทใ่ี ชป้ ระกอบภาพกราฟิก โดยเป็นขอ้ ความทต่ี อ้ งการความโดดเดน่ โดยมขี ้นั ตอนดงั นี้ 1. คลกิ Type Tool 2. กำหนด Character ที่ Option Bar 3. คลิกบนอารต์ บอรด์ แลว้ พมิ พข์ ้อความตามต้องการ 4. เมื่อพิมพข์ อ้ ความเสรจ็ แลว้ ใหก้ ดปุ่ม <Ctrl + Enter> ภาพท่ี 6.19 ภาพการพิมพ์ข้อความ
25 การ Export 1. ไปที่ File Export 2. เลือกท่ีเก็บไฟล์ 3. ตั้งช่อื ไฟลต์ ามตอ้ งการ 4. เลอื กรูปแบบไฟล์ทีต่ อ้ งการ 5. คลิก Export ภาพท่ี 6.20 ภาพการ Export
26 อ้างอิง https://www.adobe.com/ https://helpx.adobe.com/illustrator/using/creating-pdf-files.html http://jsbg.joseph.ac.th/ https://th.phhsnews.com/ https://tpd.dtam.moph.go.th/
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: