Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมอินเดีย

อารยธรรมอินเดีย

Published by gikiyd3956, 2021-09-16 14:44:28

Description: อารยธรรมอินเดีย

Search

Read the Text Version

ปจจยั ทางภูมศิ าสตรท ่ีมอี ทิ ธิพลตอ อารยธรรมอนิ เดียหรืออารยธรรมลุมแมน ้ำสินธุ เปน แหลง อารยธรรมเริ่มแรกของอนิ เดยี อยบู ริเวณดนิ แดนภาคตะวันตกของอนิ เดยี (ปากีสถานในปจจุบัน) ที่ แมน ำ้ สินธไุ หลผา น อาณาเขตลุมแมน้ำสินธคุ รอบคลุมบริเวณกวา งกวาลุมแมน ำ้ ไนลแหง อิยปิ ต โดยทกุ ๆป กระแสนำ้ ไดไหลทวมทนฝงทำใหด นิ แดนลุม นำ้ สนิ ธอุ ดุ มสมบรู ณเ หมาะแกการทำกสิกรรม นักประวัติศาสตร บางคนเรยี กอารยธรรมในดินแดนนว้ี า วฒั นธรรมฮารปั ปา (Harappa Culture) ซึ่งเปนชื่อเมอื งโบราณที่ตัง้ อยู บรเิ วณลุม น้ำสินธเุ ม่อื ประมาณ 3,500 – 1,000 ป กอ นพทุ ธศกั ราช จากภูมปิ ระเทศของอนิ เดียที่มลี ักษณะเปน รปู สามเหล่ียมขนาดใหญ มเี ทือกเขาหิมาลยั กั้นอยทู าง ตอนเหนอื มเี ทอื กเขาฮนิ ดูกูชอยูทางดานตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ทางดา นตะวันตกติดกับทะเลอาหรบั สวนทาง ตะวนั ออกติดกบั มหาสมทุ รอินเดียไปจนถงึ อา วเบงกอล ดงั นน้ั ผทู เี่ ดินทางบกเขา มายงั บริเวณน้ีในสมยั โบราณ ตองผานชองเขาทางดานตะวนั ตกท่เี รยี กวา ชองเขาไคเบอร ซงึ่ เปนหนทางเดียวทจี่ ะเขาสอู นิ เดียในสมัยโบราณ

ชอ งเขานี้เก่ียวของกบั ประวัติศาสตรอ นิ เดียตลอดมา เพราะเสน ทางนี้เปน ทางผานของกองทพั ของผูรกุ รานและ พอ คาจากเอเชยี กลาง อฟั กานสิ ถานเขาสอู ินเดยี เพราะเดินทางไดส ะดวก การต้ังถนิ่ ฐานและเผา พันธุ 1. สมัยกอนประวตั ิศาสตร พบหลกั ฐานเปน ซากเมืองโบราณ 2 แหงในบรเิ วณลมุ แมน้ำสินธุ คือ 1.1 เมืองโมเฮนโจ – ดาโร ทางตอนใตของประเทศปากสี ถาน 1.2 เมอื งฮารับปา ในแควน ปน จาป ประเทศปากีสถานในปจ จุบนั รปู ปนทคี่ นพบที่คนพบในสมยั กอ นประวตั ิศาสตรสนั นษิ ฐานวา เปนชนชนั้ สงู หรอื นักบวช 2. สมยั ประวัตศิ าสตร เริม่ เมื่อมีการประดิษฐตวั อกั ษรขนึ้ ใช โดยชนเผาอนิ โด-อารยัน ซึ่งตง้ั ถิน่ ฐานบรเิ วณ แมน ้ำคงคา แบง ได 3 ยุค 2.1 ประวัติศาสตรสมัยโบราณ เร่ิมตัง้ แตก ำเนดิ ตัวอกั ษรพรามิ ลปิ  สิน้ สุดสมยั ราชวงศ คปุ ตะ เปน ยุคทีศ่ าสนา พราหมณ ฮินดู และพทุ ธศาสนา ไดถอื กำเนิดแลว 2.2 ประวตั ิศาสตรสมัยกลาง เรม่ิ ตั้งแตราชวงศคปุ ตะส้ินสดุ ลง จนถงึ ราชวงศโ มกุลเขาปกครองอินเดีย 2.3 ประวัตศิ าสตรสมยั ใหม เร่มิ ต้งั แตราชวงศโมกุลจนถงึ การไดรับเอกราชจากองั กฤษ หลกั ฐานทางโบราณคดีพบวามเี มืองใหญ 2 เมอื ง คอื เมืองฮารปั ปา (Harappa) และเมอื งโมเฮนโจ – ดาโร (Mohenjo – Daro) หลกั ฐานดังกลาวทำใหทราบวาบรเิ วณลมุ นำ้ สนิ ธมุ ีผูคนตง้ั ถ่นิ ฐานและสรา งสรรค อารยธรรมมายาวนาน คือ พวกดราวเิ ดียนส่งิ ท่เี ดนที่สุดของอารยธรรมแมนำ้ สินธุ ตวั เมืองท่ีมกี ารวางผังเมือง

อยางเปนระเบียบ แยกพ้นื ทใ่ี ชกนั งานออกจากกันอยา งชัดเจน เชน เขตทอี่ ยอู าศัย ศาสนสถาน ยงุ ฉาง มีการ ตดั ถนนเปนมมุ ฉากและแบงเมืองออกเปนตาราง แสดงความรดู านเรขาคณิตข้ันสงู ส่ิงที่โดดเดนกวาอารยธรรม อน่ื ๆ คอื มีการจัดระบบสุขาภิบาลท่ีดี เปน ระบบ จากรูปแบบการกอ สรางแสดงใหเห็นวามกี ารปกครองแบบ รวมอำนาจ ซึ่งผปู กครองอาจเปน นกั บวชหรือกษตั ริยท ่ีเปนผูนำศาสนาดวย ลกั ษณะซากเมอื งโบราณฮารปั ปา ชนเผาสำคญั ทส่ี รางสรรคอ ารยธรรมลมุ น้ำสินธุ แบง ไดเ ปน 2 พวก คอื 1) พวกดราวิเดียน คือชนพ้นื เมืองดง้ั เดมิ ทีต่ ง้ั ถนิ่ ฐานบริเวณลุมนำ้ สนิ ธุราว 4,000 ปมาแลว พวกนี้ มีรปู รา งเตย้ี ผวิ คล้ำและจมกู แบน คลายกบั คนทางตอนใตใ นอนิ เดียบางพวกปจ จุบัน 2) พวกอารยนั เปน พวกท่ีอพยพเคลื่อนยา ยจากดินแดนเอเชยี กลาง ลงมายังตอนใตกระจายไปตั้งถ่ินฐานใน พ้นื ที่ตา งๆซง่ึ อดุ มสมบูรณแ ละมีภูมิอากาศทอี่ บอุนกวา พวกอารยนั สวนหนงึ่ ไดเ คลอ่ื นยา ยเขามาตัง้ ถนิ่ ฐานอยู ในลุมน้ำสนิ ธแุ ละขับไลพ วกดราวเิ ดยี นใหถอยรน ไปหรือจับตวั เปนทาส พวกอารยนั มรี ูปรา งสงู ใหญ ผิวขาว จมูกโดง คลายกับชาวอินเดียท่ีอยทู างตอนเหนอื พวกอารยนั เหลาน้ีรบั วฒั นธรรมชนพนื้ เมือง แลว นำมา ผสมผสานเปน วัฒนธรรมที่มเี อกลกั ษณเฉพาะ

การปกครองและกฎหมาย บานเมอื งในลุม น้ำสนิ ธุมรี อ งรอยของการปกครองแบบรวมอำนาจเขาสูศูนยกลาง ท้ังนีเ้ หน็ ไดจ าก รปู แบบการสรางเมืองฮารัปปาและเมืองโมเฮนโจ – ดาโร ท่ีมกี ารวางผงั เมอื งในลักษณะเดยี วกนั มีการตัดถนน เปน ระเบียบ การสรา งบานใชอิฐขนาดเดยี วกัน ตวั เมอื งมกั สรา งอยใู นปอ มซง่ึ ตองมีผนู ำทมี่ อี ำนาจแบบรวมศูนย ผูน ำมีสถานภาพเปน ทง้ั กษัตริยและเปนนกั บวชจึงมีอำนาจท้งั ทางโลกและทางธรรม ตอมาเมอ่ื พวกอารยันเขามาปกครองดนิ แดนลุมน้ำสนิ ธแุ ทนพวกดราวเิ ดียน จึงไดเ ปล่ยี นแปลงการปกครอง เปนแบบกระจายอำนาจ โดยแตละเผา มหี ัวหนาท่ีเรยี กวา “ราชา” ปกครองกันเอง มหี นวยการปกครอง ลดหลน่ั ลงไปตามลำดับ จากครอบครวั ทมี่ บี ิดาเปนหวั หนา ครอบครวั หลายครอบครวั รวมเปน ระดบั หมบู าน และหลายหมูบานมีราชาเปน หวั หนา ตอ มาแตละเผามกี ารพงุ รบกันเอง ทำใหร าชาไดข ึน้ มามอี ำนาจสงู สุดใน การปกครองดว ยวธิ ตี า งๆ เชน พิธรี าชาภิเษก ความเชอ่ื ในเรอ่ื งอวตารพธิ อี ัศวเมธ เปนพธิ ขี ยายอำนาจโดยสงมา วิ่งไปยังดนิ แดนตางๆ จากน้ันจงึ สงกองทัพติดตามไปรบเพ่ือยดึ ครองดนิ แดนที่มาว่งิ ผา นไป การต้งั ช่ือเพื่อสรา ง ความยงิ่ ใหญ คำสอนในคัมภีรศ าสนาและตำราสนบั สนุนความย่งิ ใหญข องราชา และตอมาก็มีคติความเชื่อวา ราชาทรงเปนสมมติเทพ คอื พระมหากษตั ริยท รงเปน เทพอวตารลงมาเพอ่ื ปกครองมวลมนุษย ในดา นการปกครองมีการเขยี นตำราเกย่ี วกับการเมืองการปกครอง ชื่อ อรรถศาสตร ระบหุ นาที่ของ กษัตรยิ  ในดา นกฎหมาย มีพระธรรมศาสตรและตอมามกี ารเขยี นพระธรรมนูญธรรมศาสตรข ้นึ ดา นสงั คมและวัฒนธรรม ในลุมน้ำสินธุ กลุมชนทีอ่ าศยั ในระยะแรกคือพวกดราวเิ ดียนซ่งึ มโี ครงสรา งทางสังคมประกอบดว ย ผูปกครอง ไดแ ก ราชาและขุนนาง แตเมอ่ื พวกอารยันเขามาปกครองทำใหมกี ารเปล่ียนแปลงทางสังคม กลาวคือฝายดราวิเดยี นถกู ลดฐานะลงเปนทาส ความสมั พันธของคนในสงั คมระยะแรกมีการแตง งานระหวา ง ชนสองเผาพนั ธุ แตตอ มาพวกอารยนั เกรงวาจะถกู กลืนทางเชอ้ื ชาติ จึงหามการแตง งานระหวางชนสองกลมุ ทำใหเ กิดการแบงแยกระหวา งเผาพันธุ จนกลายเปนระบบชนชน้ั ท่ีแบง หนา ท่ีชดั เจนโดยแบง ออกเปน 4 วรรณะใหญๆ คือ วรรณะพราหมณ ผูประกอบพธิ ีกรรมและสบื สานตอ ศาสนา วรรณะกษัตริย มีหนาท่ปี กปอ ง แวน แควน วรรณะแพศย มหี นาท่ผี ลิตอาหารและหารายไดใหแกบ า นเมอื ง และวรรณะศูทร คอื คนพ้ืนเมอื ง ดัง้ เดมิ ทีม่ ีหนาทร่ี ับใชวรรณะท้ังสาม สวนลกู ทเี่ กิดจากการแตง งานขา มวรรณะถกู จัดใหอ ยนู อกสังคม เรยี กวา พวกจณั ฑาล นอกจากนี้ในหมชู าวอารยัน สตรมี ีฐานะสงู ในสังคมและใชโ คเปนเครอ่ื งวดั ความมง่ั คง่ั ของบุคคล ในดา นวฒั นธรรม พวกดราวเิ ดียนนับถอื สัตวบ างชนดิ ไดแก โค ชาง และแรด นอกจากนี้ยงั นบั ถอื เทพเจา ตางๆและแมพ ระธรณี ซง่ึ เปน เทพีแหงความอุดมสมบูรณ พวกอารยันรับความเช่อื ของพวกดราวิเดีย นบางอยางมานบั ถือ ไดแ ก การนับถอื โค พระศิวะและศิวลงึ ค นอกจากน้ียงั นบั ถอื เทพเจาหลายองค

แมค งคาทชี่ าวอนิ เดยี เชื่อกันวาเปนแมน ำ้ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ และมคี วามเชอื่ วาหากเอาศพมาลอยนำ้ จะข้ึนสวรรค ไดด ื่มกแ็ ละไดอาบกจ็ ะเปน ศิรมิ งคล ดา นศาสนา อนิ เดียเปน แหลง กำเนิดศาสนาสำคัญของโลกตะวนั ออก ไดแ ก 1. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู มเี ทพเจา ท่สี ำคัญ เชน พระศวิ ะ เปนเทพผูทำลายความช่ัวราย พระพรหม เปน เทพเจา ผูสรางสรรพส่ิงบนโลก พระวษิ ณุ เปนเทพเจาแหงสันติสุขและปราบปรามความยุงยาก เปน ตน

2. พระพทุ ธศาสนา มีหลกั คำสอนท่ีสำคัญ เชน อริยสจั 4 มีจดุ หมายเพอ่ื มงุ สนู พิ พาน https://encrypted- tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRQw0LFWN_qnT6DNXMtXKF3OgscyvYe6YbCygxcKR- URdUIBILZpw 3. ศาสนาเชน มีศาสดา คอื มหาวรี ะ มีนิกายทสี่ ำคญั อยู 2 นกิ าย คือ นิกายเศวตมั พร เปน นิกายนุง ผาขาว ถอื วา สีขาวเปนสีบริสทุ ธิ์ และนิกายทฆิ ัมพร เปนนกิ ายนุงลมหม ฟา (เปลอื ยกาย)

มหาวีระ ศาสดาศาสนาเชน 4. ศาสนาซกิ ข เปน ศาสนาท่ีกอ ต้งั ขน้ึ มาโดย พระศาสดา ศรี ครุ ุ นานัก เดว ยิ ในป พ.ศ. 2012 (ค.ศ. 1469) โดยหลักธรรมและคำสอนพื้นฐานของศาสนาซกิ ขขน้ึ มา เปน ศาสนาทีต่ ้ังอยบู นรากฐานแหง ความจริงและเนน ความเรียบงาย สอนใหทกุ คนยึดม่ันและศรทั ธาในพระเจาแตเพยี งพระองคเดียว

พระศาสดา ศรี คุรุ นานัก เดว ยิ ดา นเศรษฐกจิ คนในดนิ แดนลุมนำ้ สนิ ธุมีการทำอาชีพเกษตรเปน พื้นฐานทางเศรษฐกจิ และมีการทำการคาภายใน การเพิม่ ประชากรในแตล ะอาณาจักร ทำใหก ารคา ภายในเมอื งตา งๆขยายตัวขึน้ ซง่ึ มีสนิ คา สำคญั เชน ดีบกุ ทองแดง หินมคี าชนิดตา งๆ นอกจากนี้ยังมสี นิ คา อตุ สาหกรรม เชน การทอผา ฝาย ไหม เปนสินคาไปขายในดนิ แดน ตา งๆ อาทิ อาระเบีย เปอรเซีย และอยิ ิปต เปน ตน เม่อื ชาวอารยันมีอำนาจมน่ั คง จงึ ไดส รางบา นอยูเปนหมบู า น มกี ารปลูกขา วและเลยี้ งสตั วพ ันธตุ างๆมากขนึ้ เพ่ือใชป ระโยชนท างเศรษฐกิจ นอกจากนชี้ าวอารยันยังมอี าชพี เปน ชา งตางๆ เชน ชางทองแดง ชางเหล็ก ชาง ปนหมอ ชา งปะชุน เย็บผา เปน ตน การท่ีชาวอารยันดำเนนิ การคา ขายท้งั ทางบกและทางทะเลอยา งตอ เนือ่ ง ทำใหมเี ศรษฐกิจดพี อทจี่ ะสนับสนุนใหเกิดการสรา งสรรคอ ารยธรรมในดา นอน่ื ๆ

ดานภาษาและวรรณกรรม ในดินแดนลุมนำ้ สนิ ธยุ ังพบวัฒนธรรมดา นภาษา คือ ตวั อกั ษรโบราณของอินเดยี ซง่ึ เปนอกั ษรดั้งเดิมทย่ี ังไมม ี นักวชิ าการอานออก อักษรโบราณน้ีปรากฏในดวงตราตา งๆมากกวา 1,200 ชน้ิ โดยในดวงตราจะมีภาพววั ควาย เสือ จระเข และชาง ปรากฏอยดู ว ย พวกอารยนั ใชภ าษาสันสกฤตซงึ่ เปนภาษาทใี่ ชเขยี นคัมภีรศาสนา เชน คัมภีรพ ระเวท เมอื่ ประมาณ 1,000 ป มาแลว วรรณกรรมท่สื ำคญั ไดแก มหากาพยมหาภารตยุทธ ซึง่ เปน เร่อื งการสูรบในหมพู วกอารยนั และมหา กาพยรามเกียรติ์ เปนเร่ืองการสรู บระหวางพวกดราวเิ ดยี นกับพวกอารยัน มรดกของอารยธรรมอนิ เดยี 1. ดา นสถาปตยกรรม – ซากเมอื งฮารับปาและโมเฮนโจ – ดาโร ทำใหเหน็ วามีการวางผังเมอื งอยา งดี มีสาธารณปู โภคอำนวยความ สะดวกหลายอยา ง เชน ถนน บอน้ำ ประปา ซึง่ เนน ประโยชนใ ชสอยมากกวา ความสวยงาม – ซากพระราชวังท่เี มอื งปาฏลีบตุ รและตกั ศลิ า สถปู และเสาแปดเหลีย่ ม ท่สี ำคัญคอื สถปู เมืองสาญจี (สมยั ราชวงศโ มริยะ) – สสุ านทัชมาฮาล สรางดวยหินออ น เปนการผสมระหวางศลิ ปะอินเดยี และเปอรเชีย 2. ดานประตมิ ากรรม เชน

พระพุทธรปู แบบคันธาระ

พระพทุ ธรูปแบบมถรุ า

พระพุทธรปู แบบอมราวดี ฯลฯ 3. จิตรกรรม สมยั คปุ ตะ และหลงั สมัยคปุ ตะ เปน สมัยท่รี งุ เรืองทสี่ ดุ ของอินเดยี พบงานจติ รกรรมที่ ผนงั ถ้ำอชนั ตะ เปน ภาพเขยี นในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกตางๆ ท่งี ดงามมาก ความสามารถในการวาดเสน และการอาศยั เงา มืดบรเิ วณขอบภาพ ทำใหภ าพแลดเู คลอื่ นไหว ใหความรูสึกสมจรงิ 4. นาฏศิลป เกยี่ วกับการฟอนรำ เปน สว นหนง่ึ ของพธิ ีกรรมเพอื่ บูชาเทพเจาตามคัมภีรพ ระเวท

ศวิ นาฏราช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook