3. ถา้ ปฏิกิริยารวม เกิดจากปฏิกิริยายอ่ ยรวมกนั ค่าคงที่ สมดุลจะเท่ากบั ค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยายอ่ ยคูณกนั K1K2 = K
ในปฏกิ ริ ิยาทม่ี หี ลายข้นั ตอน K รวมของปฏกิ ริ ิยา = ผลคูณของค่า K ของปฏกิ ริ ิยาย่อย ข้นั ท่ี 1 2NO2 (g) N2O4 (g) K1 ข้นั ที่ 2 N2O4 (g) + O2 (g) 2NO3 (g) K2 รวม 2NO2 (g) + O2 (g) 2NO3 (g) K = K1 K2 52
4. เม่ือหารตวั เลขใดๆ เขา้ ไปในสมการของปฏิกิริยา ค่า K ใหม่ท่ีไดจ้ ะตอ้ งนาค่า K เดิมมาถอดรากลาดบั ท่ีเท่ากบั ตวั เลขท่ีหารน้นั 1 K4 = K12 = 2 K1
ในการระบุค่าคงทสี่ มดุล ต้องระบุสมการแสดงสมดุลและอุณหภูมิ ถ้าการใช้สัมประสิทธ์ิต่างกนั ค่า K จะต่างกนั H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) K1 = HI2 H2 I2 1/2H2 (g) + 1/2I2 (g) HI (g) K2 = HI 1/ 2 K2 = K1 H2 1/2 I2 54
7.3.3 ข้นั ตอนการหาค่าคงทสี่ มดุล 1. เขยี นสมการเคมี 2. ดุลสมการเคมี 3. ณ จุดสมดุล หาความเข้มข้นของผลติ ภณั ฑ์ 4. ณ จุดสมดุล หาความเข้มข้นของ สารต้งั ต้นที่เหลือ 5. เขียนค่า K และแทนค่าความเข้มข้น ของสาร ผลติ ภณั ฑ์ และสารต้งั ต้นลงในสมการค่า K 55
ตวั อย่างโจทย์การหาค่าคงทสี่ มดุล ตวั อยา่ งที่ 1 จากปฏิกิริยาดงั แสดงในสมการต่อไปน้ี A(s ) + 2B (g ) + C (g ) 2D (g ) ที่ภาวะสมดุลภายในภาชนะขนาด 2 dm3 มี A 4 mol B 4 mol C 2 mol และ D 6 mol จงคานวณคา่ คงที่สมดุล 56
K = D 2 B 2C B = 4 = 2mol / dm 3 2 D = 6 = 3mol / dm 3 2 C = 2 = 1mol / dm 3 2 ( ( ) ( ) )K = 3mol / dm 3 2 = 2.25dm 3 / mol / dm 3 2 1mol / dm 3 2mol ดงั น้ันค่าคงทส่ี มดุลของปฏกิ ริ ิยานี้ = 2.25 dm3/mol 57
ตวั อยา่ งที่ 2 จงหาค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาต่อไปน้ี PCl5 (g) PCl3 (g) + Cl2 (g) เริ่มต้น (M) 3 00 เปลย่ี นแปลง (M) –x +x +x จุดสมดุล (M) 3-x x [PCl3][Cl2] x [PCl5] K = = (x)(x) (3-x) 58
ตวั อย่างท่ี 3 จากสมการ H2 (g) + I2 (g) 2 HI (g) เร่ิมต้น (M) 0.02 0.02 0 เปลยี่ นแปลง (M) –x -x +2x จุดสมดุล (M) 0.02-x 0.02-x 2x K = [HI]2 [H2][I2] (2x)2 = (0.02-x) (0.02-x) 59
ตวั อย่างที่ 4 อุณหภูมหิ น่ึงก๊าซ HI 1 โมลต่อลติ ร สลายตวั 2HI H2(g) + I2(g) จงคานวณหา ค่าคงทสี่ มดุล เม่ือ HI สลายตวั 20% 60
วธิ ีทา ก๊าซ HI 1 โมลต่อลติ ร สลายตวั 20% ก๊าซ HI สลายตวั = 20 1= 0.2โมลตอ่ ลิตร 100 เร่ิมตน้ 2HI (1g ) H2 (g0) + I 2 (0g ) เปลี่ยนแปลง -0.2 +0.1 +0.1 สมดุล 1-0.2 0.1 0.1 K = H2 I2 HI2 = (0.1)(0.1) ค่าคงที่สมดุล =1.56 X 10-2 (1− 0.2)2 61
ตัวอย่าง 5 ปฏิกิริยาA (s) + 2B (g) + 2C (g) 4D (g) ที่สมดุลในภาชนะ 5 ลิตร ถา้ มี A 2 โมล B 2 โมล C 2 โมล และ D 3 โมล จงหาค่าคงที่สมดุล [D]4 KC = [B]2[C]2 ท่ีสมดุลมี B 2 โมล [B] = 2/5 = 0.4 molL-1 มี C 2 โมล [C] = 2/5 = 0.4 molL-1 มี D 3 โมล [D] = 3/5 = 0.6 molL-1 62
[D]4 แทนค่า KC = [B]2[C]2 (0.6)4 = (0.4)2 (0.4)2 = 5.1 63
ตวั อย่างท่ี 6 ท่ีภาวะสมดุลของปฏิกิริยา CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g) ในภาชนะขนาด 6 ลิตรท่ีอุณหภูมิ 1007 ºC ความดนั ยอ่ ยของ แก๊สต่างๆเป็นดงั น้ี CO2 = 63.1 บรรยากาศ H2 = 21.1 บรรยากาศ CO = 84.2 บรรยากาศและ H2O = 31.6 บรรยากาศ จงคานวณหาค่าท่ีของสมดุล( Kp) สาหรับปฏิกิริยาน้ีท่ีอณุ หภูมิ 1007 ºC 64
65
ตวั อย่าง 7 กาหนดสมการ NO2(g) + SO2(g) SO3(g) + NO(g) และใหค้ วามเขม้ ขน้ เริ่มตน้ ของ SO2 เป็น 0.4 mol/dm3 และ NO2 0.6 mol/dm3 เม่ือปฏิกิริยาสิ้นสุดลงเหลือ SO2 0.1 mol/dm3 จงหาคา่ คงท่ีสมดุลของปฏิกิริยาน้ีมีค่าเท่าใด เเปร่ิมลต่ียนน้ แปลง NO2(g) + SO2(g) SO3(g) + NO(g) สมดุล 0.6 0.4 00 -x -0x.3 +x +x 0.6-0.3 0.1 0.3 0.3 66
K = [SO3][NO 2] [NO 2][SO2] = (0.3)(0.3) (0.3)(0.1) =3 67
CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g) PCO 2 = Kp 68 PCO2 ไม่ข้ึนกบั ปริมาณของ CaCO3 หรือ CaO
การทดลอง 7.4 การเปลย่ี นแปลงความเข้มข้นภาวะสมดุล จุดประสงค์การทดลอง 1. ทาการทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของความเขม้ ขน้ ต่อภาวะสมดุลของ ระบบได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในระบบ เมื่อเพิ่มหรือลดความ เขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ ได้ 69
ผลการทดลอง การเปลยี่ นแปลงทส่ี ังเกตได้ หลอดที่ สารละลายผสม 1 Fe(NO3)3+NH4SCN 2 Fe(NO3)3+NH4SCN+Fe(NO3)3 3 Fe(NO3)3+NH4SCN+NH4SCN 4 Fe(NO3)3+NH4SCN+Na2HPO4 70
ผลการทดลอง การเปลย่ี นแปลงทสี่ ังเกตได้ หลอดทl่ี สารละลายผสม สารละลายสีแดง 1 Fe(NO3)3+NH4SCN สา ร ละ ล าย มี สี แด ง เข้ม ข้ึ น แลว้ ความเขม้ ขน้ ของสีคงที่ 2 Fe(NO3)3+NH4SCN+ Fe(NO3)3 สา ร ละ ล าย มี สี แด ง เข้ม ข้ึ น แลว้ ความเขม้ ของสีคงท่ี 3 Fe(NO3)3+NH4SCN+ NH4SCN มี ต ะ ก อ น สี ข า ว เ กิ ด ข้ึ น เล็กน้อยสารละลายมี สี จา ง 4 Fe(NO3)3+NH4SCN+ ลงมากแลว้ สีคงท่ี Na2HPO4 71
สรุปผลการทดลอง 1. [FFee3S+ CในNส]2า+รละเมลื่อายควFาeม(NเขOม้ 3ข)3อทงาสปีคฏงิกทิรี่ ิแยาสกดบั งวS่าCรNะ-บไบดอส้ ยา่ใู รนลภะลาวาะย สีแดงของ สมดุล 2. เมื่อเติมสารละลาย Fe3+ ลงในระบบท่ีอยู่ในภาวะสมดุล ความ เขม้ ของ Fe3+ ในระบบจะเพิ่มข้ึนและสารละลายผสมสีแดงเขม้ ข้ึน แสดงว่า ในระบบมี [FeSCN]2+ เกิดเพ่ิมข้ึนในที่สุดความเขม้ ของสีคงที่ แสดงว่า ระบบเขา้ สู่สมดุลอีกคร้ัง
3. เมื่อเติมสารละลายที่มี SCN- ลงในระบบท่ีอยู่ในภาวะสมดุล ความเขม้ ขน้ ของ SCN- ในระบบจะเพิ่มข้ึนและสารละลายผสมสีแดงเขม้ ข้ึน แสดงว่ามี [FeSCN]2+ เพ่ิมข้ึนในท่ีสุดความเขม้ ขน้ ของสีคงที่ แสดงว่า ระบบเขา้ สู่สมดุลอีกคร้ัง ลHงPใOน4ร2ะ- บจ4ะ.บทเจมาึง่ือปเปเฏต็นิกิมกิรสาิยราาลรกลดบั คะFลวeาา3มย+เเขNกม้ิดaข2ตHน้ะPขกOออ4งนลขFงeาใ3วน+ขแรอละงะบFยบeงั PทพOี่อบ4ยวู่ใ่ากนสาราภรเาตลวิมะะลHสาPมยOมดี4สุล2ี จางลง แสดงวา่ [FeSCN]2+ เกิดปฏิกิริยายอ้ นกลบั โดยสลายตวั ได้ Fe3+ และ SCN- 73
การทดลอง 7.5 การศึกษาผลของความดนั และ อุณหภูมิต่อภาวะสมดุล จุดประสงคก์ ารทดลอง 1. อธิบายวิธีเตรียมแก๊ส NO2 และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนได้ 2. ทาการทดลองเพ่ือศึกษาผลของการเปล่ียนแปลงความดนั และอุณหภูมิท่ี มีต่อภาวะสมดุลของระบบได้
จุดประสงคก์ ารทดลอง 3.อธิบายการเปล่ียนแปลงภาวะสมดุลของระบบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ความดนั และอณุ หภูมิของระบบได้ 4.ใชผ้ ลการทดลองเป็นเกณฑใ์ นการระบุวา่ ปฏิกิริยาใดดูดหรือคายความ ร้อนได้ 5.อธิบายการเปล่ียนแปลงคา่ ที่สมดุลของปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน เมื่อมีการเพ่ิมหรือลดอุณหภูมิของระบบที่อยใู่ นภาวะสมดุลได้
ผลการทดลอง ตอนที่ 1 แก๊สท่ีเตรียมไดม้ ีสีน้าตาลแดง ตอนท่ี 2 เม่ือกดกา้ นหลอดฉีดยาลงไปอย่างรวดเร็วให้มีปริมาตร ลดลงคร่ึงหน่ึงนอ้ ยกว่า สงั เกตเห็นสีน้าตาลแดงเขม้ ข้ึนชว่ั ขณะหน่ึง แลว้ สี จางลงเลก็ นอ้ ย หลงั จากน้นั สีจะคงที่แต่ความเขม้ ขน้ ของสีมากกว่าก่อนกด กา้ นหลอดฉีดยา เม่ือดึงกา้ นหลอดฉีดยาข้ึนมาอยทู่ ่ีระดบั เดิมทาให้ปริมาตร ของแก๊สเพ่ิมข้ึน สังเกตเห็นสีของแก๊สจางลงชวั่ ขณะหน่ึง ต่อมาสีเขม้ ข้ึน เล็กน้อยแลว้ คงท่ี แต่ความเขม้ ของสีน้อยกว่าก่อนดึงกา้ นหลอดฉีดยาข้ึน เม่ือทาการทดลองซ้ากไ็ ดผ้ ลทานองเดียวกนั
ผลการทดลอง (ต่อ) ตอนท่ี 3 เมื่อนาหลอดทดลองที่บรรจุแก๊สสีน้าตาลแดงหลอดที่ 1 จุ่มลงในน้าแข็งพบว่าแก๊สในหลอดมีสีจางลงเกือบไม่มีสีและคงที่ ส่วน หลอดท่ี 2 ซ่ึงจุ่มในน้าร้อนมีสีน้าตาลเขม้ ข้ึนเมื่อนาหลอดที่ 1 จุ่มลงในน้า ร้อน สีน้าตาลแดงเขม้ ข้ึนและคงที่ และนาหลอดท่ี 2 จุ่มในน้าแขง็ สีน้าตาล จางลงและคงที่ เม่ือนาท้ังสองหลอดมาควบคุมอุณหภูมิให้เท่ากันท่ี อุณหภูมิห้อง แก๊สในหลอดที่ไม่มีสีจะเปล่ียนเป็ นสีเหลืองแลว้ เขม้ ข้ึนจน เป็ นสีน้าตาลแดง ส่วนหลอดที่มีสีน้าตาลแดงจะมีสีจางลง ในท่ีสุดแก๊สท้งั สองหลอดมีความเขม้ ของสีเท่ากนั และเท่ากบั สีของแก๊สในหลอดท่ี 3 ซ่ึงใช้ หลอดเปรียบเทียบ
สรุปผลการทดลอง ตอนท่ี 1 แก๊ส NO2 มีสีน้าตาลแดงส่วนแก๊ส N2O4 ไม่มีสี ในระบบจึงมีภาวะ สมดุลระหวา่ งแก๊ส NO2 กบั แก๊ส N2O4 เกิดข้ึนดงั สมการ 2NO2(g) N2O4 สีน้าตาลแดง ไม่มีสี
สรุปผลการทดลอง (ต่อ) ตอนท่ี 2 การกดกา้ นหลอดฉีดยาเป็นการลดปริมาตรของแก๊ส ทาใหค้ วามดนั และความ เขม้ ขน้ ของแกส๊ เพิ่มข้ึน ขณะกดกา้ นหลอดฉีดยาในตอนแรก แก๊สผสมมีสีเขม้ ข้ึนมา เเเเกพนขิดา้ื่อม่ิ สปงขู่ภจ้ฏึนาาิกชกวิรว่ัะโิยขสมาณเมเลปดะก็นุหลลุ แอนขกีก่ึงอ๊สคงตรแNอ่้ังก2มแ๊สOตา4ส่เNมเีจพO่ือา่ิม2งดขลเึงข้ึนงกา้เาห้มลนกา็ลหชนงั ิดจลอ้ ากอยกนัดแนฉมส้นัีาดดกสยงขีาจว้สึนาะ่ ทีขเทข่ีภอาม้ างใขวแห้ึนะกค้ นแส๊ว้ีลแจามวก้าคง๊สเขลงNม้งทขOี่แแน้2สสขลดดอดงงงวลวแา่ งา่ คกรเว๊สะพาบรมNบาOะ2 สเขมม้ ดขุลน้ ขขอองงรแะกบส๊ บNเปOล2่ียในนแรปะลบงบไลปดแลลงะใหนลทงั ่ีจสาุดกรนะ้นับสบีจจะะเเขขม้า้ สขู่้ภึนาแวละว้ ทคี่สงมทดี่ แุลสอดีกงควรา่ ้ังภาวะ สรุปไดว้ า่ การเปล่ียนแปลงความดนั ของระบบ ทาใหส้ มดุลของระบบถูกรบกวนและ ในที่สุดระบบกจ็ ะปรับตวั เพ่ือเขา้ สู่ภาวะสมดุลอีกคร้ัง
สรุปผลการทดลอง (ต่อ) ตอนท่ี 3 1.เม่ือลดอุณหภูมิ แก๊สมีสีจางลงแลว้ คงที่ แสดงวา่ ภาวะสมดุล เปลี่ยนแปลงไปเน่ืองจากแก๊ส NO2 เกิดปฏิกิริยาไดแ้ กส๊ N2O4 เพ่มิ ข้ึน แลว้ ระบบเขา้ สู่สมดุลอีกคร้ัง ณ อุณหภูมิน้นั สีจึงคงที่ 2.เมื่อเพ่ิมอุณหภูมิแก๊สมีสีเขม้ ข้ึน แสดงวา่ ภาวะสมดุลเปลี่ยนแปลง ไปโดยเกิดปฏิกิริยายอ้ นกลบั ทาใหม้ ีแก๊ส NO2 เกิดมากข้ึน สีจึงเขม้ ข้ึน แลว้ คงท่ี แสดงวา่ ระบบเขา้ สู่สมดุลอีกคร้ัง ณ อุณหภูมิน้นั
อภิปรายหลงั การทดลอง (ต่อ) 3. เมื่อเพ่ิมอุณหภูมิแลว้ เกิดแก๊ส NO2 มากข้ึน แสดงว่าการเกิดแก๊ส NO2 เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนแต่เมื่อลดอุณหภูมิแก๊ส NO2 จะลดลง เกิดแก๊ส N2O4 มากข้ึน แสดงว่าการเกิดแก๊ส N2O4 เป็นปฏิกิริยาคายความ ร้อน เขียนสมการแสดงภาวะสมดุลไดด้ งั น้ี 2NO2(g) คายความร้อน N2O4(g) ดูดความร้อน
7.4 ผลของการเปลยี่ นแปลงความเข้มข้น ความดนั และอณุ หภูมิ 1. ผลของการเปล่ียนแปลงความเขม้ ขน้ ที่มีต่อภาวะสมดุล 2. ผลของการเปลี่ยนแปลงความดนั ท่ีมีผลต่อภาวะสมดุล 3. ผลของการเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิท่ีมีต่อภาวะสมดุล 82
1. ผลของการเปลยี่ นแปลงความเข้มข้นทมี่ ตี ่อภาวะสมดุล การเพม่ิ หรือลดความเขม้ ขน้ ของสารหน่ึงสารใดในปฏิกิริยาเคมี เป็น เหตุใหภ้ าวะสมดุลเปลี่ยนไป แต่ค่าคงท่ีสมดุลยงั คงเดิม เช่น H 2 (g ) + I 2 (g ) 2HI ถา้ เพิม่ ความเขม้ ขน้ ของ H2, I2 สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา 83
A(aq) + B(aq) C (aq) + D (aq) เพม่ิ A ลด A 84 เพมิ่ C ลด C
2. ผลของการเปลยี่ นแปลงความดนั ท่ีมีต่อภาวะสมดุล ในระบบเคมีท่ีมีองคป์ ระกอบเป็นก๊าซ ถา้ ความดนั ของระบบเพิม่ ข้ึน สมดุลจะเลื่อนไปทางฝ่ ายท่ีมีจานวนโมลนอ้ ย เช่น N2 + 3H2 2NH3 เม่ือเพมิ่ ความดนั สมดุลจะเล่ือนไปทางขวา **ในกรณีที่โมลเท่ากนั ความดนั จะไม่มีผลต่อสมดุล** 85
เม่ือจานวนโมลท้งั สองข้างของปฏิกริ ิยาเคมีเท่ากนั ความดนั ไม่มีผลต่อสมดลุ H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) จานวนโมลท้งั สองข้างของปฏิกริ ิยาเคมีไม่เท่ากนั ความดนั มีผลต่อสมดลุ แต่ K ไม่เปลยี่ น 2N2O (g) 2N2 (g) + O2 (g) 86
เพม่ิ ความดนั (ลด V) ทาให้ระบบเกดิ ปฏิกริ ิยาไปในทิศทางทที่ าให้จานวนโมลของ แก๊สรวมลดลง N2O4 (g) 2NO (g) ลดความดนั (เพมิ่ V) ทาให้ระบบเกดิ ปฏกิ ริ ิยาไปในทศิ ทางทที่ าให้จานวนโมลของ แก๊สรวมเพมิ่ ขนึ้ N2O4 (g) 2NO (g) 87
3. ผลของการเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิทม่ี ตี ่อภาวะสมดุล 1. สมดลุ ของปฏกิ ริ ิยาคายความร้อน H2(g) + I2(g) 2HI(g) H = -9.4 KJ หรือ H2(g) + I2(g) 2HI(g) + 9.4 KJ 2. สมดุลของปฏกิ ริ ิยาดูดความร้อน N2O4(g) 2NO2(g) H = +57.2 KJ หรือ N2O4(g) +57.2 KJ 2NO2(g) 88
1. ปฏิกริ ิยาคายความร้อน ถ้าเพมิ่ อุณหภูมสิ ูงขนึ้ ผลติ ภณั ฑ์น้อยลง ค่า K จะลดลง ถ้าลดอุณหภูมลิ ดลง ผลติ ภณั ฑ์มากขนึ้ ค่า K จะเพม่ิ ขนึ้ 2. ปฏกิ ริ ิยาดูดความร้อน ถ้าเพม่ิ อุณหภูมิสูงขนึ้ ผลติ ภณั ฑ์มากขนึ้ ค่า K จะมากขนึ้ ถ้าลดอณุ หภูมิลดลง ผลติ ภณั ฑ์น้อยลงค่า K จะลดลง 89
Exothermic reaction ถา้ T2 T1 product เกิดไม่ดี K T2 T1 product เกิดดี K (คายความร้อน) Energy 90
Endothermic reaction ถา้ T2 T1 product เกิดดี K K (ดูดความร้อน) T2 T1 product เกิดไม่ดี Energy 91
ลกั ษณะทวั่ ไปของสภาวะสมดุล ◼ เมื่อระบบอยู่ในสมดลุ แต่มสี ่ิงอ่ืนจากภายนอกมารบกวนระบบ เช่น การเปลย่ี นอุณหภูมิ ความดนั สมดุลของระบบจะเสียไป เม่ือหยดุ รบกวน ระบบจะเข้าสู่สมดลุ ใหม่ได้เอง -----------> เลอชาเตอลเิ ยร์ ◼ การเข้าสู่สมดลุ ของระบบอาจเริ่มจากทศิ ใดกไ็ ด้ โดยพยายามลด สิ่งทร่ี บกวนให้เหลือน้อยทส่ี ุด 92
หลกั ของเลอชาเตอลเิ อ “เม่ือระบบทอ่ี ยู่ในภาวะสมดุล ถูกรบกวนโดยการเปลยี่ นแปลง ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อสมดุล ระบบจะเปลยี่ นแปลงไปในทศิ ทางทล่ี ดผล ของการรบกวนน้ัน เพ่ือให้ระบบกลบั คืนสู่ภาวะสมดลุ อกี คร้ัง” เช่น CO(g ) + NO2 (g ) CO2 (g ) + NO(g ) 93
การใช้หลกั ของเลอชาเตอลเิ อ ในอตุ สาหกรรม การผลิตก๊าซแอมโมเนีย (กระบวนการฮาเบอร์) N2 (g ) + 3H 2 (g ) NH3 (g ) + 92kJ • ความเขม้ ขน้ - เพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของก๊าซ N2 และ ก๊าซ H2 • อุณหภูมิ - ลดอุณหภูมิ • ความดนั - เพิม่ ความดนั 94
การเตรียมก๊าซซลั เฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3) เพือ่ เป็นสารต้งั ตน้ ในการเตรียมกรดซลั ฟิ วริก 2SO 2 (g ) + O2 (g ) 2SO3(g ) ; ปฏิกิริยาคายความร้อน การสงั เคราะห์เพชรจากแกรไฟต์ ดงั สมการ C (s ) + 1.9kJ C (s ) แกรไฟต์ เพชร 95
7.6 สมดุลเคมีในส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม ◼กระบวนการหายใจ ◼การแลกเปลี่ยนแก๊สในระบบหมุนเวยี นเลือด 96
แกส๊ ในกระแสเลือด 97
กฏของเฮนร่ี 98
กฏของเฮนร่ี 99
Search