ลมและพายุ (พาย)ุ นายสุนทร วงษฉ์ ลาด ผสู้ อน โรงเรียนมธั ยมศรีสาเภาลูน
ลมมีกี่ชนิด • ลมประจำปี - ลมสนิ คำ้ • ลมประจำฤดู - ลมมรสมุ ฤดรู อ้ น ลมมรสมุ ฤดหู นำว • ลมประจำถ่ิน - ลมวำ่ ว ลมตะเภำ ลมบำ้ หมู ลมสลำตนั • ลมประจำเวลำ - ลมบก ลมทะเล • ลมพำยุ ลมบก ลมทะเล
ลมบก-ลมทะเล ลมบก ลมทะเล เวลากลางวัน พืน้ ดนิ ดูดกลืนความร้อนได้เร็วกว่าพืน้ นา้ ทาให้อากาศเหนือพืน้ ดิน ร้อนลอยตวั สูงขนึ้ (ความกดอากาศต่า) อากาศเหนือพืน้ นา้ มีอณุ หภูมติ า่ กว่า (ความกดอากาศสูง) จึงจมตวั และเคลื่อนเข้ามาแทนท่ี ทาให้เกดิ ลม พดั จากทะเลเข้าสู่ชายฝั่ง เรียก ลมทะเล
ลมบก-ลมทะเล ลมบก ลมทะเล เวลากลางคืน พืน้ ดินคายความร้อนได้เร็วกว่าพืน้ นา้ ทาให้อากาศเหนือพืน้ ดินจม ตวั (ความกดอากาศสูง) และเคล่ือนตวั ไปแทนทอ่ี ากาศทอี่ ุ่น เหนือพืน้ นา้ ซ่ึงยกตัวขึน้ (ความกดอากาศต่า) จงึ เกดิ ลมพดั จากบกไปสู่ทะเล เรียก ลมบก
ลมมรสุม ลมมรสุมเกดิ จากความแตกต่างของอุณหภูมริ ะหว่างพนื้ ทวปี กับพนื้ มหาสมุทร ซง่ึ เกดิ เป็ นบริเวณกว้างและมชี ่วงเวลาในการเกดิ นาน ลมมรสุมฤดรู ้อน - พัดจากมหาสมุทรอนิ เดยี ผ่านอ่าวไทย ละปะทะขอบฝ่ัง ตะวันออกของอ่าวไทย - พดั ผ่านไทยตงั้ แต่กลางเดอื นพฤษภาคมจนถงึ กลางเดอื น ตุลาคม - ขณะพดั ผ่านประเทศไทยจะพดั พาไอนา้ จากมหาสมุทร มาด้วยจานวนมาก ทาให้มฝี นตกชุก
ลมมรสุม ลมมรสุมฤดหู นาว - พดั จากประเทศจนี และไซบเี รียผ่านภาคเหนือ และภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมาจนถงึ บริเวณอา่ วไทยตอนใต้ - พดั ผ่านไทยตงั้ แตต่ น้ เดอื นพฤศจกิ ายนไปจนถงึ กลางเดอื น กุมภาพนั ธ์ - ขณะพดั ผ่านประเทศไทยจะทาใหอ้ ากาศมีความ หนาวเย็น
ลมพายคุ ืออะไร? ลมพายุ คอื ลมทพี่ ัดดว้ ยความเร็วสูง เกดิ จากความแตกตา่ ง ของความกดอากาศใน 2 บริเวณมีความแตกต่างกนั มาก เราเรียกลมพายุทห่ี มุนรอบจุดศูนยก์ ลางว่า พายุหมุน (Cyclonic storm) เนื่องจากในการเกดิ พายุหมุน โลกเกดิ การหมุนรอบตวั เอง อยู่แล้ว ทาใหท้ ศิ ทางของลมพายุทเี่ กดิ ในซกี โลกเหนือมที ศิ ทางการพัดเข้าหาศูนยก์ ลางในทศิ ทวนเข็มนาฬิกา และมีทศิ ทาง ของลมเข้าสู่ศูนยก์ ลางในทศิ ตามเขม็ นาฬิกา ในซกี โลกใต้
พายุหมุน แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ พายหุ มุนมีกี่ชนิด? 1.พายหุ มุนเขตร้อน (Tropical cyclone) เกดิ เฉพาะในมหาสมุทรเขตร้อน (ละตจิ ูด 30o เหนือถงึ 30o ใต)้ ทมี่ ีอุณหภมู ขิ องผิวนา้ ทะเลสูงกว่า 26.5 oC มี กาลังแรง (ความเร็วลมอาจสูงถงึ 200 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง) ซง่ึ บริเวณทเี่ กดิ พายุบ่อยมีอยู่ 6 เขต 2. พายุหมุนนอกเขตร้อน (Extratropical cyclone) เกดิ ในเขตละตจิ ูดกลางและในเขตละตจิ ดู สูง มี ตัง้ แต่ระดับความรุนแรงไม่มาก จนถงึ ระดับความรุนแรงมาก เกดิ ในพนื้ ที่ 3 เขต
ขอเนน้ พายหุ มุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆดงั นี้ 1. ศูนยก์ ลางพายุ มีเส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 5-50 กิโลเมตร 2. ตาพายุ เป็ นบริเวณจุดศนู ยก์ ลางของพายุทม่ี ีรูปร่างรี มคี วามกดอากาศตา่ ทส่ี ุด อุณหภมู ิบริเวณนีจ้ ะสูง 3. บริเวณรอบๆพายุ (แขนของพายุ) เป็ นส่วนทม่ี ี ความเร็วลมสูง กอ่ ใหเ้ กดิ เมฆและฝนอย่างรุนแรง
เราจะเรียกช่ือพายไุ ดอ้ ยา่ งไร ในการเรียกชอื่ พายุ มีได้ 3 แบบ คอื 1. เรียกตามทศิ ทางในการเคล่ือนทขี่ องพายุหมุน ไซโคลน (Cyclone) ลมพายุท่ีพัดหมุนวนจากบริเวณความ กดอากาศสูงเข้าสู่ศูนยก์ ลางทมี่ ีความกดากาศต่า (ถ้าเกิดในเขต ร้อน เรียก พายุหมุนเขตร้อน แตถ่ ้าเกิดนอกเขตร้อน เรียก พายุ หมุนนอกเขตร้อน) แอนติไซโคลน (Anticyclone) ลมพายุท่ีพัดหมุนวนออก จากศูนย์กลางท่ีมีความกดอากาศสูง สู่บริเวณท่ีมีความกด อากาศต่าโดยรอบ
เราจะเรียกช่ือพายไุ ดอ้ ยา่ งไร ในการเรียกชอื่ พายุ มไี ด้ 3 แบบ คอื 2. เรียกตามประเภทของพายุหมุน โดยใช้ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนยก์ ลางของพายุหมุนเขต ร้อนเป็ นเกณฑ์ ประเภท ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางของพายุ กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง นอต พายุดเี ปรสชัน < 63 < 34 พายุโซนร้อน 63-118 34-64 พายุใต้ฝ่ ุน >118 >64 1 นอต = 1 ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง = 1.85 กโิ ลเมตรต่อชั่วโมง
เราจะเรียกช่ือพายไุ ดอ้ ยา่ งไร ในกำรเรยี กช่ือพำยุ มไี ด้ 3 แบบ คอื 3. เรยี กตำมบรเิ วณท่เี กิด ชนิด สถานทเ่ี กดิ ไซโคลน อ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ มหาสมุทรอนิ เดยี เฮอริเคน อ่าวเมกซิโก มหาสมุทรแอตแลนตกิ เหนือ ทะเลแคริบเบียน วลิ ล-ี วลิ ลี ออสเตรเลยี ใต้ฝ่ ุน ทะเลจนี บาเกยี ว ฟิ สิปปิ นส์ ทอร์นาโด สหรัฐอเมริกา
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: