Conceptual design แนวความคดิ ในการออกแบบสถาปัตยกรรม
Conceptual design
สถาปัตยกรรมย่ังยืนเพ่อื แก้ปัญหาส่งิ แวดล้อม ควรมีหลักการดงั นี้ - ตอบรับต่อสภาพภมู อิ ากาศ - คานึงถึงความสัมพันธ์กับท่ตี งั้ - ใช้วัสดุท่หี มุนเวียน และไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม - ประหยัดพลังงานหรือใช้พลังงานทดแทน
ทศิ สาหรับการอยอู่ าศยั ในไทย อาคารในไทยจึงควรพยายามหลีกเลยี่ งวางด้านยาวอาคารให้หนั หน้าเข้าหาทศิ ตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตก เนือ่ งจากจะมแี สงแดด ร้อนจดั ในเวลาบ่าย ทาให้ผ้อู ยอู่ าศยั ร้อน สนิ ้ เปลืองคา่ ไฟฟ้าใน การใช้เคร่ืองปรับอากาศ
ถ้าจาเป็นต้องวางแนวยาวขนานกบั ทิศตะวนั ตก ใช้วิธีให้ร่มเงาในการแก้ปัญหหา ให้ปลกู ต้นไม้ยนื ต้นอยดู่ ้านทศิ ตะวนั ตก เพ่ือบงั ร่มเงาแกอ่ าคาร แตร่ ะวงั ต้นไม้ทร่ี ากชอนเป็นอนั ตรายตอ่ ตวั อาคาร หรือปลกู ใกล้ ตวั อาคารเกินไป
ประโยชน์ใช้สอย พนื้ ท่ี ความสัมพันธ์ -พนื้ ท่ใี ช้สอย -ขนาด -การสญั จรติดต่อ -รูปร่างของพนื้ ที
House of Disable People’s Organization องค์กรคนพกิ าร Architect : Cubo, Force4 Location : Denmark ความเท่าเทยี มไม่ใช่แค่เร่ืองการปกครอง เพราะการออกแบบก็มีส่วนช่วยให้ผู้คนใช้งานได้อย่างเสมอภาค
วสั ดสุ ว่ นใหญห่ในอาคารใช้สขี าวสะอาดตา ปดู ้วยพืน้ ไม้เนือ้ ออ่ นดอู บอนุ่ จะมีเพียงพืน้ ที่ห้องบนั ไดหนีไฟ ห้องนา้ สว่ นกลางท่ีเลอื กใช้สีสนั เป็นตวั บง่ บอก หน้าท่ีความสาคญั ห และเป็นจดุ อ้างองิ ปีกอาคารแต่ละด้านท่ีแตกแขนงแยกออกไป
เคนโกะ คมุ ะ (Kengo Kuma)
สนามเดก็ อนิ ดอร์ Indoor โดยการออกแบบของ kengo kuma ตงั้ อย่ใู นจงั หวดั อะโอะโมะริ aomori, japan Concept เมืองในหน้าหนาวจะมีหมิ ะตกบอ่ ยและหนกั มาก ทาให้เดก็ ๆไมส่ ามารถออกไปเลน่ ข้างนอกได้ ดงั นนั้ การท่ีสร้าง สนามเด็ก Indoor นอกจากจะเพื่อความสนกุ สนานแล้ว ยงั เป็นอกี ทางเลือกหนง่ึ ที่ช่วยเสริมทกั ษะและการเรียนรู้ ให้แก่เด็กๆ อีกด้วย
แนวคดิ ในการออกแบบ โดยทฤษฎีแล้วท่ีตงั้ อาคารแตล่ ะแหง่ มีคณุ ลกั ษณะเฉพาะตวั ในแง่ ของบริบทของเมืองและบริบทเชิงสถาปัตยกรรม รวมทงั้ สภาพ ภมู อิ ากาศ แสง เงา เสยี ง และทศิ ทางลม เมื่อพิจารณาสงิ่ เหล่านี ้ สถาปนิกก็มกั จะพบแบบแผนบางประการที่จะนาไปสรู่ ูปทรงอาคาร ตอ่ ไป สถาปนกิ ได้นารูปแบบของนาขนั้ บนั ไดมาใช้เทียบแทนในการสร้าง รูปทรงทางสถาปัตยกรรม กลา่ วคือแทนท่ีอาคารจะเป็นก้อนขนาด ใหญห่ที่มีผวิ ผนงั ตอ่ เน่ืองเป็นระนาบขนาดใหญห่อยา่ งอาคาร สานกั งานที่พบได้ทว่ั ไป สถาปนิกใช้แนวคดิ นาขนั้ บนั ไดมาแตกมวล อาคารเป็นชนั้ ๆ ยกั เยือ้ งกนั อาคารแต่ละชนั้ ให้เยือ้ งเหลอ่ื มกนั นีเ้อง นอกจากจะสะท้อนความต้องการพืน้ ท่ีใช้สอยท่ีแตกต่างกนั ไปในแต่ ละชนั้ แล้ว ยงั ทาให้เกดิ พืน้ ท่ีภายนอกในรูปของชาน ระเบยี ง และ สวน ซงึ่ ช่วยเสริมบรรยากาศและสขุ ภาวะของการทางาน ยงั ทาให้ผสานเข้ากนั ได้อย่างดีกบั บริบทของชมุ ชนพกั อาศยั โดยรอบ เป็นการออกแบบที่แสดงการคานงึ ถึงความเชื่อมต่อกบั บริบทเมือง
ความโดดเดน่ ของอาคารหลงั นีค้ ือการเปิดพืน้ ท่ี วา่ งกลางอาคารให้เป็นโถงโลง่ ที่ลืน่ ไหลเชื่อมต่อ กนั อย่างเป็นระบบ ท่ีวา่ งเปิดโลง่ เหลา่ นีถ้ กู ออกแบบให้มีบรรยากาศหลากหลาย โดยการใช้ รูปสณั ฐานผสมกนั ระหวา่ งเส้นตรง เส้นโค้ง หรือ วงกลม หรือรูปทรงอสิ ระในบางจดุ เมื่อประกอบ กบั การใช้องค์ประกอบธรรมชาติ เชน่ บอ่ เลีย้ ง ปลาท่ีชนั้ พืน้ ดิน และแผงไม้เลอื ้ ย ทาให้เกิดพืน้ ท่ี วา่ งท่ีสง่ เสริมให้เกิดการพบปะสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งผ้ใู ช้อาคาร และยงั เป็นพืน้ ท่ีที่เออื ้ ต่อการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย เสมือนห้องเรียนที่อย่นู อก ห้องเรียน เป็นพืน้ ท่ีท่ีให้บรรยากาศเป็นกนั เอง ผอ่ นคลาย และมีชีวติ ชีวา
ความท้ าทายของโครงการนีเ้ กิด จากขนาดพืน้ ที่ดินที่มีขนาดเลก็ มาก แตเ่ ป็นพืน้ ที่ท่ีสวยงามริมแม่นา้ ปิง สถาปนิกสามารถนาข้อจากดั ของรูปร่างและขนาดของที่ตงั้ มา จดั วางอยา่ งชานาญหจนได้ผลดี การเลน่ กบั แสงสวา่ งผา่ นเปลือก อาคารที่โปร่งแสง การจดั ให้มี ชอ่ งโลง่ แคบๆ แต่สงู ตลอดความ สงู ของอาคารด้านหน้า รวมทงั้ การตกแตง่ ผนงั ของห้องพกั โดย การใช้ ภาพกราฟิ กและกระจกเงา ช่วยให้เกดิ ความสดใสและภาพ ลวงตาของความกว้างขนึ ้
สถาปัตยกรรมของศาสนสถานของศาสนาต่าง แม้วา่ อาคารทางศาสนาตา่ งๆนนั้ จะมีความแตกตา่ งกนั ซงึ่ อาจจะเกิดมาจาก ความเช่ือตา่ งๆแนวทางในการปฎบิ ตั ติ นหรือ อาจจะมาจาก ลกั ษณะภมู อิ ากาศ หรือสงั คม วฒั นธรรม เป็นต้น แตใ่ นความแตกตา่ งนนั้ ยงั มีความเหมอื นกนั อยใู่ นทกุ อาคาร ซงึ่ ทาให้อาคารทงั้ หลาย นนั้ ได้ทาหน้าที่เป็น ศาสนสถานอยา่ งสมบรู ณ์
ศาสนาพุทธ จากจดุ กาเนิดของวดั นนั้ ไมไ่ ด้ตงั้ ใจจะทาเป็น กลมุ่ อาคารทางศาสนา แตเ่ กิด จากความศรัทธา และ ระลกึ ถึงองค์สมั มาสมั พทุ ธเจ้า ผา่ นชว่ งเวลา สงั คม วฒั นธรรมตา่ ง ตลอดจนความเจริญหของสงั คม จนปรากฎลกั ษณะวดั ดงั เช่นใน ปัจจบุ นั
ลกั ษณะของแนวแกนท่ีขึน้ เกดิ ในผงั ของวดั
ศาสนาคริสต์ ความโดดเดน่ ในเร่ืองการนาแสงธรรมชาติ เข้ามาใช้งาน สถาปัตยกรรมนนั้ ถือวา่ เป็นจดุ เดน่ ของ การออกแบบ คริสต์ศาสนา สถาน เพราะการใช้แสงนนั้ ทาให้รู้สกึ ได้ว่าเราสมั ผสั หรือ ติดตอ่ กบั พระเจ้า ผา่ นทางแสงเหลา่ นนั้
โบสถ์แห่งแสง - ทาดาโอะ อนั โดะ / โอซาก้า
ศาสนาอสิ ลาม เกิดในดนิ แดนอาหรับ โดยมคี วามเชอ่ื ตามโบราณเดมิ เก่ียวกบั หินศกั ดส์ิ ิทธ์ิ อานาจลกึ ลบั ผีสาง เทวดา พอ่ มด หมอผี คาทานาย การเสีย่ งทาย การนบั ถือภเู ขา ต้นไม้ นา้ พุ บชู าดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาว ตา่ งๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: