1 ครผู ู้สอน นายสุนทร วงษ์ฉลาด ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นมัธยมศรสี าเภาลนู ตาบลสาเภาลูน อาเภอบัวเชด จงั หวดั สรุ นิ ทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33
2 การเปลยี่ นแปลงประชากร (Population Change) การเปล่ยี นแปลงประชากร (Population Change) การเปลย่ี นแปลงในการแจกแจงลักษณะต่างๆ เช่นเพศ อายุ สถานภาพ สมรส ฯลฯ ของคนทรี่ วมกันเปน็ ประชากร ท่ใี ดที่หนงึ่ โดยมีสาเหตมุ ี 3 ประการคือ การเกดิ การตาย การย้ายถน่ิ การเกดิ หรอื ภาวะเจริญพันธ์(ุ Births or Fertility) การเกิดเป็นกรรมวิธที ี่ทารกคลอดออกมาจากครรภ์มารดาแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คอื 1. การเกิดมชี ีพ (Live-Birth) เป็นการคลอดของทารกทคี่ ลอดออกจากครรภม์ ารดา ไมว่ า่ จะครบกำหนดหรือไม่ แตถ่ า้ คลอดออกมาแล้วอยู่รอดเพยี ง 1 วันกถ็ ือวา่ การเกดิ มชี พี ท้งั นัน้ 2. การเกิดไรช้ ีพ (Still-Birth) เป็นการตายของทารกก่อนคลอดหรอื ระหวา่ งคลอด โดยทีเ่ ปน็ การคลอดหลังจากสตรีต้งั ครรภ์ได้ 5 เดือนไปแล้ว และทารกนั้นตายก่อน หรือตายในขณะคลอดปกติ สตรแี ตล่ ะคนมีความสามารถในการใหก้ ำเนิดบุตรไม่ เท่ากนั วสิ ยั สามารถของสตรีท่จี ะมบี ตุ รไดต้ ลอดวัยเจรญิ พันธ์ุเรียกว่า ความสามารถ ในการมีบุตร จำนวนบุตรทเ่ี กิดข้นึ จากบุคคลหนึ่งหรบื คุ คลใดเรียกวา่ ภาวะเจรญิ พนั ธ์ุ การศึกษาภาวะเจรญิ พนั ธใ์ุ ช้มาตรการวัดหลายมาตรการ ท่ีนยิ มใช้มากได้แก่ 1. อตั ราการเกดิ หรืออัตราการเกิดอยา่ งหยาบ ( Crude Birth Rate ) คอื จำนวนคนเกดิ ในแตล่ ะปีต่อประชากรในวนั กลางปี 1000 คน มปี ระโยชน์ในการ ช้ีใหเ้ ห็นผลกระทบของภาวะเจริญพันธุ์ 2. อัตราการเจรญิ พันธ์ทวั่ ไป ( General Fertility Rate) คอื อัตราที่หาได้ จากจำนวนคนเกดิ ใน 1 ปตี ่อสตรใี นวยั เจริญพนั ธ์ุ
3 3. อตั ราการเจริญพันธ์ุตามหมวดอายุของสตรี ( Age Specific fertility Rate) คอื จำนวนเด็กทีเ่ กิดจากสตรใี นแต่ละหมวดอายุในวันเจริญพันธุ์ใน1 ปีต่อ สตรี 1000 คนในหมวดอายุเดียวกัน ปจั จยั ที่มผี ลต่อการเจรญิ พันธุ์ 1.อายุแรกสมรส 2. ระยะเวลาทอ่ี ย่รู ่วมกนั 3. ความพอใจในบุตรท่เี ป็นเพศชาย 4. ท่อี ยู่อาศัยที่อยู่ในเมืองและชนบท 5. การเขา้ ร่วมแรงงานและประเภทอาชีพของสตรี 6. ระดบั ค่าครองชีพและค่าใช้จ่าย 7. ค่านิยมเรื่องขนาดของครอบครัว 8. ขนบธรรมธรรมเนียมและศาสนา 9. ทศั นคติและการปฏบิ ัติตนในการคมุ กำเนิด 10. นโยบายของรฐั การตาย (Death) การตายคือการสญู สน้ิ อย่างถาวรของหลักฐานท้ังมวลเก่ียวกบั การมีชวี ติ ขณะใดขณะหนง่ึ ภายหลังการเกิด การตายทำให้ ประชากรมีขนาดเลก็ ลงและทำใหป้ ระชากรเปลีย่ นแปลงในดา้ นองค์ประกอบและ การกระจายตัวเชงิ พนื้ ที่ ปจั จยั ที่มอี ิทธิพลตอ่ ภาวะ การตาย 1. ภัยธรรมชาติและการขาดแคลนอาหาร 2. โรคระบาด 3. ภาวะทางเศรษฐกิจ
4 4. ภาวะทางสังคม 5. การแพทย์และสาธารณสขุ 6. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 7. อุบตั ิเหตุจากการคมนาคม 8. สงคราม การย้ายถิน่ ( Migration) การย้ายถน่ิ หมายถงึ การเคล่อื นย้ายทางพ้นื ท่ี ( Spatial Mobility) หรอื การย้ายเชงิ ภูมิศาสตร์ สำหรับการยา้ ยถิน่ นั้นเกีย่ ว ขอ้ งกับการเปล่ยี นสถานท่ีอยู่ปกติ เราเรียกหน่วยการปกครองทผี่ ยู้ ้ายถ่ินจากมาวา่ ถ่นิ ฐานเดมิ และสถานท่ีท่ีผูย้ ้ายไปอยใู่ หม่วา่ ถิน่ ฐานปลายทาง ปจั จยั ทมี่ ีอิทธิพลตอ่ การยา้ ยถนิ่ ฐาน 1. ปัจจยั ทเ่ี ป็นแรงผลกั ดนั 2. ปจั จยั ทเี่ ป็นแรงดึง (Pull Factor ) ปัจจยั ใหญ่ ๆ ทเ่ี ปน็ ไปไดท้ ้ังผลกั ดนั และดึงดูด 1. ประชากร (ขนาด ความหนาแน่น ฯลฯ) 2.เศรษฐกจิ 3. ประเพณี วฒั นธรรม สงั คม และความปลอดภยั การเมืองสาธารณูปโภค 4. การคมนาคม และส่ือสารส่งิ แวดล้อม 5. อ่นื ๆ ปจั จยั ท่ีมีสว่ นผลักดันให้เกิดการย้ายถิ่นออก (สำหรับประเทศไทย) 1.ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ 2. ความกดดนั จากการเพ่ิมพลเมอื ง
5 3. ภาวะดินฟ้าอากาศและการขาดแคลนนำ้ 4. ที่ดินขาดความอดุ มสมบรู ณ์ 5. ขนาดท่ีถือครองเล็กลง 6. การสงวนปา่ ไม้ 7. ความบกพร่องของการตลาดการ 8. ไมม่ ีโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถ่ินชนบท 9. การคมนาคมไม่ดี 10. ภัยจากโจร ปัจจัยท่ีมสี ่วนดึงดดู ให้เกิดการย้ายถน่ิ เข้า (สำหรับประเทศไทย) 1. การได้รบั คำชวนจากญาติฟ่ีน้องหรือเพ่ือนฝูง 2. ค่าจา้ งมอี ัตราสงู 3. ตอ้ งการเปลย่ี นอาชีพมีนายหนา้ หางานใหท้ ำ ให้ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ และ อำนวยความสะดวกในดา้ นอื่น ๆ 4. ความต้องการเครื่องอุปโภคทดี่ ีกว่าในชุมชนของตน 5. ความอยากรู่อยากเห็นความเปน็ อย่ใู นเมืองหลวง ประเภทของการยา้ ยถนิ่ การย้ายถิ่นเข้า คือการยา้ ยถ่ินจากที่หนงึ่ สู่อกี ท่ีหนึ่ง ซึ่งมีทั้งการย้ายถิ่นเข้าอยา่ ง ชวั่ คราวและถาวร การย้ายถน่ิ ออก เปน็ การย้ายถน่ิ ออกจากทตี่ นเองอาศัยอย่ไู ปยงั ท่ีอนื่ ซึ่งตน ตอ้ งการจะต้งั ถิน่ ฐานอยู่ มีท้ังการยา้ ยถนิ่ ออกอย่างถาวรและชว่ั คราว
6
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: