Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

Published by gikiyd3956, 2021-09-16 14:38:52

Description: อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

Search

Read the Text Version

อารยธรรมลุ่มแมน่ ำ้ ไทกรสิ – ยูเฟรตสิ 1. สภาพทางภมู ศิ าสตร์ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ดนิ แดนเมโสโปเตเมยี (Mesopotamia) คือบรเิ วณดนิ แดนทีต่ ้งั อยูร่ ะหวา่ งแม่น้ำไทกริส (Tigris) และยู เฟรติส (Euphrates) หรือบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองจนกลายเป็นอู่ อารยธรรมที่สำคัญของโลก ดินแดนแห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์เนื่องจากแม่น้ำทั้งสองสายท่วมท้นตลิ่งในฤดู ใบไม้ผลิ เมื่อน้ำลดพื้นดินจึงเต็มไปด้วยโคลนตมที่กลายเป็นปุ๋ยอันอุดมสมบรู ณ์ ทำให้บริเวณนี้เหมาะแก่การ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ดินแดนจากเมโสโปเตเมียไปจนถึงชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจึงมีชื่อว่า ดินแดน พระจันทรเ์ ส้ยี วอันอุดมสมบรู ณ์ (The Fertile Crescent) หรือ วงโคง้ แห่งความอุดมสมบูรณ์ 2. การต้งั ถ่ินฐานของชาตพิ ันธต์ุ า่ งๆ ผู้ตั้งหลักแหล่งพวกแรกของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย คือ พวกสุเมเรียน ภายหลังจากนั้นจึงมีพวกเซ มิติกและสาขา เช่น พวกฟินีเชียน อมอไรต์และฮิบรู พวกอินโด-ยูโรเปียน และสาขา ได้แก่ พวกฮิตไตท์และ เปอรเ์ ซียน อพยพจากดินแดนตอนเหนอื เขา้ มาตงั้ ถนิ่ ฐานในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี ในเวลาต่อมา 3. ดา้ นการเมอื งการปกครอง ชาวสุเมเรียนรวมตัวกันเป็นแว่นแคว้นแบบนครรัฐ มีเจ้าผู้ครองนครทำหน้าท่ีเป็นผูป้ กครองและผู้นำ ทางศาสนา มีฐานะเสมือนเทพเจ้าประจำนคร ปกครองแบบนครรัฐอิสระไม่ขึ้นต่อกัน ต่อมาเริ่มมีการแยง่ ชิง ดนิ แดนและแหล่งนำ้ ระหว่างรัฐ จนในทส่ี ุดถูกโจมตีจากพวกคาลเดยี น ที่มอี ำนาจจนสามารถต้ังอาณาจักรท่ีมี ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงบาบิโลน ภายหลังจากนั้นก็มีพวกอื่นเข้ามาโจมตีอาณาจักรนี้ จนกระทั่งผู้นำเผ่าอมอไรต์ (เป็นสาขาหนงึ่ ของพวกเซมติ ิก) เขา้ ยดึ อาณาจกั รบาบโิ ลนพร้อมทง้ั สถาปนาผนู้ ำขน้ึ เป็นกษตั รยิ ์

ชาวอมอไรต์มีกษัตริย์ชื่อ พระเจ้าฮัมมูราบี เป็นผู้มีชื่อเสียง เนื่องจากทรงขยายอำนาจและทำการ ปกครองอย่างมีระบบ เห็นได้จากการที่ทรงโปรดให้ประมวลกฎหมายของนครรัฐต่างๆ เป็นกฎหมายชื่อ “ประมวลกฎหมายฮัมมรู าบ”ี ซึง่ ถอื เปน็ ประมวลกฎหมายทีจ่ ารึกไวเ้ ป็นลายลักษณอ์ ักษรเป็นคร้งั แรก บนั ทกึ ไว้ ด้วยอักษรรูปลิ่ม ลักษณะกฎหมายมีความเข้มงวดกว่ากฎหมายเดิมของชาวสุเมเรียน ซึ่งลงโทษโดยเสียเงิน ค่าปรับ แต่ประมวลกฎหมายฮัมมรู าบีเป็นการลงโทษโดยใช้หลัก “ตาต่อตา ฟันต่อฟนั ” พวกอสั ซีเรียน (Assyrian) (เป็นสาขาหน่งึ ของพวกสุเมเรยี น) เข้าปกครองอาณาจักรบาบิโลน จงึ ได้สืบ ทอดความเจริญและปรับปรุงการปกครองโดยแบ่งอาณาจักรออกเป็นมณฑลต่างๆ มีข้าหลวงปกครองโดยขึน้ ตรงตอ่ กษตั ริย์ พวกฮบิ รู (Hebrew) (เปน็ สาขาหน่งึ ของพวกเซเมตกิ ) เดมิ เป็นเผ่าเลย้ี งสตั วร์ ่อนเร่ ต่อมาพวกนเ้ี ข้ามาต้ังถ่ิน ฐานในนครรัฐสุเมเรียน แต่ยังไม่สามารถตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองจนกระทั่งพระเจ้าเดวิด (ครองราชย์ ประมาณ 470 – 430 ปี กอ่ นพทุ ธศกั ราช) ได้ตัง้ อาณาจักรอคั คัท (Akkad) ของฮบิ รูไดส้ ำเรจ็ อาณาจักรฮิบรูมี ความเจริญรุ่งเรอื งในสมัยพระเจา้ โซโลมอน (Solomon) (ครองราชย์ประมาณ 430 – 390 ปกี ่อนพุทธศกั ราช) แลว้ จงึ สลายไปในเวลาตอ่ มา พวกเปอร์เซียน (Persian) (เป็นสาขาหนึ่งของพวกอินโด-ยูโรเปียน) ที่อพยพเคลื่อนย้ายจากดินแดน เอเชียกลางเพอื่ แสวงหาที่ดินอนั อุดมสมบูรณ์ จนในทสี่ ดุ จงึ ต้งั ถิ่นฐานบริเวณดนิ แดนดง้ั แต่ทะเลสาบแคสเปียน จนถึงอ่าวเปอร์เซยี กษัตรยิ ท์ ีม่ ชี ่ือเสียง ได้แก่ พระเจา้ ไซรัสมหาราช (Cyrus the Great) กษัตริย์เปอร์เซียองค์ตอ่ มาคือ พระเจ้าดาริอุสมหาราช (Darius the Great) ทรงขยายอำนาจออกไป ปกครองดินแดนรปู พระจันทรเ์ สี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ ภายหลังรชั กาลของพระองค์เมื่อ พ.ศ. 143 พระเจ้าอเล็ก ซานเดอรม์ หาราชแหง่ กรกี เข้าโจมตีเมอื งเปอร์ซโี ปลสิ ทำใหอ้ ทิ ธิพลกรกี แผเ่ ขา้ มาในอาณาจักรเปอรเ์ ซยี

4. ด้านเศรษฐกจิ บรรดาชนเผ่าที่เข้ามาต้ังถิ่นฐานในดินแดนเมโสโปเตเมีย ชาวสุเมเรียนนับว่ามีความเชี่ยวชาญด้าน เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การปลูกขา้ วสาลี และเลย้ี งสัตว์เพื่อใช้แรงงานและทำผลิตภัณฑ์จากสัตว์เพอ่ื บริโภค ได้แก่ เน้ือ นม เนย และใชข้ นสัตว์ท่ีย้อมสแี ลว้ ทอเปน็ ผ้าสำหรบั นุ่งหม่ และทำเปน็ พรมใช้ในชวี ิตประจำวัน การทีช่ าวสเุ มเรียนมคี วามรู้ในการคำนวณและความรู้ทางดาราศาสตร์สามารถทำปฏิทนิ แบบจันทรคติ อาศัยคาบเวลาระหว่างดวงจนั ทร์วันเพ็ญ โดยกำหนดให้เดอื นหน่งึ เฉล่ยี นาน 29กบั ½ วัน และแบ่งปีออกเป็น 12 เดือน ทำให้รู้เวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกและยังทำให้สามารถกำหนดวันที่ควรจะออกเดินทางไป ติดต่อค้าขาย เช่น การใช้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดวงดาวเป็นเครื่องนำทางให้เดินไปถึงจุดหมาย นอกจากนี้ความรูด้ ้านการบวก ลบ คูณ และระบบการชั่ง ตวง วัด ทำให้ชาวสุเมเรียนมีความสามารถในด้าน การคา้ เมื่อประมาณ 1,750 ปีก่อนพุทธศักราช อาณาจักรบาบิโลนมีความมั่นคงทางการเมืองการปกครอง และการค้า พ่อค้าเมโสโปเตเมยี เดินทางคา้ ขายกบั เมืองตา่ งๆในดนิ แดนเอเชยี ตะวันออกกลางไปจนถึงดินแดนท่ี ไกลออกไป ได้แก่ อินเดยี และจีน โดยใช้โลหะ เงนิ และทองคำ ซ้ือ-ขายสินคา้ จำพวกธัญพืช ผ้าและสินค้ามีค่า อืน่ ๆ ทำให้อาณาจักรบาบโิ ลนกลายเปน็ ศูนย์กลางการค้าทีส่ ำคัญของโลกในยคุ นัน้ 5. ดา้ นสงั คม หลักฐานการจัดระเบียบสังคมในดนิ แดนเมโสโปเตเมีย ได้แก่ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีที่สะท้อนให้ เห็นว่าโครงสร้างสงั คมในดินแดนนปี้ ระกอบดว้ ยชนชนั้ ผู้ปกครอง ได้แก่ กษตั ริย์ พระราชวงศ์และขุนนาง กลุ่ม ขุนนางมหี นา้ ท่รี บั ผดิ ชอบท้ังด้านการปกครองและศาสนา สว่ นคนที่ถูกปกครอง ได้แก่ ช่างฝีมอื พ่อค้า ซ่ึงเป็น ชนชั้นกลาง ส่วนกรรมกรและทาสถือว่าเป็นชนชั้นต่ำในสังคม กฎหมายฮัมมูราบีนับว่าทันสมัยในยุคนั้น คือ การรับรองสทิ ธิในทรพั ยส์ ินของคนในสงั คม และคนในสังคมมีความรับผดิ ชอบตา่ งกัน 6. ด้านศาสนา ในดา้ นความเช่อื คนในดินแดนเมโสโปเตเมียมีความเชือ่ ถือโชคลาง เทพเจา้ ที่สถิตในธรรมชาติซ่ึงมีอยู่ หลายองค์ ยกเว้นพวกฮบิ รูซ่งึ เป็นชนเผา่ ทน่ี ับถอื พระ เจา้ องค์เดยี ว มีพระนามวา่ “พระยะโฮวาห”์ ความเชื่อในศาสนาทำให้เกิดการสร้างศาสนสถาน เชน่ ชาวสเุ มเรยี นนำดนิ เหนยี วมาสร้างศาสนสถาน ขนาดใหญ่ทเ่ี รยี กวา่ “ซกิ กูแรต” เพื่อบชู าเทพเจ้าทม่ี ีหลายองค์ เช่น เทพเจา้ แหง่ ท้องฟ้า ดวงอาทิตย์ และดวง จนั ทร์ สว่ นเทพเจา้ สูงสดุ ไดแ้ ก่ เทพทคี่ วบคมุ ฤดกู าล สง่ิ ของทนี่ ำมาบชู าเทพเจ้า ไดแ้ ก่ โลหะ เงิน ทอง และสิ่ง มีค่าอ่ืนๆ รวมท้งั การบูชายัญ

7. ด้านภาษาและวรรณกรรม การประดิษฐ์ตัวอักษรของชาวสุเมเรียนเมอื่ ประมาณ 2,500 ปกี ่อนพทุ ธศกั ราชนนั้ นักโบราณคดีเช่ือว่า ชาวสุเมเรียนเป็นชนชาติแรกที่คิดประดิษฐ์อักษรได้ก่อนชนชาติอื่น ตัวอักษรดังกล่าวเรียกว่า ตัวอักษรคูนิ ฟอร์ม (Cuneiform) หรืออักษรรูปลิ่ม มีลักษณะเป็นอักษรภาพเช่นเดียวกับอักษรภาพของชาวอิยิปต์ ซ่ึง ประกอบดว้ ยเคร่ืองหมายรูปลม่ิ จำนวนหลายร้อยตัว เขียนโดยการกดก้านอ้อแหลมๆลงบนแผน่ ดินเหนียวที่ยัง ไมแ่ ห้ง แล้วนำไปตากหรอื เผาจนแขง็ อักษรรปู ลิม่ นีก้ ลายเป็นตน้ แบบตัวอกั ษรของโลกตะวนั ตก คือ กรีกและ โรมันในเวลาต่อมา จุดมงุ่ หมายของการประดิษฐ์อกั ษรรูปลิม่ น้ีเพอ่ื อำนวยความสะดวกในการค้า และใช้ในการ เขยี นคำประพันธบ์ ทกวีต่างๆ ส่งผลให้คนในยุคน้นั รวบรวมเหตกุ ารณแ์ ละความรูต้ ่างๆจดเป็นบนั ทึกไว้ให้คนรุ่น ต่อมาได้มีหลักฐานในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ยคุ นี้ วรรณกรรมของชาวสุเมเรยี นส่วนใหญเ่ ก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์และชีวิตในทางเศรษฐกิจ ชาวเมโสโป เตเมียยังสรา้ งมหากาพย์เทพตำนานและประวัตศิ าสตร์ เชน่ คือ มหากาพย์กลิ กาเมช บรรจุเรอ่ื งราวเทพตำนาน ทเี่ ป็นหลักของตน โครงเรื่องท่เี ป็นหลักของกาพย์นี้ คือ ชัยชนะของกิลกาเมชแสดงสญั ลักษณ์ของมนุษย์เหนือ

ธรรมชาติ วรรณกรรมศาสนา บทสวด และธรรมจริยาก่อให้เกิดวรรณกรรมของบาบิโลเนียนในบรรดาสิ่งท่ี ปราชญ์กล่าวไว้ เชน่ “อยา่ เร่งรีบในการพดู ในที่สาธารณะ” “หลีกเลีย่ งความชั่วรา้ ย และการเกลียดชัง” 8. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศลิ ปกรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆหลายอย่าง เช่น ชาวสุเมเรียนได้ประดิษฐ์ คิดค้นล้อเกวียน ซมุ้ โคง้ (Arch) ซ่ีงชว่ ยทำให้อาคารแขง็ แรงขน้ึ แป้นหมนุ ทใี่ ช้ในการทำเคร่อื งป้ันดนิ เผา ความรู้ ทางการคำนวณ การแบ่งชั่วโมงออกเป็น 60 นาที รู้จักทำสำริดโดยนำทองแดงมาหลอมกบั ดบี ุก ทำเครื่องมอื โลหะท่ใี ช้ในการทำไรท่ ำนา ชาวอสั สีเรยี นเปน็ ชาติท่ีชำนาญในด้านการรบได้ผลิตอาวุธที่ทำด้วยโลหะ เชน่ ดาบ หอก ธนู โล่ และ เกราะ รวมทั้งยุทธวิธีในการรบ เช่น การใช้ต้นซุงเขา้ กระทุ้งกำแพงเมืองและรวบรวมตำราพิชัยสงคราม โดย เขยี นไว้ในแผน่ ดินเหนียวเปน็ จำนวนมาก ผู้นำอัสซเี รียนได้ขยายการปกครองจนมอี าณาเขตทีก่ วา้ งใหญ่ ในสมัย ของพระเจ้าอัสซูร์บานิปาล (Ashubanipal) ได้สรา้ งห้องสมุดที่ใหญท่ ่ีสุดขณะนัน้ ข้ึนที่เมืองนิเนเวห์ (Nineveh) ซึ่งเป็นเมืองหลวงเป็นที่สำหรับเก็บแผ่นจารึกดินเหนียวไว้ถึง 22,000 แผ่น ศิลปกรรมที่สำคัญของชาวอัสซี เรียน คอื ภาพสลกั นนู ต่ำ ซง่ึ แสดงชวี ิตประจำวันและการทำสงครามของชาวอสั ซีเรยี น ชาวสุเมเรยี นยงั สรา้ งพาหนะที่มลี ้อใช้สัตว์ลาก การประดษิ ฐ์ล้อลากเพอื่ ทุ่นแรง ซ่ึงนบั ว่าเปน็ พ้ืนฐานใน การพัฒนาพาหนะประเภทเกวยี นและรถยนต์ในโลกจนถึงปจั จบุ ัน ชาวสุเมเรียนทีต่ ง้ั ถ่ินฐานในบรเิ วณนี้ ต้องเผชญิ กบั น้ำท่วมจากการไหลบา่ ของแม่นำ้ ไทกริส – ยเู ฟรติส ดังนั้นจึงต้องหาวิธีแก้ปัญหาโดยการขุดคลองระบายน้ำหรือทำทำนบกั้นน้ำ นับเป็นความพยายามในการ แก้ปัญหาโดยควบคมุ ธรรมชาติ ความรู้เกี่ยวกับเกษตรกรรมของพวกสเุ มเรยี นเปน็ พ้ืนฐานแก่ชนเผ่าอื่นๆ เช่น พวกบาบิโลเนียนที่ได้สร้างสวนลอยมีต้นไม้เขียวขจีตลอดปี เรียกกันว่า สวนลอยแห่งบาบิโลน (Hanging

Garden of Babylon) สวนลอยแห่งกรุงบาบิโลนได้รับการยกย่องว่า เป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุค โบราณ นอกจากนี้ชาวเมโสโปเตเมียยังรู้จักการสร้างอุโมงค์น้ำใต้ดินเพื่อส่งน้ำมาใช้ในเมืองหลวงได้อีก ด้วย ความเจริญของคนในดินแดนเมโสโปเตเมีย ยังได้แพร่หลายไปสู่ดินแดนใกล้เคียงและมีอิทธิพลต่ออารย ธรรมอยิ ิปต์ กรีกและโรมันในเวลาต่อมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook