1 นายสนุ ทร วงษ์ฉลาด ครผู ้สู อน โรงเรยี นมัธยมศรสี ำเภาลูน ตำบลสำเภาลูน อำเภอบวั เชด จงั หวดั สุรินทร์ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 33
2 การจัดระเบยี บทางสงั คม การจัดระเบียบทางสงั คม หมายถงึ กระบวนการทางสังคม ที่คอยควบคมุ ความประพฤติของบุคคลในสังคมให้อย่ใู น ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ทส่ี ังคมกำหนดไว้เพอ่ื ใหส้ ังคมมรี ะเบยี บและดำรงอยูไ่ ด้ สาเหตุทีต่ อ้ งจัดระเบยี บทางสังคม 1. เพอ่ื ให้การตดิ ต่อสมั พนั ธ์กันทางสังคมเปน็ ไปอย่างเรียบร้อย 2. เพื่อป้องกนั ความขดั แย้งระหว่างสมาชิกในสังคม 3. ชว่ ยใหส้ งั คมดำรงอยู่อย่างสงบสุขและม่ันคงในสงั คม องคป์ ระกอบของการจดั ระเบียบทางสงั คม 1. บรรทดั ฐานของสังคม 2. สถานภาพ 3. บทบาท 4. การควบคุมทางสงั คม กระบวนการจัดระเบยี บทางสังคม ประกอบด้วย 4 ประเภท คอื 1.บรรทดั ฐานทางสงั คม บรรทัดฐานทางสงั คม คือ แบบแผน กฎเกณฑข์ ้อบังคบั หรือ มาตรฐาน ในการปฏิบตั ิของคนในสงั คมซงึ่ สังคมยอมรบั ว่าสมควร จะปฏบิ ัติ เช่น บิดา มารดา ต้องเลย้ี งดูบตุ ร บุตรต้องมีความกตัญญู ตอ่ บิดา มารดา
3 บรรทัดฐานทางสงั คมแบง่ เป็น 3 ประเภท คอื 1. วถิ ีประชา เป็นแบบแผนในการปฏิบัติหนา้ ท่ที ี่ทกุ คนใน สงั คมปฏิบัติกันโดยทวั่ ไปจนเกดิ เปน็ ความเคยชิน ไม่ต้องมีศีลธรรม และกฎหมายบงั คบั ผไู้ ม่ปฏิบัติตาม ก็ไมไ่ ด้ รับโทษ เพยี งแค่ถูก นินทา เชน่ ในการรับประทานอาหาร ควรใช้ชอ้ นกลาง ตักอาหาร หากไม่ใชช้ ้อนกลางกไ็ มม่ คี วามผดิ เปน็ แค่ถูกตำหนิว่า ไม่มี มารยาท 2. จารตี มคี วามหมายเหมือนคำว่า “ศีลธรรม” จารีตเปน็ บรรทดั ฐานทที่ ุกคนในสังคม จะตอ้ งกระทำเป็นกระบวนการ พฤติกรรมทีจ่ ำเป็นต่อความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย และ สวสั ดิภาพ ของสังคม จารีตมีความสำคญั กว่าวถิ ีประชา เปน็ เรื่องของความรสู้ กึ วา่ สิง่ ใดผิด สง่ิ ใดถูก ผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกสงั คมลงโทษ หรือไดร้ ับการ ตำหนอิ ย่างรนุ แรง 3. กฎหมาย หมายถงึ บรรทดั ฐานท่ีกำหนดไวใ้ นระเบียบ แบบแผน ซ่ึงผู้มอี ำนาจทางการปกครองบา้ นเมืองไดก้ ำหนดขึน้ เพอื่ บังคับให้บุคคลปฏบิ ัตติ ามหรือหา้ มมิให้กระทำ หากฝ่าฝืนจะถกู ลงโทษตามบทบัญญตั ิ
4 2. สถานภาพ สถานภาพ คือตำแหนง่ ทไ่ี ด้รับจากการเป็นสมาชกิ ของ สงั คม ทุกคนมสี ถานภาพติดตัวมา ตง้ั แต่เกิด เชน่ เปน็ ลกู ชาวบ้าน เปน็ หญิง เป็นชาย ฯลฯ ลกั ษณะของสถานภาพ 1. เป็นสงิ่ เฉพาะบุคคลที่ทำให้แตกตา่ งไปจากผอู้ ืน่ เช่น อารียเ์ ปน็ นักเรียน สมชาตเิ ป็นตำรวจ เปน็ ต้น 2. บุคคลหน่งึ อาจมหี ลายสถานภาพ เช่น สมชาติเปน็ ตำรวจ เปน็ พ่อและเป็นขา้ ราชการ 3. เปน็ สทิ ธิและหนา้ ท่ที ้งั หมดท่บี คุ คลมีอย่ใู นการตดิ ต่อกับ ผอู้ ืน่ และสังคมส่วนรวม 4. เปน็ ตัวกำหนดวา่ บคุ คลน้นั มหี นา้ ที่และความรบั ผิดชอบ อยา่ งไรในสงั คม สถานภาพ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.สถานภาพท่ีติดตัวมาโดยสงั คมเปน็ ผกู้ ำหนด เช่น เพศ อายุ เช้ือชาติ เครือญาติ 2.สถานภาพทไี่ ดม้ าโดยความสามารถ ได้แก่ การประกอบ อาชีพ การศึกษา การสมรส เช่น บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย 3. บทบาท บทบาท หมายถงึ การปฏบิ ตั ิตามหนา้ ที่และสทิ ธิของตน ตามสถานภาพของตน การควบคุมทางสงั คม แบ่งเป็น
5 1.การจงู ใจให้สมาชกิ ปฏิบัตติ ามบรรทัดฐานของสงั คม เชน่ การยกย่อง การชมเชย หรือการให้รางวัล 2.ลงโทษสมาชกิ ท่ลี ะเมิดหรอื ฝา่ ฝืนบรรทดั ฐานทางสงั คม เชน่ ผิดวถิ ีชาวบ้าน การลงโทษคอื ตำหนิ ซุบซบิ นนิ ทา หวั เราะเยาะ ผดิ กฎศีลธรรม ไมค่ บหาสมาคม ผิดกฎหมาย ซง่ึ การลงโทษจะมาก หรือนอ้ ยแล้วแต่การกระทำผิด กระบวนการขดั เกลาทางสงั คม หมายถงึ กระบวนการ อบรมสั่งสอนสมาชกิ ให้เรียนรู้ระเบยี บของสงั คมเพื่อใหเ้ ห็นคุณค่า เปน็ แนวทางในการประพฤติปฏบิ ัติ การขัดเกลาทางสงั คมอาจจำแนกได้ 2 ประเภท 1. การขัดเกลาทางสงั คมโดยทางตรง เช่นการอบรมสั่งสอน 2. การขดั เกลาทางสงั คมโดยทางอ้อม เช่น การอา่ น หนังสือพมิ พ์ การฟงั วิทยุหรือดโู ทรทศั น์ ตลอดจนการดภู าพยนต์ ความมุ่งหมายของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม 1. เพอื่ ปลูกฝังระเบียบวินัยแก่สมาชิกในสงั คม 2. เพอ่ื ปลกู ฝงั ความมุ่งหวังท่ีสงั คมยกย่อง 3. เพอื่ ใหส้ มาชิกในสงั คมได้รู้จักบทบาทและหนา้ ที่ของตนตาม กาลเทศะและความเหมาะสม 4. เพอื่ ให้สมาชิกในสังคมเกิดความชำนาญและเพิ่มทกั ษะในการทำ กจิ กรรมร่วมกับผอู้ ่ืนในสังคม
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: