Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1. แนวคิด ปรัชญา R2R_26062566

1. แนวคิด ปรัชญา R2R_26062566

Published by คเณศ หนูน้อย, 2023-07-03 04:33:07

Description: 1. แนวคิด ปรัชญา R2R_26062566

Keywords: R2R

Search

Read the Text Version

การพัฒนางานประจา (R) สู่ (2) งานวิจัย (R) สาลี อินทร์เจริญ วิท ยา จ า ร ย์ ชานา ญกา ร พิเ ศษ ว ท . บ . ( ส า ธ า ร ณ สุ ข ชุ ม ช น ) , ว ท . ม . ( อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ) , ส . ด . วิท ยา ลั ยกา ร ส า ธ า ร ณ สุ ขสิริ นธร จั ง ห วัด ต รั ง คณ ะ ส า ธา ร ณสุ ขศา ส ตร์ และส หเวชศา ส ตร์ ส ถา บันพร ะ บร มร า ชชนก 1

OUTLINE  แนวคดิ และหลกั การ R2R  การใช้ R2R เป็นเครอ่ื งมือในการพัฒนาคนเพอื่ พฒั นางานประจา  แนวทางการเขยี นโครงรา่ ง R2R  การนาเสนอและวิพากษ์ R2R  การสืบค้นและตวั อย่าง R2R ในหน่วยงานสาธารณสุข  ฝกึ ปฏิบตั ิการกล่มุ เขยี นโครงรา่ ง R2R/การนาเสนอ/การวิพากษ์ 2

Assumption  พ้นื ฐานการทาวจิ ยั ผลงานวชิ าการ แตกตา่ งกนั  ขอบเขตของการอบรมดาเนนิ การจนถงึ โครงรา่ ง R2R  การจัดทาโครงร่าง การนาเสนอ และการวิพากษ์ สร้างสรรคเ์ พื่อการพฒั นา  รูปแบบโครงร่าง แนวทางการวิพากษ์ และให้ข้อเสนอแนะ อาจแตกต่างกันตาม แนวคิด 3

Routine 4

Research 5

ท่านประสบปญั หาเหลา่ น้หี รอื ไม่ - ตัวชวี้ ัดงานท่รี บั ผดิ ชอบไมผ่ ่านเกณฑ์ - งานประจาทใี่ ห้บรกิ ารใช้เวลานาน ใชบ้ ุคลากรเยอะ ใช้งบประมาณสงู - ทางานอยทู่ กุ ปีแตอ่ ุบตั กิ ารณ์โรคยงั คงเพมิ่ ขน้ึ ตอ่ เนื่อง - ผลงานวชิ าการเป็นตัวชี้วัดของหนว่ ยงานแตไ่ ม่มคี นทา/ทานอ้ ย/คนเดมิ ทา - อยากประกวดผลงานในเวทีวชิ าการแต่ไมร่ ู้จะลงมือทาอย่างไร - อยากลงมอื ทาเพ่อื ส่ง อวช. แตไ่ มร่ ้จู ะเริ่มอย่างไร 6

OUTLINE  แนวคดิ และหลกั การ R2R  การใช้ R2R เป็นเครอ่ื งมือในการพฒั นาคนเพ่ือพฒั นางานประจา  แนวทางการเขยี นโครงรา่ ง R2R  การนาเสนอและวิพากษ์ R2R  การสืบค้นและตวั อย่าง R2R ในหน่วยงานสาธารณสขุ  ฝกึ ปฏิบตั ิการกล่มุ เขยี นโครงร่าง R2R/การนาเสนอ/การวพิ ากษ์ 7

ความหมาย การวจิ ัย (Research) หมายถึง กระบวนการศึกษาท่ีดาเนินไปอย่างมีระบบและกฎเกณฑ์ ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และตีความหมายของข้อมูล เพ่ือให้ได้มาซ่ึง คาตอบที่ถูกตอ้ งต่อปัญหาหรอื คาถามวิจยั ที่ตัง้ ไว้ (เทยี มจนั ทร์ พานชิ ย์ผลนิ ไชย, 2559) 8

ความหมาย การวิจัย (Research) หมายถึง การกระทาของมนุษย์ เพื่อค้นหาความจริงในส่ิงใดสิ่งหนึ่งที่กระทา ด้วยพ้ืนฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทาวิจัย ได้แก่ การค้นพบ (Discovering), การแปลความหมาย และการพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่างๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีหลากหลายในโลก และจักรวาล การวิจยั อาจต้องใชห้ รอื ไม่ตอ้ งใชว้ ธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์กไ็ ด้ (นิภาพร ลครวงศ์, 2561) 9

Routine to Research (R2R) ค้นหาความจริง Routine to Research (R2R) การค้นพบ “การทาวิจยั ในงานประจา” หรือ “การพฒั นางาน ประจาดว้ ยกระบวนการวิจัย การแปล ความหมาย สคู่ วามกา้ วหน้าในความรู้ดา้ นตา่ งๆ การพัฒนากรรมวิธี และระบบ 10

Routine to Research (R2R) ความเป็นมาของ R2R การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research) เป็นคาท่ี ศาตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช เป็นผู้บัญญัติ ข้ึนครั้งแรกให้กับ โครงการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล 11

ความหมาย R2R หมายถงึ การทางานวิจยั จากงานประจา หรืองานประจาจนเป็นงานวิจยั โดย มุ่งเน้นท่ีจะนาการวิจัยไปพัฒนาการทางานประจาของตนให้ดีข้ึน ไม่เน้น ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ (เทยี มจันทร์ พานชิ ย์ผลนิ ไชย, 2559) 12

ทาไมต้องทา R2R - ต้องการพฒั นางานและตนเอง - มีงานท่ตี อ้ งทาให้ดขี ้นึ - ตอบดว้ ยสามัญสานึกไมไ่ ด้ - ต้องการคาตอบที่แมน่ ยา เชอ่ื ถอื ได้ 14

แนวคิดหลกั ของ R2R - มีเปา้ หมายเพือ่ ทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ - ทาลาย อคติ สาคญั 3 เร่ือง ◦ งานวิจัยเป็นเร่ืองยาก ◦ งานวิจยั เปน็ เรอื่ งใหญ่ ต้องมีโครงการและทนุ วิจัย ◦ งานวจิ ัยเป็นเรื่องของนกั วิจยั ไมใ่ ชเ่ จา้ หนา้ ทที่ ่ที างาน 15

ผลลัพธข์ อง R2R - ไม่ได้มุ่งหวังเพียงแค่ได้ผลงานวิจัยเท่าน้ัน แต่มีเป้าหมายท่ีจะนาผลวิจัย R2R ไปใช้พฒั นางานประจาน้ันๆ ด้วย - พฒั นางานประจาท่ที าทกุ วัน ใหเ้ ป็นผลงานวจิ ัย - เปลย่ี นปญั หาหน้างาน ใหเ้ ปน็ ผลงานวจิ ยั 16

ลักษณะของ R2R - เรมิ่ จากปัญหา/คาถามวจิ ยั ท่ไี ด้จากหนา้ งาน หรอื งานประจา - มเี ปา้ หมายชดั เจนว่าจะแกไ้ ขปญั หา พฒั นา หรือขยายผล - พสิ จู น์หาคาตอบด้วยวิธีการทนี่ ่าเชื่อถือ - ช่วยพัฒนาข้อมลู ฐานข้อมลู ใหเ้ กิดประโยชน์ - ยืดหยุน่ ในรูปแบบการวิจัย (ไมม่ รี ูปแบบตายตัว) - เปดิ พนื้ ท่ีสาหรบั แนวคดิ ใหมๆ่ ในการทางาน - สร้างเสรมิ ศกั ยภาพคนทางาน - เปน็ เคร่ืองมอื ที่ชว่ ยคนทางานในการสร้างความรู้ - ถา้ ผลงานได้รบั การตพี มิ พ์เผยแพร่ กจ็ ะเปน็ ผลลัพธท์ ีเ่ พ่ิมคณุ คา่ 17

องค์ประกอบทสี่ าคัญของ R2R 1. โจทย์วิจัย R2R มาจากปัญหาหน้างาน มาจากงานประจา และต้องการ พัฒนาใหด้ ีขนึ้ 2. ผู้วจิ ัยตอ้ งเปน็ ผทู้ างานประจาน้นั เอง และทาหนา้ ทห่ี ลักในการวิจยั 3. ผลลัพธ์งานวิจัย เช่น ลดขั้นตอนการทางาน การให้บริการดีข้ึน แก้ปัญหา งานประจาได้ 4. การนาผลการวจิ ัยไปใช้ นาไปปรบั ปรงุ การทางานและการบริการใหด้ ขี นึ้ 18

OUTLINE  แนวคดิ และหลักการ R2R  การใช้ R2R เป็นเครื่องมือในการพฒั นาคนเพอ่ื พฒั นางานประจา  แนวทางการเขียนโครงรา่ ง R2R  การนาเสนอและวิพากษ์ R2R  การสบื คน้ และตวั อย่าง R2R ในหนว่ ยงานสาธารณสขุ  ฝึกปฏบิ ตั กิ ารกลุม่ เขียนโครงรา่ ง R2R/การนาเสนอ/การวิพากษ์ 19

R2R เครือ่ งมอื ในการพฒั นาคนเพื่อพัฒนางานประจา “R2R เครอ่ื งมือเสรมิ พลังสรา้ งสขุ ภาวะสสู่ ขุ ภาวะ” “R2R เปน็ เครือ่ งมือท่กี ่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงขัน้ พืน้ ฐาน (transformation) ทง้ั ระดบั บคุ คล ระดบั องคก์ าร และระดบั สังคม จึงเปน็ เคร่อื งมอื ทม่ี ีคุณค่ายิ่งตอ่ มนุษยชาติ” (ศาสตราจารยน์ ายแพทย์ ประเวศ วะสี) 20

R2R เครื่องมอื ในการพฒั นาคนเพอ่ื พัฒนางานประจา - R2R จะทาให้การสร้างหรือการผลิตความรู้เกิดขึ้นได้ทุกหน่วยงาน ทาให้ เป็นองค์กรทเี่ รยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง โดยใชก้ ารวิจัยเป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้ - R2R จึงเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคน เพ่ือพัฒนางานขับเคลื่อนองค์กร สู่ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ (Learning Organization) 21

ประโยชน์ของ R2R ❑ ประโยชน์ต่อ “งาน” คือ เกิดการพัฒนางานที่เป็นภารกิจหลักท้ังของ บุคคล ของหน่วยงาน และขององค์การให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ได้ กาหนดไว้อย่างประหยดั และมีประสทิ ธภิ าพ 22

ประโยชน์ของ R2R ❑ ประโยชนต์ อ่ “คน” คือ ▪ ไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพที่ดี สะดวก งา่ ย ตรงกบั ตอ้ งการของตน ▪ ได้ผลงานวิชาการท่ีทรงคุณค่าสามารถนาไปใช้ในการเสริมสร้าง ความกา้ วหน้าของตนได้ ▪ มีความสขุ ในทางานเกิดความรักงานนาไปสู่ความรกั และภกั ดตี อ่ องค์การ ▪ ไดอ้ งค์ความรทู้ ม่ี ีคณุ คา่ ทง้ั จากการศึกษาค้นคว้าและจากการลงมอื ปฏิบัติ ซง่ึ เป็นองค์ความรทู้ จี่ ะตดิ ตวั ไปตลอดชีวติ 23

ประโยชนข์ อง R2R ❑ ประโยชนต์ อ่ “หน่วยงาน” คอื ▪ ไดค้ นทีม่ ีคุณภาพอย่ใู นหน่วยงาน ▪ ได้กระบวนการพัฒนาคนด้วยการปฏิบัติงานประจาวันท่ีสะดวกง่ายสอดคล้องกับ บริบทและงาน ตรงกับความตอ้ งการของผ้รู ับบริการผู้ปฏบิ ัติงาน ผบู้ รหิ าร และสังคม ▪ ได้ผลการดาเนนิ งานดี โดยเฉพาะผลการดาเนนิ งานตามภารกจิ หลกั ▪ ไดผ้ ลงานวิชาการทมี่ ีคณุ คา่ ทง้ั ตอ่ หน่วยงานตอ่ สงั คม และต่อประเทศชาติ ▪ มีบรรยากาศองค์การทด่ี ี สบื เน่ืองจากบคุ ลากรมีความสุขในการทางาน 24

ผู้บริหารกับการพฒั นางาน R2R ทม่ี า: Meta R2R กญุ แจ ไขประตสู ู่นโยบาย 25

OUTLINE  แนวคดิ และหลักการ R2R  การใช้ R2R เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคนเพอ่ื พฒั นางานประจา  แนวทางการเขียนโครงรา่ ง R2R  การนาเสนอและวิพากษ์ R2R  การสบื คน้ และตวั อย่าง R2R ในหน่วยงานสาธารณสขุ  ฝึกปฏบิ ตั กิ ารกลุม่ เขียนโครงรา่ ง R2R/การนาเสนอ/การวพิ ากษ์ 26

แนวทางการเขียนโครงร่าง R2R การเขียนโครงร่างการวิจัย คือ การเขียนแผนเพื่อการทาวิจัย ในการทา วิจยั แบบเต็มรปู แบบ หรือในข้ันตอนการทาวิจยั ท่ถี ูกตอ้ ง ต้องเขียนโครงรา่ ง การวิจัยหลังจากการกาหนดชื่อเร่ืองวิจัย และทบทวนวรรณกรรม จนเข้าใจ ในเรือ่ งทจ่ี ะวจิ ัยดแี ล้ว 27

การออกแบบการวิจยั R2R คุณค่าของการนาไปใชป้ ระโยชน์ คาถามการวิจยั จะเป็นตัวชีน้ าไปส่กู ารตดั สนิ ใจในการออกแบบรปู แบบการวิจยั ระเบียบวิธีวิจัยท่ใี ช้โดยนกั วิชาการทว่ั ไปรวมถงึ : * การวิจยั ขนั้ ปฐมภมู ิ : Primary Research ▪ การวิจยั เชิงปฏิบตั ิ คือ ชนดิ ของการวิจัยที่ออกไปเก็บขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง ไมว่ ่าจะทาแบบ ▪ ชาติพันธว์ุ รรณา ▪ วิธีเดลฟาย สารวจ การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม หรือการสังเกตการณ์ “เป็น ▪ การวิเคราะหเ์ ชงิ สถิติ ▪ การจาลอง หรอื ซีมิวเลชัน พน้ื ฐานทีส่ าคัญของการทาวิจยั ” ▪ แบบจาลอง พบมากใน Survey, Descriptive Research ▪ แบบจาลองคณติ ศาสตร์ R2R ▪ การสมั ภาษณ์ ▪ แบบสอบถาม ** การวิจยั ขั้นทุติยภมู ิ : Secondary Research ▪ การทาแผนท่ี (Cartography) เป็นข้ันตอนของการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่มีอยู่ การวิจัยขั้นน้ี ▪ กรณศี ึกษา (Case study) ▪ การจาแนกประเภท (Classification) ▪ การวิเคราะหข์ ้ออ้างอิง (Citation Analysis) ▪ การถอื ชาติพันธุ์ของผูบ้ รโิ ภค (Consumer ethnocentrism) และ CETSCALE จะเป็นลักษณะหลักของ Systematic review โดยการนาเครื่องมือ ▪ ตัวบทหรอื การวิเคราะห์ตัวบท (Content or Textual Analysis) ทางสถิติมาวิเคราะห์ ▪ ประสบการณ์ (Experience) ▪ การรู้เอง (intuition) ▪ การทดลอง (Experiment) วิจัยเชงิ เปรยี บเทียบ และวิจยั เชงิ พฒั นา ▪ การสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ ม (Participant observation) พบมากใน Quasi-Experimental Research / ▪ ปรากฏการณ์วทิ ยา (Phenomenology) R2R Randomized Comparative Trial / Action Research ▪ วิธีวิทยาควิ (Q methodology) ▪ การสารวจเชิงสถติ ิ (Statistical survey 28

งานประ PDCA คณุ ลกั ษณะของ R2R Action Research จามี GAP Plan 1. คาถามการวิจัยมาจากงาน Plan หรือมี Do ประจา Action ปัญหาที่ Check 2. ผวู้ ิจัย คือ คนทีท่ างานประจาน้นั ตอ้ งอาศยั Act 3. กลุ่มตัวอย่าง คอื ผู้รบั บริการ Observation การแก้ หรือเกีย่ วขอ้ งกบั งานประจานนั้ Reflection ไขอยา่ งเปน็ 4. ผลการวิจัยต้องนากลับใช้ในงาน วจิ ยั เชิงเปรียบเทียบ ระบบ ประจา มี Intervention วจิ ัยและพฒั นา (R&D) มีความเปน็ มาของเนือ้ งาน มีคาถามการวจิ ัยชัดเจน มีการทบทวนวรรณกรรม 29 มีขอ้ มูลหรือสถติ ิสนับสนนุ มีรปู แบบการวจิ ยั เขียนสะท้อน GAP และวเิ คราะห์ มีเครือ่ งมือในการเกบ็ ขอ้ มลู สาเหตุของการเกิด GAP วเิ คราะหผ์ ลและสรุปผล อธบิ ายสิ่งที่จะทาโดยสะท้อนถงึ การทบทวนวรรณกรรม

แนวทางการเขียนโครงร่าง R2R กรอบแนวคดิ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ช่ือเร่อื งวจิ ัย ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา การทบทวนวรรณกรรม วธิ ีดาเนินการวิจัย วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย คาถามการวิจัย/สมมตุ ิฐานการวจิ ยั 30 ขอบเขตของการวจิ ัย

ชอื่ เรอื่ งวิจัย ชอ่ื เรอื่ งวจิ ยั เป็นการสอ่ื ความหมายให้ทราบถึงเร่ืองท่ีจะทาวจิ ยั และระเบยี บการวจิ ัย 1. ต้ังชื่อเรอ่ื งให้สั้น ใชค้ าทีเ่ ฉพาะเจาะจง เป็นภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย กะทัดรัด 2. ตง้ั ชื่อให้ตรงกับประเดน็ ของปัญหา 3. ตง้ั ชื่อเร่ืองโดยการใชค้ าท่บี ง่ บอกให้ทราบถึงประเภทของการวจิ ยั 4. ต้งั ชอื่ เร่อื งในลักษณะของคานาม 5. ต้ังชอ่ื เรื่องทป่ี ระกอบดว้ ยขอ้ ความเรยี งท่สี ละสลวยไดใ้ จความสมบรู ณ์ 31

ช่ือเร่อื งวิจัย ปญั หาท่พี บในการตัง้ ชือ่ เรอ่ื ง o ไม่สอดคลอ้ งกับปญั หา หรอื วัตถปุ ระสงค์ o ชอื่ เรอื่ งแคบและไม่ครอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ o ไมร่ ะบุกลุ่มศึกษา สถานทศี่ ึกษา o ใชค้ าฟุ่มเฟอื ย (สนุ ารี เนาวส์ ขุ , 2558) 32

ระบบ หมายถึง กระบวนการยกระดับการดาเนินงาน องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) (วาโร เพ็งสวัสด,์ิ 2553) 33

รูปแบบ หมายถึง กรอบความคิดทางดานหลักการ วิธีการดาเนินงาน และเกณฑตางๆ ทีส่ ามารถยดึ ถอื เปนแนวทางในการดาเนินงานเพือ่ ใหบรรลุตามวัตถุประสงคได แนวปฏิบตั ิ หมายถึง วิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ หรอื นาไปสเู่ ปา้ หมาย (วาโร เพง็ สวสั ด,์ิ 2553) 34

แนวทาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่วางไว้เป็นแนว หรือวิธีการดาเนินการเพ่ือตอบสนอง ขอ้ กาหนดของในเกณฑต์ า่ งๆ ข้นั ตอน หมายถึง รายละเอียดต่างๆ ของกระบวนการท่ีเป็นลาดบั เรยี งกนั ไป (วาโร เพง็ สวสั ด,์ิ 2553 35

สรปุ การใช้คา ระบบ รูปแบบ แนวปฏิบตั ิ แนวทาง ขั้นตอน คา ความหมาย ระบบ กระบวนการยกระดบั การดาเนนิ งาน องคป์ ระกอบของระบบ ประกอบด้วย ปจั จัยนาเข้า (Input) รูปแบบ กระบวนการ (Process) และผลผลติ (Output) แนวปฏบิ ัติ กรอบความคิดทางดานหลักการ วธิ กี ารดาเนนิ งาน และเกณฑตางๆ ทสี่ ามารถยดึ ถอื เปนแนวทางในการ แนวทาง ดาเนนิ งานเพอ่ื ใหบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคได ขน้ั ตอน วิธีปฏบิ ัตหิ รอื ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติทีท่ าให้องคก์ รประสบความสาเร็จหรือนาไปสูเ่ ปา้ หมาย ทางปฏิบัตทิ ี่วางไว้เปน็ แนว หรอื วิธกี ารดาเนนิ การเพื่อตอบสนองขอ้ กาหนดของในเกณฑ์ตา่ งๆ รายละเอียดตา่ งๆ ของกระบวนการท่ีเปน็ ลาดับเรยี งกนั ไป 36

การเขียนความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา กล่าวถึงภูมิหลังและท่ีมาของปัญหาท่ีจะทาการวิจัย ช้ีให้เห็นความจาเป็นท่ีต้องทา การวิจยั เรอ่ื งนี้ นยิ มเขยี นในลกั ษณะของหลกั การและเหตุผล แล้วขมวดหรือเชื่อมโยง มาสู่วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย 37

การเขยี นความเปน็ มาและความสาคญั ของงานวจิ ยั ปญั หาทพี่ บในการเขียนความเป็นมาและความสาคญั ของงานวจิ ยั o กลา่ วถงึ ภาพท่วั ไป ๆ ของปัญหามาก o ไมบ่ อกเหตุผล o ไมม่ ีข้อมูลสนับสนนุ o ขาดการศกึ ษาระบบ o ขาดการวิเคราะห์สาเหตุ o ขาดการลงดสู ภาพการณจ์ ริง (สุนารี เนาวส์ ุข, 2558) 38

การเขียนวัตถุประสงคข์ องการวิจัย o เพอื่ กาหนดประเด็นปญั หาของการวิจัย o เพือ่ กาหนดแนวทางของการวจิ ยั o เพื่อกาหนดขอบเขตของการวจิ ัย Specific ตอ้ งมคี วามจาเพาะเจาะจงในการดาเนนิ โครงการ Measurable ต้องสามารถวัดและประเมินผลได้ Achievement ระบผุ ลสัมฤทธิ์หรือผลสาเร็จได้ Reasonable ต้องมีความเปน็ เหตุเป็นผลในการปฏิบตั สิ อดคลอ้ งกับความเปน็ จริง Time ตอ้ งมีขอบเขตของเวลาท่แี นน่ อนในการปฏบิ ัตงิ าน 39

การเขยี นวัตถุประสงค์ของการวิจัย ปญั หาที่พบในการเขียนวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั o วัตถุประสงคม์ ากเกินไป (> 3 ข้อ) o วตั ถุประสงคไ์ ม่นา่ จะตอบได้ o วัตถปุ ระสงคห์ ลักไมไ่ ด้อยูข่ อ้ แรก o เขยี นไมถ่ กู ตอ้ ง (สนุ ารี เนาว์สขุ , 2558) 40

การเขยี นคาถามการวจิ ยั คาถามวิจัยของงาน R2R ต้องมาจากงานประจา เป็นการแก้ปัญหาหรือพัฒนา งานประจา 41

การเขียนสมมตุ ิฐานการวจิ ยั (ถ้าม)ี เป็นการคาดการณ์คาตอบไว้ล่วงหน้า โดยอาศัยประสบการณ์ แนวคิด ทฤษฎี หรอื ผลงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้องกัน 42

การเขียนขอบเขตการวจิ ัย การระบุขอบเขตของการวจิ ัย สถานทห่ี รอื พ้นื ท่ีทาการศึกษา ระยะเวลา หรอื ช่วงเวลาท่ีทาการวิจัย ขอบเขตของประชากร และตวั แปรทที่ าการศกึ ษาวจิ ัย Who ลกั ษณะประชากรที่จะศึกษา When ช่วงเวลาที่จะทาการศึกษา Where ขอบเขตสถานทที่ ีจ่ ะทาการศกึ ษา What ตวั แปรทีส่ าคัญท่ีจะศกึ ษา 43

การเขยี นกรอบแนวคิด การนาเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัย 1. การเขยี นบรรยาย โดยระบตุ วั แปรท่ีศกึ ษาและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ตวั แปร 2. การเขยี นแบบจาลองหรอื สัญลกั ษณแ์ ละสมการ 3. การเขียนแผนภาพ แสดงตัวแปรตา่ ง ๆ และความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปร 4. การเขยี นแบบผสมผสาน 44

การเขยี นกรอบแนวคดิ หลกั เกณฑใ์ นการเขยี นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย o ตัวแปรแต่ละตวั ทเ่ี ลือกมาศึกษา หรอื ทีน่ าเสนอไวใ้ นกรอบแนวคดิ ตอ้ งมพี ื้นฐานเชิงทฤษฎวี า่ มคี วามสมั พันธห์ รอื เกย่ี วขอ้ งกบั สงิ่ ที่ต้องการศกึ ษา o มคี วามตรงประเด็นในดา้ นเน้ือหาสาระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านตัวแปรอิสระหรอื ตวั แปรท่ี ใชค้ วบคมุ o แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงและภาพรวมของงานวจิ ัย มรี ปู แบบสอดคล้องกบั ความสนใจ หรอื วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั o ระบุรายละเอียดของตัวแปรและหรือสามารถแสดงความสมั พันธ์ของตวั แปรได้ชัดเจนดว้ ย สญั ลกั ษณ์หรือแผนภาพ 45

การเขยี นกรอบแนวคดิ วิจยั เชิงปฏิบตั ิการ (Action Research) P = Plan A = Action O = Observation R = Reflection เนน้ การแสดงให้เห็นกระบวนการพฒั นา จะมี PAOR กีร่ อบกไ็ ด้ 46

การเขยี นกรอบแนวคิด วิจยั เชิงปฏิบัติการ (Action Research) เน้นใหเ้ หน็ รอบของกระบวนการพฒั นา A A การปฏิบัติ การปฏิบัติ P O PO 2การวางแผน การวางแผน 1 การสงั เกต การสังเกต R R อาจจะมีหลายวงรอบ การสะท้อนผล การสะท้อนผล การปฏิบัติ การปฏิบัติ 47

การเขียนกรอบแนวคิด วิจยั เชิงปฏิบัติการ (Action Research) ศกึ ษาและวิเคราะหส์ ภาพปัญหาและ กรอบ สถานการณ์ปจั จุบัน แนวคิด ทฤษฎี วางแผน (Plan) สะท้อน ในการ รูปแบบ/ระบบ/ข้นั ตอน/แนว ดาเนินการ (Action) กลับสู่ ศกึ ษา ปฏิบัต…ิ ……….. สงั เกตผล (Observation) การ สะท้อนผล (Reflection) วางแผน - ผลของการใช้รูปแบบ ใหม่ (เชน่ คุณภาพ ตัวชว้ี ัด อบุ ตั ิการณ์ ความพึงพอใจ เป็น ตน้ ) สรุปและประเมินผล 48

การเขยี นกรอบแนวคดิ งานวิจัยเชิงสารวจ/เชิงพรรณนา กรอบแนวคิด ศกึ ษา - อุบตั กิ ารณ์ ทฤษฎีในการ - อบุ ัติการณ์ - สถานการณ์ - สถานการณ์ - ….. ศกึ ษา - ….. - ….. ข้อเสนอเพื่อวางแผนในการ - …… สาเหตุ/ปจั จัยเสี่ยงทีส่ ่งผล พฒั นาต่อ ต่อการเกิดอุบัติการณ์/ สถานการณ์ - ….. - ….. 49

การเขียนกรอบแนวคิด งานวิจัยเชิงเปรียบเทียบ กรอบแนวคิด กลมุ่ ทดลอง ผลลพั ธ์ (ตัวแปรตาม) ทฤษฎีในการ ทีไ่ ดร้ บั Intervention (ทีน่ ักวิจยั คิด/ออกแบบ/ ศกึ ษา พฒั นาขน้ึ มาใหม่) - ….. - …… กล่มุ ควบคุม ที่ไม่ไดร้ ับ Intervention (มหี รือไม่มีกไ็ ด้) 50

การเขยี นนยิ ามศัพท์เฉพาะ ใหค้ าอธบิ ายคาเฉพาะท่ใี ช้ในการวจิ ยั แตล่ ะเรอื่ ง โดยเขียนให้ สั้นกระชบั และมคี วามหมายตรงตามในเรือ่ งของรายงานน้นั เพ่ือสรา้ งความเข้าใจให้ตรงกนั ระหวา่ งผู้เขยี นรายงานกับ ผ้อู า่ น 51


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook