Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมจีน

อารยธรรมจีน

Published by gikiyd3956, 2021-09-16 14:41:12

Description: อารยธรรมจีน

Search

Read the Text Version

ปจจยั ทางภมู ศิ าสตรท ่ีมผี ลตออารยธรรมจนี จีนเปนดินแดนทม่ี ีความกวา งใหญและอดุ มสมบูรณของลมุ น้ำฮวงโห หรอื แมน ้ำเหลอื งในภาคเหนือ ของจีน ในบริเวณลุมแมนำ้ ฮวงโห เปนท่ีราบทีอ่ ดุ มสมบูรณเ นอ่ื งจากมีดินสเี หลอื ง ซง่ึ เปนประโยชนตอ การเกษตร ในหนา น้ำจะมีนำ้ เออลน และพัดดินตะกอนมาทับถม ทำใหท ี่ราบริมแมน้ำมคี วามอุดมสมบรู ณ แตก ็ ทำใหเ กิดนำ้ ทว มอยูเสมอ สว นลกั ษณะภมู ิอากาศเปนเขตอบอุน ปริมาณฝนในหนาแลง มีนอยจึงมีนำ้ ไม เพียงพอ ตองอาศยั นำ้ จากแมนำ้ เปนสำคญั ปจจัยดังกลาวจงึ ทำใหชาวจนี ตอ งมาอยรู วมกันเปนชมุ ชน และ สรางระบบชลประทานขน้ึ ดว ยการขุดคลองเพ่อื ระบายนำ้ ในขณะทน่ี ้ำเออลน และทดนำ้ และกักเก็บนำ้ ไวใชใ น ฤดูแลง สวนทรัพยากรธรรมชาตบิ รเิ วณลมุ แมน้ำฮวงโหมปี า ไมและแรธ าตุทีส่ ำคญั เชน ถา นหิน เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง จากสภาพภมู ิศาสตรน้ที ำใหชาวจีนสรางสรรคอารยธรรมอยางตอเนื่อง เพื่อเอาชนะธรรมชาติ เชน การคำนวณฤดู การควบคุมอุทกภัย ซึ่งชาวจนี ไดน ำทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชประโยชนต้ังแตส มยั กอ น ประวตั ศิ าสตร และกอใหเ กิดการรวมตวั เปน ชมุ ชน มีการเกณฑแ รงงานเพอ่ื ควบคมุ ระบบชลประทานภายใต ผูนำชมุ ชน ซง่ึ ตอ มากลายเปนชนชัน้ ปกครองและระบบกษัตริย นอกจากน้ลี ักษณะทตี่ ั้งของจนี มปี ราการธรรมชาติ คือ ทางตะวันออกมีมหาสมทุ รแปซฟิ ก ทางใตเตม็ ไปดวยภูเขาและปาดิบรอน สว นทางตะวนั ตกและทางเหนือกเ็ ปน ทุงหญาทะเลทรายและภูเขา มีสวนชวยให อารยธรรมจีนคงอยมู าตอ เน่อื งยาวนานโดยไดรบั อิทธพิ ลจากภายนอกนอยมาก

อารยธรรมจนี สมัยกอ นประวตั ศิ าสตร มีการคนพบโครงกระดกู ของมนุษยปกก่งิ ลักษณะคลายกบั โครงกระดกู ของชาวจนี ในปจจุบนั มกี ารคน พบ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชท ท่ี ำจากหินแบบหยาบ ครองชีพโดยการลา สตั ว โดยมีการคนพบแหลง โบราณคดี 2 แหลง คือ 1. วฒั นธรรมหยางเชา ลกั ษณะสำคัญ คือ เคร่ืองปน ดนิ เผาลายเขยี นสีจำนวนมาก ลายท่ีมักเขยี นเปน ลายเรขาคณติ พืช นก สัตวต างๆ และภาพใบหนา มนุษย สที ี่ใชเปนสดี ำหรอื สมี ว งเขม ซึง่ สบื ทอดมาถงึ สมยั สำริดและสมัยประวตั ศิ าสตร แบบจำลองทอี่ ยูอาศัยในวฒั นธรรมหยางเชา 2. วัฒนธรรมหลงชาน ลักษณะสำคญั คอื เครือ่ งปน ดนิ เผามเี นือ้ ละเอยี ด สดี ำขดั เงา คุณภาพดี เน้ือ บางและแกรง แสดงวา มกี ารใชแปน หมุน และมวี ธิ กี ารเผาทีก่ าวหนากวา อารยธรรมหยางเชา รปู แบบของ ภาชนะดินเผาท่ีสำคัญ คอื ภาชนะ 3 ขา ซง่ึ สืบทอดตอมาในยคุ สำรดิ

หมอ 3 ขาในวัฒนธรรมหลงซาน อารยธรรมจนี สมัยประวัตศิ าสตร 1. ราชวงศช าง ถือเปนราชวงศแรกที่ปกครองจีน มีเมืองหลวงท่เี มอื งอันยาง บรเิ วณมณฑลเหอหนาน มกี ารปกครองเปน แบบนครรัฐ กษัตรยิ เปน ผนู ำดานการปกครองและเศรษฐกิจ ประชาชนมคี วามเปนอยเู รยี บ งา ย ดำรงอาชีพโดยการทำเกษตรกรรม มีการชลประทาน มีการใชเครื่องมอื ทที่ ำจากสำรดิ เชน กระถาง ซึง่ ภายในมตี วั อักษร การประดษิ ฐอกั ษรแบบรูปภาพบนกระดกู สัตวและบนกระดองเตาเพื่อทำนาย ซ่ึงถอื เปน จดุ เร่ิมตน ของตวั อกั ษรจนี ในปจจุบนั นับถอื เทพเจาแหงการเพาะปลูก มกี ารทำปฏิทินบอกฤดูกาลตางๆ จารกึ บนกระดูกสัตว 2. ราชวงศโจว (สมยั ศักดนิ า/ฟวดัล) ถือเปน ราชวงศท ี่ปกครองจนี ยาวนานทสี่ ดุ แบงเปน 2 ชว ง คือ

2.1 โจวตะวันตก ศูนยกลางการปกครองทีเ่ มืองฉางอนั มรี ะบบการปกครองแบบเผิงเจ้ยี น หรือระบบศักดินา เกดิ ทฤษฎกี ารเมอื งอาณัติแหงสวรรค คอื สวรรคมอบอาณตั ิใหกษตั รยิ ป กครอง กษัตริยจ ึงมฐี านะเปน โอรสแหง สวรรค ซ่ึงตองปกครองดวยความยตุ ธิ รรม 2.2 โจวตะวันออก มีศนู ยกลางการปกครองท่ีเมืองลว่ั หยาง แตเกดิ ความเกิดลัทธิและนกั ปราชญทส่ี ำคัญ เพ่อื แกป ญ หาตา งๆเหลาน้ี ลทั ธทิ ี่สำคัญ คอื 1) ขงจ้ือ มแี นวความคดิ คอื สนใจเรื่องของมนุษย การปกครองตอ งใหป ระชาชนเปน สขุ โดยไมใ ชอำนาจ อบรม ประชาชนใหเ ชอื่ ในเรือ่ งประเพณีอนั ดีงาม จะทำใหเกดิ ความสงบสขุ ทัศนะทางสังคม บุคคลตอ งทำหนาทีข่ อง ตนใหดที ี่สุด ทัศนะทางจรยิ ธรรม เนน การปลกู ฝงคณุ ธรรม ทัศนะทางความเชอ่ื พิธกี รรม และการบูชา เปน การแสดงออกทดี่ ขี องมนุษย รูจักกตญั ู เกรงกลงั อำนาจธรรมชาติ การทำพิธนี ำมาซงึ่ ความเปนอนั หน่งึ อัน เดียวกัน 2) ลัทธเิ ตา ผใู หกำเนดิ ลทั ธิ คอื เลาจื๊อหรือเหลาจ่ือ มีคำสอนเก่ยี วกบั การปฏบิ ัติตนตามวถิ ีธรรมชาติ ใชชวี ิต สนั โดษ 3) ลัทธมิ อจ๊อื 4) ลัทธิฟาเจ่ีย หรอื นติ ิธรรมนิยม 3. ราชวงศฉ นิ (สมยั จักรวรรดิ) ฉนิ ซีหวงตี้สามารถปราบปราม และผนวกรฐั ตา งๆ เปน จกั รวรรดิ ทำการฏริ ปู อารยธรรมจนี ดังนี้ ยกเลิกระบบศกั ดินา นำการปกครองแบบรวมอำนาจเขาสูศูนยก ลางมาใช มี เซียนหยางเปน เมอื งหลวง มีเขตการปกครองเปนมณฑล มกี ารใชเ งินตราแบบเดยี วกนั เคร่ืองชัง่ ตวงวัด มาตรฐานเดียวกัน เกบ็ ภาษีท่ดี นิ มีการสรา งถนน อาชพี เกษตรยงั คงเปน อาชีพหลกั ประชาชนมีความเปนอยู อยา งลำบาก เน่ืองจากถกู เกณฑแ รงงานอยางหนัก มีการสำรวจสำมะโนประชากร ประกาศใชภาษาเขียน สรา ง สงั คมเปน หน่งึ เดยี ว สรางพระราชวงั อนั ใหญโต มปี ระติมากรรมลอยตวั เชน สุสานจิน๋ ซหี วงต้ี กำแพงเมืองจีน สุสานฉินซฮ่ี องเต

4. ราชวงศฮ ัน่ มเี มอื งหลวงทีฉ่ างอนั เจรญิ สุดในสมัยพระเจา หวตู ี้ จักรพรรดิมอี ำนาจสูงสดุ มีการ สอบคัดเลือกบุคคลเขารับราชการ ขนั ทมี ีอิทธิพลตอการเปลยี่ นแปลง และดำเนินนโยบายสำคัญ ของ จกั รพรรดิ การคา เจริญรงุ เรืองมาก มีการติดตอคาขายกับโลกตะวันตก ทั้งเสนทางน้ำ และเสนทางบก เสน ทางที่สำคัญคือ เสนทางสายไหม ซงึ่ บุคคลที่ใชเ สน ทางน้ี เชน พระถงั ซำจงั๋ มารโ ค โปโล ทำใหมกี าร แลกเปล่ยี นอารยธรรมและสนิ คาระหวางจีนกบั อินเดีย และยุโรป มีการผลิตกระดาษขึ้นใช มีธนบตั ร ใช แลกเปลี่ยนสนิ คาแทนเงนิ ท่ีทำจากโลหะ สังคมประกอบดว ยชนหลายกลมุ มีการรวมกลมุ ตามตระกูล ใชร ะบบ อาจควบคมุ ไพรพล และเงนิ ตรา ความเช่ือในลทั ธิขงจ้อื กลบั มาไดรับความนิยม และมีพทุ ธศาสนานิกาย มหายานเร่ิมเผยแผในจนี สว นศิลปะเนนความมีชีวิตชีวา มกี ารแสดงออกทางอารมณ เนน การเลาเหตกุ ารณ และบรรยายเรอื่ งราวเกีย่ วกับพทุ ธศาสนา การประดษิ ฐค ิดคนในยคุ น้ี เชน ซือหมา เชยี น ซ่งึ เปนทั้งนกั โหราศาสตรและนักประวตั ิศาสตร (ไดรับการยก ยอ งเปนบิดาวิชาประวัตศิ าสตรต ะวันออก) ไดป รบั ปรงุ ปฏทิ ินจนั ทรคตใิ หถ ูกตองย่ิงขน้ึ มีการเขียนหนังสอื สอ่ื จ้ี หรอื บันทกึ ของนกั ประวตั ิศาสตร มีการประดิษฐก ระดาษ เครอ่ื งมอื วัดแผนดนิ ไหว เมอื่ สนิ้ สดุ ราชวงศฮ ัน่ เกดิ การแตกแยกภายในโดยแบงออกเปน สามกก 5. ราชวงศสยุ เปนยุคแตกแยกแบงเปน สามกก และมีการขดุ คลองเชอ่ื มแมน ำ้ ฮวงโหกบั แมน ำ้ แยงซี เพือ่ ประโยชนในดา นการคมนาคม 6. ราชวงศถ ัง มีนครฉางอานเปน ศนู ยก ลางของซกี โลกตะวนั ออกในสมยั นั้นไดชอ่ื วาเปน ยุคทอง ของอารยธรรมจีน พระพทุ ธศาสนามคี วามเจรญิ รงุ เรอื ง พระถังซำจ๋ังเดินทางไปศึกษาพระไตรปฎก ในชมพู

ทวีป และยังเปนยคุ ทองของกวนี พิ นธจีน กวคี นสำคญั เชน หวางเหวย หล่ไี ป ตูฝู ศิลปะแขนงตา งๆมีความ รงุ เรือง 7. ราชวงศซ อง/ซง มีความกา วหนา ดานการเดนิ เรอื สำเภา รูจกั การใชเขม็ ทิศ รจู กั การใชล กู คิด ประดิษฐแทน พิมพหนังสือ และรักษาโรคดวยการฝง เข็ม 8. ราชวงศหยวน เปน ราชวงศช าวมองโกลทเ่ี ขามาปกครองจีน ฮอ งเตอ งคแรก คอื กบุ ไลขา น หรือ หงวนสโี จว ฮอ งเต มชี าวตะวันตกเขา มาติดตอคาขายมาก เชน มารโ คโปโล พอคา ชาวเมอื งเวนสี ประเทศ อติ าลี 9. ราชวงศห มิงหรือเหม็ง วรรณกรรมจะนยิ มการเขยี นนวนิยายทใ่ี ชภ าษาพูดมากกวาการใช ภาษาเขียน มีนวนิยายท่สี ำคญั ไดแก สามกก ไซอ๋ิว นอกจากนี้ยังสง เสริมการสำรวจเสน ทางเดนิ เรอื ทางทะเล และสรางพระราชวังหลวงปกกง่ิ (วงั ตองหาม) 10. ราชวงศช ิงหรอื เชง็ เปน ราชวงศเผา แมนจู เปน ยุคที่จนี เส่ือมถอยความเจรญิ ทุกดาน และ เริม่ ถูกรกุ รานจากชาติตะวันตก เชน สงครามฝน ซึง่ จนี รบแพอังกฤษ ทำใหตองลงนามในสนธสิ ญั ญานานกงิ โดยจนี ตอ งยกฮองกงใหอังกฤษเชา 99 ป และตอ งเปดเมืองทา เพื่อการคาขายอกี ดว ย สว นปลายยุคราชวงศช งิ พระนางซสู ีไทเฮาเขามามอี ทิ ธิพลในการบรหิ ารประเทศมาก สมยั สาธารณรฐั และสมัยสาธารณรัฐประชาชนจีน การโคน ลมราชวงศแมนจู ผนู ำคือ ดร.ซนุ ยดั เซ็น ชว งแรกจนี มกี ารปกครองแบบเผด็จการ ตอ มามกี ารกอตงั้ พรรคคอมมิวนสิ ต มดี ร.ซนุ ยัด เซ็น เปน หัวหนา พรรค หลังจากทานถงึ แกอ สัญกรรม เจยี ง ไคเชค็ ก็เปน หวั หนา พรรคแทน หลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 พรรคคอมมิวนสิ ตมคี วามเขม แขง็ มากข้ึน เหมา เจอ ตุง นำพรรค คอมมวิ นิสตล ม ลา งอำนาจของเจียง ไคเชค็ ประกาศตัง้ จีนปกครองแบบคอมมิวนสิ ต ตั้งเปน สาธารณรฐั ประชาชนจีน เจียงไคเช็ค ไดอ พยพไปต้ังรฐั บาลพลัดถน่ิ ทเี่ กาะไตหวัน โดยแยกจนี เปน 2 ประเทศ ปกครอง 2 ระบบ คอื คอมมิวนสิ ต และประชาธิปไตย ดำเนนิ ตอ เน่ืองมาถงึ ปจจบุ ัน ความเจริญของอารยธรรมจนี 1. จิตรกรรม มีววิ ัฒนาการมาจากการเขียนตวั อกั ษรจีนจารกึ บนกระดกู เสยี่ งทายเพราะตวั อักษรจีนมลี กั ษณะ เหมือนรปู ภาพ งานจติ รกรรมจนี รงุ เรอื งมากในสมยั ราชวงศฮน่ั มกี ารเขยี นภาพและแกะสลกั บนแผนหนิ ที่นิยม มากคอื การเขียนภาพบนผาไหม ภาพวาดเปนเรอื่ งเลา ในตำราขงจื๊อพระพทุ ธศาสนาและภาพธรรมชาติสมยั

ราชวงศถ ัง มกี ารพัฒนาการใชพกู ันสีและกระดาษภาพสว นใหญไดร บั อทิ ธพิ ลจากพทุ ธศาสนาและลัทธเิ ตา สมยั ราชวงศซ อง จติ รกรรมจัดวาเดนมาก ภาพวาดมกั เปน ภาพมนุษยกับธรรมชาติ ทวิ ทัศน ดอกไม 2. ประติมากรรม สว นใหญเปน เคร่ืองปน ดินเผามอี ายุเกาแกตั้งแตกอนประวัติศาสตร ทำจากดนิ สีแดง มลี วดลาย แดง ดำ และ ขาวเปนลวดลายเรขาคณิต สมัยราชวงศช าง มีการแกะสลักงาชาง หินออน และหยกตามความเช่อื และความ นิยมของชาวจนี ทเ่ี ชื่อวา หยก ทำใหเ กดิ ความเปนสิริมงคล ความสุขสงบ ความรอบรู ความกลาหาญ ภาชนะ สำริดเปนหมอ สามขา สมัยราชวงศถงั มกี ารพัฒนาเครอ่ื งเคลือบดินเผาเปนเคลอื บ 3 สีคือ เหลอื ง น้ำเงิน เขียว สว นสีเขยี วไขกามีช่อื เสียงมากในสมยั ราชวงศซอง สวนพระพุทธรูปนิยมสรางในสมยั ราชวงศถ ัง ทั้งงานหลอ สำรดิ และแกะสลักจากหนิ ซง่ึ มสี ดั สวนงดงาม เปนการผสมผสานระหวา งศิลปะอนิ เดยี และจีนท่มี ีลักษณะเปน มนุษยมากกวา เทพเจา นอกจากนี้มีการปนรปู พระโพธสิ ตั วก วนอมิ สมัยราชวงศหมงิ เคร่อื งเคลอื บไดพ ัฒนา จนกลายเปน สินคา ออก คอื เคร่ืองลายครามและลายสีแดง ถึงราชวงศช งิ เครือ่ งเคลือบจะนิยมสีสนั สดใส เชน เขยี ว แดง ชมพู 3. สถาปตยกรรม 3.1 กำแพงเมอื งจีน สรางในสมยั ราชวงศจ ิ๋น เพอ่ื ปอ งกันการรุกรานของมองโกล

3.2 เมืองปก กง่ิ สรา งในสมยั ราชวงศห งวน โดยกบุ ไลขา น ซึ่งไดร บั การยกยองทางดา นการวางผังเมอื ง สว น พระราชวังปกกงิ่ สรา งในสมัยราชวงศเหมง็ 3.3 พระราชวังฤดรู อน สรางในสมยั ราชวงศชิง โดยพระนางซูสีไทเฮา ซึง่ เปน สถาปต ยกรรมที่ผสมผสาน ระหวางยโุ รปและจีนโบราณ 4. วรรณกรรม 4.1 สามกก สนั นษิ ฐานวาเขยี นในคริสตศตวรรษท่ี 14 เปนเรื่องราวของความแตกแยกในจนี ตัง้ แต ปลายสมยั ราชวงศจน๋ิ จนถงึ ราชวงศฮ ั่น 4.2 ซอ งกัง๋ เปน เร่อื งประทวงสังคม เรอ่ื งราวความทุกขข องผคู นในมือชนชน้ั ผปู กครอง สะทอนความทุกขของ ชาวจีนภายใตการปกครองของพวกมองโกล 4.3 ไซอ๋ิว เปน เร่ืองราวการเดินทางไปนำพระสตู รจากสวรรคทางตะวันตกมายังประเทศจีน 4.4 จนิ ผิงเหมย หรอื ดอกบัวทอง แตงขึ้นในราวคริสตศ ตวรรษที่ 16-17 เปน นยิ ายเกี่ยวกบั สังคมและชีวิต ครอบครวั เปน เร่อื งของชีวิตทร่ี ำ่ รวย มอี ำนาจขึน้ มาดวยเลห เหล่ียม แตด ว ยการทำชั่วและผิดศีลธรรมในท่ีสดุ ตองดรบั กรรม

4.5 หงโหลวเมิง่ หรอื ความฝนในหอแดง เดนทีส่ ุดในคริสตศตวรรษที่ 18 เรื่องราวเต็มไปดวยการแกงแยง ชิงดี อจิ ฉาริษยากนั ผอู า นจะรูส กึ เศราสลดตอชะตาชีวิตของพระเอกนางเอกเนื้อเร่อื งสะทอนให เหน็ สังคมศักดนิ า ของจนี ที่กำลังเสอื่ มโทรมกอ นการเปลยี่ นแปลงสังคมเขาสู ยคุ ใหม 4.6 บันทกึ ประวัตศิ าสตร ของ สื่อหมาเฉยี น เคร่อื งวดั แผน ดินไหว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook