Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประเมิน

คู่มือการประเมิน

Published by aynfetest, 2020-05-08 00:14:07

Description: แนวทางการประเมินรอบสี่

Search

Read the Text Version

ได้อะไร ???? จากการอบรม อธิวรรธน์ พยอมใหม่ รุ่น 6 ณ โรงแรมไมดา้ นนทบุรี ก่อนเขา้ รับการอบรม...ลา้ งขอ้ มูลใหส้ มองมนั วา่ งจากขอ้ มลู ความรู้เดิม ความเขา้ ใจเดิม (เกบ็ มนั ไวใ้ นแกว้ อีกใบ หน่ึง ) ... เขา้ อบรมมีแกว้ ท่ีวา่ งเปล่าเตรียมรับน้าท่ีเป็นความรู้ความเขา้ ใจใหม่...คอยเฝ้ าดูวา่ สิ่งใหมๆ่ ที่เขา้ มามนั ตา่ งจากสิ่งเก่าๆ ที่เรามีอยา่ งไรบา้ ง...เอาส่ิงท่ีไดร้ ับมาใหม่ ผสมกบั สิ่งเก่าๆที่มีอยสู่ ร้างเป็นองคค์ วามรู้อีกชิ้นหน่ึงซ่ึงเป็นชุดความรู้ที่จะนาพา ใหเ้ ราเผชิญกบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ีไดอ้ ยา่ งสบายๆ 1. แนวทางการประเมินรอบสี่ ( พ.ศ.2559 – 2563 ) ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1.1 เนน้ ประเมินผลลพั ธ์จากการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 1.2 ผลการประเมินไมต่ ดั สิน ได้ ตก แต่มุ่งใหส้ ถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพ 1.3 การตรวจสอสอบเนน้ เชิงคุณภาพมากกวา่ เชิงปริมาณ 1.4 ประเมินคถณภาพโดยผเู้ ชี่ยวชาญ ( Expert judgment ) 1.5 ผลการประเมินมีระดบั คุณภาพ 5 ระดบั พิจารณาจากเกณฑ์ 4 มิติ 1.6 กระบวนการประเมิน 3 ข้นั ตอน ( ก่อนประเมิน ระหวา่ งประเมิน หลงั ประเมิน ) 2. หวั ใจหลกั ในการประเมนิ รอบส่ี 2.1 การวเิ คราะห์ SAR : การวเิ คราะห์SAR รอบสี่น้ีวเิ คราะห์ก่อนการประเมินโดยใชห้ ลกั การเช่ือมโยง ระหวา่ ง IQA กบั EQA นนั่ คือ ประเดน็ จากSAR วเิ คราะห์ผา่ นเกณฑพ์ จิ ารณา 4 มิติของ สมศ. แลว้ เทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คุณภาพภายนอก 5 ระดบั เพอื่ ทารายงานขอเขา้ ตรวจเยย่ี มสถานศึกษาใน 3 รูปแบบ และเพอ่ื ยนื ยนั ผลลพั ธ์จากการประกนั คุณภาพภายใน จากคณะผปู้ ระเมิน ( 3 องคป์ ระกอบ ) 1) ประเดน็ จาก SAR คือ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี และตวั ช้ีวดั ของสถานศึกษา ( กฎกระทรวงฯ กาหนดใหส้ ถานศึกษาจดั ทามาตรฐาน ตวั ช้ีวดั ตามบริบทของสถานศึกษาเอง ) 2) เกณฑก์ ารพิจารณา 4 มิติ ไดแ้ ก่ มิติท่ี 1 ความเป็นระบบ เหมาะสม เป็นไปได้ ( ดา้ นผเู้ รียนไม่ตอ้ งพิจารณาระบบ ) หลกั การพจิ ารณา พจิ ารณาจากความครบถว้ น ถูกตอ้ ง สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน/นโยบาย ตน้ สังกดั / บริบทของสถานศึกษา

มิติที่ 2 ความเชื่อถือได้ หลกั การพิจารณา พิจารณาจากผลการประเมินในSAR กบั ที่มาของผลการประเมินจาก กระบวนการประเมินภายในของสถานศึกษา และผลการตรวจสอบจากสภาพจริงเชิงประจกั ษ์ แลว้ พิจารณาความสอดคลอ้ ง ของผลการตดั สินของคณะผปู้ ระเมิน( Expert judgment ) กบั ผลใน SAR ( ถา้ ระดบั แตกต่างกนั ไม่เกิน 1 ระดบั ถือวา่ สอดคลอ้ ง ) มิติที่ 3 ประสิทธิผล หลกั การพจิ ารณา พิจารณาจากผลการดาเนินงานตามแผน โครงการ กิจกรรม ท่ีมีผลการ ดาเนินงานเป็นไปตามเป้ าหมาย ( บรรลุเป้ าหมายตามแผน และผเู้ กี่ยวขอ้ งมีความพึงพอใจ ) และพิจารณาพฒั นาการที่เกิดข้ึน อยา่ งตอ่ เนื่อง มิติท่ี 4 นวตั กรรม หรือ การปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ งท่ีดี หลกั การพจิ ารณา พิจารณาจากสถานศึกษามีนววตั กรรม หรือ การปฏิบตั ิที่เป็นแบบอยา่ งท่ีดี มีผลท่ีเกิดข้ึนอยา่ งยงั่ ยนื ในแตล่ ะดา้ น ( ผเู้ รียน ครู การบริหาร การประกนั คุณภาพภายใน ) อยา่ งไรบา้ ง มีหลกั ฐานยนื ยนั เป็นที่ยอมรับจากใคร ที่ไหน 3) รูปแบบการเขา้ ตรวจเยย่ี มสถานศึกษา 3 รูปแบบ การพิจารณาตดั สินวา่ จะเขา้ ตรวจเยยี่ ม สถานศึกษารูปแบบใด ดูจากผลการวเิ คราะห์ SAR วา่ เรามีประเด็นใดบา้ งท่ีจะตอ้ งเก็บขอ้ มูลเพ่มิ เติม ตอ้ งแสดงอยา่ ง สมเหตุสมผล เสนอตอ่ คณะกรรมการ สมศ. ( ค่าตอบแทนแปรผนั ตามรูปแบบ ) รูปแบบท่ี 1 ไมต่ อ้ งออกตรวจเยยี่ ม รูปแบบที่ 2 ออกตรวจเยยี่ ม 1 – 2 วนั รูปแบบที่ 3 ออกตรวจเยยี่ มเตม็ รูปแบบ 3 วนั 4) คณะผปู้ ระเมิน ( Expert judgment ) ประกอบดว้ ย ผทู้ รงคุณวฒุ ิจาก สมศ. / ผแู้ ทนจากตน้ สงั กดั / ผมู้ ีประสบการณ์การบริหาร โดย ผทู้ รงคุณวฒุ ิฯ มีตาแหน่งเป็นประธานกรรมการ ส่วนตาแหน่งเลขานุการพิจารณาจาก 2 องคป์ ระกอบ 1 ท่าน ที่เหลือเป็นกรรมการ 5) คา่ ตอบแทน เป็นแบบเหมารวมในสถานศึกษาแต่ละแห่ง ค่าตอบแทนต่างกนั ไปตามรูปแบบการ เขา้ ตรวจเยยี่ มสถานศึกษา 3 วนั > 2 วนั > 1 วนั > ไมต่ รวจเยยี่ ม ( คา่ ตอบแทนยงั ไม่น่ิง )

2.2 การเป็นผปู้ ระเมินเชี่ยวชาญ : การจะเป็นผเู้ ช่ียวชาญ ( Expert judgment ) ตอ้ งมีความแตกฉาน 3 เรื่อง 1) ดา้ นความรู้ : ระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมิน ท้งั IQA และ EQA / กฎหมาย / นโยบาย ทางการศึกษาภาครัฐ ตน้ สังกดั / การบริหารสถานศึกษาโดยใชห้ ลกั ประกนั คุณภาพภายใน / การจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั และการวดั ประเมินผลการเรียนรู้ 2) ดา้ นความสามารถ : มีทกั ษะ 4 ดา้ น ดา้ นที่ 1 ทกั ษะการส่ือสาร ( อา่ น / เขียน / ฟัง / พดู ) ดา้ นที่ 2 ทกั ษะการคิด ( คิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วจิ ารณญาณ เป็นระบบ ) ดา้ นที่ 3 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี ( ระบบ AQA ) ดา้ นที่ 4 ทกั ษะมนุษย์ ( หลกั มนุษยสมั พนั ธ์ ) 3) ดา้ นบุคลิกภาพ ( กาย วาจา ใจ ) หลกั ปฏิบตั ิกลั ยาณมิตร / จรรยาบรรณผปู้ ระเมิน 3. กระบวนการประเมิน 3 ระยะ ( เมื่อมีปฏิทินการประเมินภายนอก ) 3.1 ระยะที่ 1 กระบวนการก่อนเขา้ ตรวจเยยี่ ม 1) วเิ คราะห์ SAR เพ่ือยนื ยนั สภาพจริง ขอ้ มลู เพิ่มเติมเพือ่ เขา้ ตรวจเยยี่ ม 2) ทารายงานเสนอคณะกรรมการ สมศ. อนุมตั ิ การตรวจเยย่ี มสถานศึกษา 1 ใน 3 รูปแบบ 3) ถา้ ไดร้ ับการอนุมตั ิใหอ้ อกตรวจเยยี่ ม จะไดร้ ับค่าตอบแทน ระยะ 1 ( 50 % ) 4) คณะผปู้ ระเมินประชุมวางแผนการเขา้ ตรวจเยยี่ ม 3.2 ระยะที่ 2 กระบวนการระหวา่ งตรวจเยย่ี ม 1) เขา้ ตรวจเยยี่ มตามเวลาท่ีกาหนด ( ไมช่ า้ ไมเ่ ร็วเกินไป ) 2) แนะนาคณะกรรมการประเมิน / ช้ีแจงวตั ถุประสงค์ / กระบวนการประเมิน / ประเด็นการ ประเมิน / ระยะเวลาตรวจเยยี่ ม 3) ดาเนินการตรวจเยย่ี มเกบ็ รวมรวมขอ้ มูลประเด็นที่ตอ้ งการ บนั ทึกภาคสนามตามแบบ สมศ.

ตามกาหนดการ 4) ประชุม / วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ / สรุปผลการประเมินร่วมกนั 5) รายงานผลการประเมินดว้ ยวาจาต่อสถานศึกษา 3.3 ระยะท่ี 3 กระบวนการหลงั การตรวจเยยี่ ม 1) จดั ทาร่างรายงานส่งมายงั สถานศึกษาเพอื่ ตรวจสอบความถูกตอ้ งในผลการประเมิน หากมี ความเห็นตา่ งในผลการประเมินใหส้ ถานศึกษาแสดงขอ้ โตแ้ ยง้ เอกสารหลกั ฐานเพิ่มเติมได้ คณะผปู้ ระเมินประชุมตดั สิน ปรับแกผ้ ล หรือยนื ยยั ผลการประเมิน แลว้ จดั ทารายงายเสนอต่อคณะกรรมการ สมศ. พจิ ารณาตอ่ ไป 2) หากการพิจารณาตรวจสอบรายงานผลการประเมินจากคณะกรรมการ สมศ. เรียบร้อย จะได้ ค่าตอบแทน ระยะท่ี 2 อีก ( 50 % ) ถา้ ยงั ไมเ่ รียบร้อยตอ้ งมีการปรับแกใ้ หเ้ รียบร้อยตามกาหนดเวลา 3) หากส่งรายงานไมต่ รงเวลาจะมีการปรับ ร้อยละ 0.1 ของเงินค่าตอบแทน / วนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook