เทยี่ วบนิ ของสายการบินเซ่ียงไฮ้ ประเทศจนี เตรยี มแลนดิ้งลงบนรันเวย์ในทา่ อา กาศยานซงซาน กรงุ ไทเป ซ่ึงถอื เปน็ หน่งึ ในเทยี่ วบนิ ตรงระหวา่ งสองฝงั่ ชอ่ งแคบ ไตห้ วันทีม่ กี ารน�ำส่งผ้โู ดยสารไป - กลับเป็นประจำ� นับต้ังแตท่ ไี่ ดม้ กี ารเปิดน่านฟา้ ระหว่างสองฝ่งั ชอ่ งแคบ ในปี 2009 เป็นตน้ มา (ภาพจาก Chin Hung-hao)
การคา้ ระหวา่ งสองฝง่ั ชอ่ งแคบไตห้ วนั สง่ ออก นำ�เขา้ รวม 149,000 2019 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั 114,0002010 ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ 2001 10,990 ล้านดอลลาร์สหรฐั แหล่งท่มี า: กรมศลุ กากร กระทรวงการคลัง สาธารณรฐั จีน(ไตห้ วัน) ในเดือนมถิ นุ ายน ปี 2008 ได้มีการเปิดการเจรจาอย่างเป็นทางการ ระหว่างมูลนิธิเพ่ือการติดต่อแลกเปล่ียนระหว่างช่องแคบไต้หวัน (SEF) ของสาธารณรฐั จนี (ไตห้ วัน) และสมาคมความสมั พันธ์ ระหวา่ งสองฝ่งั ชอ่ งแคบไตห้ วันของจนี หลังจากที่ขาดการเจรจา ไปเป็นเวลากวา่ 10 ปี ตราบจนเดือนสิงหาคม ปี 2015 เจ้าหนา้ ที่ ของสองฝงั่ ช่องแคบไตห้ วนั ได้มีการเจรจาระหว่างกนั รวมท้งั สน้ิ 11 รอบ ซึ่งได้สลบั กนั จดั ขน้ึ ในดนิ แดนของกันและกนั ทั้งนี้ ท้งั สอง ฝ่ายต่างไดบ้ รรลุขอ้ ตกลงรว่ มกนั ท้ังหมด 23 ฉบับ ในจ�ำนวนน้มี ผี ล บังคบั ใชแ้ ลว้ 21 ฉบบั รวมถงึ ไดบ้ รรลฉุ นั ทามติรว่ มกนั 2 ฉบับ โดย ขอ้ ตกลงทีส่ �ำคัญทส่ี ดุ ในจ�ำนวนดังกลา่ วคอื ขอ้ ตกลงกรอบความ รว่ มมอื เศรษฐกจิ ไตห้ วันกบั จนี แผน่ ดนิ ใหญ่ (ECFA) ที่ไดผ้ า่ นการ ลงนามไปเมื่อเดือนมถิ นุ ายน ปี 2010 โดยมเี ปา้ หมายเพ่อื จดั ระเบียบ ความสัมพันธท์ างการค้าระหวา่ งจีนและไตห้ วันอยา่ งเปน็ ระบบ 46
47ความสัมพันธ์ระหว่างสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน สันตภิ าพและเสถียรภาพ เพ่ือส่งเสริมการปฏิรูปประเทศโดยสมบูรณ์ ประเทศจ�ำเป็นต้องมี สภาพแวดลอ้ มภายนอกท่มี ่นั คงและมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะในด้าน ความสมั พันธร์ ะหว่างสองฝ่ังช่องแคบ นบั ตง้ั แตท่ ปี่ ระธานาธบิ ดีไช่ องิ เหวินเขา้ รบั ตำ� แหนง่ ในวันท่ี 20 พฤษภาคม ปี 2016 และได้รับ เลือกตง้ั ใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ติดตอ่ กันเป็นสมัยที่ 2 ในปี 2020 ปธน. ไชฯ่ ได้เสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสองฝ่ังชอ่ งแคบที่เปน็ ไปใน ทิศทางเดียวกนั คาดการณไ์ ด้ และเป็นไปอย่างยงั่ ยืน บนพืน้ ฐาน จากสถานการณค์ วามเปน็ จรงิ และพ้นื ฐานทางการเมอื ง จดุ ยนื ของรฐั บาลสาธารณรฐั จนี (ไตห้ วนั ) ทไ่ี มเ่ คยเปลยี่ นไปจากเดมิ คอื รกั ษาสถานภาพในปจั จบุ นั ระหวา่ งสองฝง่ั ชอ่ งแคบใหค้ งอยตู่ อ่ ไป นเ่ี ปน็ คำ� มน่ั ทไี่ ตห้ วนั ไดใ้ หไ้ วก้ บั ภมู ภิ าคเอเชยี และทว่ั โลก สนั ตภิ าพ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง และการพฒั นาในภมู ภิ าคเอเชยี เปน็ ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ของทกุ ประเทศในภมู ภิ าค ดว้ ยเหตนุ ี้ ประเดน็ ความ สัมพันธ์ระหว่างสองฝั่งช่องแคบจึงเรื่องท่ีมีความเก่ียวพันโดยตรง กบั ความม่ันคงในภูมภิ าค โดยไต้หวันจะทำ� หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบความ มนั่ คงปลอดภยั ในภมู ภิ าคตอ่ ไป ดว้ ยการรกั ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สองฝง่ั ชอ่ งแคบ ทเ่ี ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั และสามารถคาดการณไ์ ด้ แตถ่ งึ กระนนั้ หลายปมี าน้ี จนี ไดก้ ำ� หนดเงอ่ื นไขพน้ื ฐานทางการเมอื ง สำ� หรบั การแลกเปลยี่ นระหวา่ งสองฝง่ั ชอ่ งแคบไตห้ วนั โดยจนี ไดร้ ะงบั การเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าท่ีภาครัฐตามความเห็น ชอบของตนเพยี งฝา่ ยเดยี ว และดำ� เนนิ การสรา้ งความกดดนั ทางการ เมอื งและขม่ ขไู่ ตห้ วนั ดว้ ยกำ� ลงั ทหาร นอกจากน้ี ในวนั ท่ี 2 มกราคม ปี 2019 รฐั บาลจนี ไดเ้ สนอหลกั การ \"หนงึ่ ประเทศ สองระบบ\" สำ� หรบั ไตห้ วนั อนั เปน็ การทำ� ลายสถานภาพปจั จบุ นั ดา้ นสนั ตภิ าพและความ
มนั่ คงในระดบั ภมู ภิ าค เมอ่ื เผชญิ หนา้ กบั ความกดดนั ทางการเมอื ง จากจนี วนั ท่ี 11 มนี าคม ปี 2019 ปธน.ไชฯ่ จงึ ไดเ้ สนอแนวทางปฏบิ ตั ิ 4 ประการ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื เสริมสร้างมาตรการรกั ษาความ มน่ั คงแห่งชาติ ปกป้องอ�ำนาจอธิปไตย และสร้างหลักประกนั ให้ ประชาชนชาวไตห้ วนั มสี ทิ ธใิ นการตดั สนิ ใจอนาคตของไตห้ วนั รว่ มกนั ไมว่ า่ จะในปจั จบุ นั หรอื อนาคต นอกจากน้ี ในปี 2020 สภานติ บิ ญั ญตั ิ สาธารณรฐั จนี (ไตห้ วนั ) ไดผ้ า่ นกฎหมายปอ้ งกนั การแทรกซมึ ซง่ึ มผี ลบงั คบั ใชอ้ ยา่ งเปน็ ทางการในวนั ท่ี 15 มกราคม ปี 2020 เพอ่ื ปอ้ งกนั การแทรกซมึ และบอ่ นทำ� ลายจากภายนอก นอกจากนี้ รัฐบาลไต้หวันยังได้เร่งผลักดันการแก้ไขรัฐบัญญัติ ความสัมพันธ์ประชาชนสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน ส่วนท่ีมีการผา่ น ความเห็นชอบไปกอ่ นหนา้ น้ี ไดม้ ีการวางแผนจัดตั้งกลไกการตรวจ สอบทางประชาธิปไตยในข้อตกลงว่าด้วยประเด็นทางการเมือง ระหวา่ งสองฝงั่ ชอ่ งแคบไตห้ วัน ซงึ่ ได้มกี ารบญั ญตั ไิ ว้ในมาตราที่ 5 ขอ้ 3 นอกจากน้ี ก็ยงั มีสาระส�ำคญั อืน่ ๆ ทีไ่ ดบ้ ัญญตั ิไวใ้ นรฐั บัญญัติ อาทิ เสรมิ สร้างกลไกการบริหารการเดนิ ทางไปปฏิบัตหิ นา้ ทใ่ี นจีน ของเจ้าหน้าท่ีภาครฐั ไตห้ วนั ภายใตม้ าตราท่ี 9 ข้อ 9-3 และข้อที่ 91 รวมถึงปรับอัตราค่าปรับส�ำหรับการลงทุนของนักลงทุนจีนท่ีไม่ได้ ผา่ นการรับอนุญาต เพ่ือแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความรนุ แรงในการละเมิด มาตราท่ี 93-1 แนวทางทม่ี ่ันคง รัฐบาลไต้หวันจะยังคงด�ำเนินนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างสองฝั่ง ชอ่ งแคบไตห้ วนั ตอ่ ไป ภายใตพ้ น้ื ฐานของบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) รัฐบัญญัติความสัมพันธ์ประชาชน สองฝั่งช่องแคบไต้หวันและเจตจ�ำนงของประชาชน นอกจาก 48
49ความสัมพันธ์ระหว่างสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน น้ี รฐั บาลไตห้ วนั ยงั ไดเ้ รยี กรอ้ งใหร้ ฐั บาลจนี ยอมรบั การคงอยขู่ อง สาธารณรฐั จนี (ไตห้ วนั ) ประกอบกบั ประชาชนไตห้ วนั มคี วามเชอื่ มน่ั ในระบอบประชาธปิ ไตยอยา่ งไมส่ นั่ คลอน ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ตอ้ งการเรยี ก รอ้ งใหร้ ฐั บาลจนี ตอบสนองตอ่ แนวทางทปี่ ธน.ไชฯ่ เสนอ “สนั ตภิ าพ ความเทา่ เทยี ม ประชาธปิ ไตย และการเจรจา” และการสง่ เสรมิ การ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างกระตือรือร้น จงึ จะเปน็ การยกระดบั สวสั ดกิ ารความเปน็ อยทู่ ดี่ ใี หก้ บั ประชาชนระหวา่ งสองฝง่ั ชอ่ งแคบได้ อยา่ งแทจ้ รงิ อนง่ึ รฐั บาลไตห้ วนั จะยงั คงเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ใน เชงิ ลกึ กบั สหรฐั อเมรกิ า ญป่ี นุ่ และประเทศทมี่ แี นวคดิ คลา้ ยคลงึ กนั ตอ่ ไป เพอ่ื ตอ่ ตา้ นการคกุ คามจากจนี สง่ เสรมิ การพฒั นาดา้ นความ มนั่ คง สนั ตภิ าพ เสถยี รภาพ และความเจรญิ รงุ่ เรอื งในภมู ภิ าคตอ่ ไป ตลอดจนปกปอ้ งผลประโยชนข์ องประเทศใหค้ งอยสู่ บื ไป นกั ทอ่ งเทย่ี วจากจนี ไปไตห้ วนั หน่วย: ลา้ น 2,683,093 ครง้ั 4 3 นักท่องเที่ยว 2 1 0 การเดนิ ทางทางธรุ กิจและอนื่ ๆ 2006 2019 แหล่งท่ีมา: สำ� นักตรวจคนเขา้ เมืองแหง่ ชาติ กระทรวงมหาดไทย สาธารณรฐั จนี (ไตห้ วนั )
เศรษฐกจิ คณุ ทราบหรอื ไม่ ไต้หวนั เป็นผ้สู ง่ ออกสินค้ารายใหญ่อันดบั ที่ 17 ของโลก ในปี 2019 ภายใต้นโยบายมุ่งใต้ใหม่ ไต้หวันไดพ้ ฒั นาความสัมพันธ์ใน เชงิ ลึกกับ 10 ประเทศสมาชกิ อาเซียน 6 ประเทศในภมู ิภาค เอเชียใต้ รวมถงึ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ ไต้หวันครองต�ำแหน่งส�ำคัญในเศรษฐกิจโลกและเป็นผู้น�ำด้าน อตุ สาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในระดับโลก รวม ทง้ั เปน็ ผผู้ ลติ สินค้าหลักในอตุ สาหกรรมทห่ี ลากหลาย ตามรายงานขององค์การการค้าโลก ระบุวา่ ไตห้ วนั เป็นผ้สู ่งออก รายใหญ่อนั ดับท่ี 17 และเป็นผู้นำ� เข้ารายใหญอ่ นั ดับท่ี 17 ของโลก ในปี 2019 อีกทง้ั ยงั เป็นหนงึ่ ในประเทศท่ีมที ุนสำ� รองระหวา่ งประเทศ มากทสี่ ุดของโลก ตามข้อมลู ณ เดอื นธันวาคม ปี 2019 ผลิตภณั ฑ์ มวลรวมภายในประเทศต่อประชากรสงู แตะระดับ 25,909 ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2019 ในแง่ของการจัดอันดบั ประเทศตามผลิตภณั ฑ์มวล รวมในประเทศ ไต้หวันอยู่ในอันดับใกล้เคียงกับสวิตเซอร์แลนด์และ โปแลนด์ ในขณะท่ีความเท่าเทียมกันของอ�ำนาจซื้อของประชาชน 50
นกั ศกึ ษาชาวอนิ เดียที่ศึกษาในมหาวิทยาลยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ฟู๋ ่ง ที่ต้งั อย่ใู นเมืองเจียอ้ี ภาคใตข้ องไตห้ วัน เขา้ ฝกึ งานในสถานประกอบการ ของบรษิ ัท Far East Machinery Co. ที่มสี ำ� นักงานใหญต่ งั้ อย่ใู นเมอื งเจียอี้ (ภาพจาก Chin Hung-hao)
เฉลย่ี ต่อบุคคล อยูใ่ นอันดับใกล้เคยี งกับสวีเดนและเดนมาร์ก โดยมี อนั ดบั ทส่ี ูงกว่าญป่ี นุ่ และเกาหลใี ต้ การเตบิ โตทางการคา้ หลงั จากประสบปญั หาวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ โลกในปี 2009 ประกอบกบั เศรษฐกจิ ทมี่ งุ่ เนน้ การสง่ ออกของไตห้ วนั ตอ้ งประสบปญั หาอกี ครงั้ ในปี 2015 โดยมสี าเหตมุ าจากความตอ้ งการสนิ คา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ น ตลาดโลกทล่ี ดตำ�่ ลง ประกอบกบั ราคานำ้� มนั ดบิ ทป่ี รบั ตวั ลดลง ดว้ ย เหตนุ ี้ จงึ ทำ� ใหไ้ ตห้ วนั มกี ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เพยี งรอ้ ยละ 1.47 ปรมิ าณการคา้ หดตวั ลงรอ้ ยละ 13.3 ในปี 2015 แตส่ ถานการณ์ วกิ ฤตขา้ งตน้ กลบั มาฟน้ื ตวั ไดใ้ นปี 2016 และจากขอ้ มลู สถติ แิ สดงให้ ภาพรวม GDP ผลิตภณั ฑม์ วลรวม รายได้เฉล่ยี อ�ำ นาจซ้อื ของ ภายในประเทศ ตอ่ บุคคล ประชาชนเฉลีย่ ทเี่ ปน็ ตวั เงิน 25,909 ต่อบคุ คล 611,000 ดอลลารส์ หรฐั 56,760 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ดอลลารส์ หรฐั 35.8% GDP 1.76% อตุ สาหกรรม การเกษตร 62.42% บริการ 52
53เศรษฐกิจ เหน็ วา่ ถงึ แมใ้ นปี 2019 ปรมิ าณการสง่ ออกของไตห้ วนั ในภาพรวม จะลดลงรอ้ ยละ 1.44 แตอ่ ตั ราการนำ� เขา้ กลบั เตบิ โตขนึ้ รอ้ ยละ 0.32 และมกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกจิ รอ้ ยละ 2.71 ในขณะทกี่ ารเตบิ โต ทางเศรษฐกจิ ไดร้ บั ผลกระทบจากสงครามการคา้ จนี – สหรฐั ฯ แต่ เนอ่ื งดว้ ยนกั ธรุ กจิ กลบั เขา้ มาลงทนุ ขยายการผลติ ในประเทศ จงึ ท�ำให้ไต้หวันได้รับผลกระทบที่ไม่รุนแรงมากนัก ส่วนการเติบโต ทางการคา้ ไดก้ ลบั มาฟน้ื ตวั ในเดอื นมกราคมและกมุ ภาพนั ธ์ ปี 2020 โดยอตั ราการสง่ ออกและนำ� เขา้ เตบิ โตขนึ้ รอ้ ยละ 6.4 และ 5.3 ตาม ลำ� ดบั มลู คา่ การคา้ โดยรวมเตบิ โตขน้ึ รอ้ ยละ 5.9 ในแตล่ ะปี รายการส�ำรวจประจ�ำปีของเศรษฐกิจโลก รวมถึงที่ด�ำเนินการ ส�ำรวจโดยสภาเศรษฐกิจโลก (WEF) และหน่วยงานสถาบันประเมนิ ความเสยี่ งดา้ นธุรกิจ (BERI) และหนว่ ยงานทว่ี เิ คราะหเ์ ศรษฐกิจ (EIU) จดั ใหไ้ ต้หวันอยู่ในอันดับต้นๆ ของโลกมาตลอดทุกปี อัน เป็นผลสืบเน่ืองมาจากการพัฒนาในระยะยาวและการพัฒนาทาง เทคโนโลยี รายงานตามทีเ่ ผยแพรใ่ นปี 2019 – 2020 กแ็ สดงให้ เหน็ ถึงทิศทางทด่ี เี ช่นเดียวกันกับปีทีผ่ ่านๆ มา (ดูท่ตี าราง “การจดั อนั ดบั การสำ� รวจท่วั โลก” หนา้ 58 – 59) ในเดือนกรกฎาคม ปี 2013 ไตห้ วันไดล้ งนามความตกลงวา่ ด้วย ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจกับนิวซีแลนด์ ซ่ึงนับเป็นการร่วมลง นามคร้ังแรกกับประเทศสมาชิกในองค์การเพื่อความร่วมมือและการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) นอกจากนี้ ยงั ได้มีการลงนามใน ความตกลงหุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจระหว่างไตห้ วัน - สิงคโปร์ในเดอื น พฤศจิกายนของปีเดียวกัน ซึ่งนับเป็นความตกลงฉบับแรกของ ไต้หวันกับคู่ค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยความตกลง ท้งั สองฉบับดังกลา่ วไดด้ ำ� เนินไปไกลเกินกวา่ เงือ่ นไขของ WTO แล้ว
อตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ 2015 1.47% 2016 2.17% 2017 3.31% 2018 2.75% 2019 2.71% แหล่งทม่ี า : สำ� นักงานบัญชกี ลางและสถติ ิ สภาบริหารไต้หวนั สาธารณรฐั จีน (ไตห้ วัน) นอกจากนี้ ไตห้ วนั ยงั ได้ร่วมด�ำเนนิ การวิจัยความเป็นไปไดใ้ นความ ตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านเศรษฐกจิ (ECA) ระหว่างไต้หวัน – อินโดนีเซยี และไต้หวนั – อนิ เดยี โดยรายงานการประเมินไดร้ บั การน�ำ เสนอในกรงุ จาการต์ าในเดือนธนั วาคม ปี 2012 และกรงุ นวิ เดลีใน เดือนกนั ยายน ปี 2013 ตามล�ำดบั กลา่ วโดยสรุป ความตกลงด้าน เศรษฐกิจระหว่างไตห้ วัน – นวิ ซแี ลนด์ และไต้หวนั – สิงคโปร์ หรอื แม้ กระทัง่ ECAs ตา่ งกถ็ ูกคาดหวังในการช่วยใหไ้ ต้หวันเข้ามสี ่วนร่วม ในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เช่นเดียวกับความ ตกลงก้าวหน้ารอบด้านหุ้นส่วนพันธมิตรเอเชียแปซิฟิก (CPTPP) และความตกลงห้นุ ส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมภิ าค (RCEP) แนวทางในการพัฒนา นับตงั้ แตเ่ ดอื นพฤษภาคม ปี 2016 ไต้หวันได้พฒั นาแผนแมบ่ ทดา้ น การพฒั นาทางเศรษฐกจิ รปู แบบใหม่ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื กระต้นุ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ผา่ นการสง่ เสริมนวัตกรรม เพิ่มโอกาส การจา้ งงาน และสร้างหลกั ประกนั ด้านการกระจายผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจอย่างเท่าเทยี ม ภายใตแ้ ผนแมบ่ ทดังกล่าว ไตห้ วันต้อง 54
55เศรษฐกิจ เร่งเสริมสร้างความเชื่อมโยงระดับโลกและระดับภูมิภาคผ่านแนวคิด ต่างๆ อาทิ นโยบายมุ่งใตใ้ หม่ ซึ่งเป็นนโยบายทมี่ ีวตั ถปุ ระสงค์ใน การเช่ือมโยงตลาดนานาชาติกับประเทศสมาชิกอาเซียนและเอเชียใต้ รวมทัง้ ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด์ โดยไต้หวนั จะจับตาความคืบหน้า ในการพัฒนาของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคต่อไป ตลอดจนแสวงหาทกุ โอกาสในการเขา้ มีส่วนรว่ มทเ่ี ปน็ ไปได้ เพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศและเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันระดับ นานาชาติ แผนแม่บทการพัฒนาเศรษฐกิจได้มุ่งเน้นไปท่ีการสง่ เสริมโครงการอุตสาหกรรมนวตั กรรม 5 + 2 ประกอบด้วย ชวี เภสัช ภัณฑ์ เทคโนโลยพี ลงั งานสีเขยี ว อตุ สาหกรรมกลาโหม เคร่ืองจักร กลอจั ฉรยิ ะ และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิง่ (IoT) รวมทั้งยังมีแนวคิด รายงานผลการด�ำ เนนิ งานตามนโยบายมงุ่ ใตใ้ หม่ 2019 16.5% 17.2% การคา้ กบั 18 ประเทศเปา้ หมายนโยบายมงุ่ ใตใ้ หม่ การลงทนุ ใน 18 ประเทศเปา้ หมายนโยบายมงุ่ ใตใ้ หม่ 2016
ขอ้ มลู ดา้ นการคา้ และการลงทนุ (2019) มูลค่าการคา้ รวม : 614,900 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลคา่ ส่งออก : 329,200 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั มูลคา่ นำ�เข้า : 285,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดุลการค้า : เกนิ ดุล 43,500 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั จีน (รวมฮอ่ งกง) 40.1 % อาเซยี น 16.4 % สหรัฐอเมรกิ า 14.1 % ยุโรป 8.4 % ญีป่ ุ่น 7.1% ประเทศสง่ ออกหลกั ของไตห้ วนั ประเทศน�ำ เขา้ หลกั ของไตห้ วนั จีน (รวมฮ่องกง) 20.5 % ญ่ปี ุ่น 15.4 % ยโุ รป 10.9 % สหรฐั อเมริกา 12.2 % อาเซยี น 12.2 % 478,100ทนุ ส�ำ รองระหวา่ งประเทศ : ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (ณ ธนั วาคม ปี 2019) 56
57เศรษฐกิจ มลู คา่ เงนิ ลงทนุ ทางตรงในตา่ งประเทศ : 6,850 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั • 5 อนั ดับประเทศปลายทางหลัก ดนิ แดนของสหราชอาณาจกั รในทะเลแครบิ เบยี น 1,310 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั เวียดนาม 915 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั สิงคโปร์ 636 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ลกั เซมเบิรก์ 604 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั สหรัฐอเมรกิ า 561 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ ทางตรงจากตา่ งประเทศ : 11,200 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั • 5 อนั ดับประเทศทม่ี าของเงินลงทนุ จากตา่ งประเทศ ดนิ แดนของสหราชอาณาจกั รในทะเลแครบิ เบยี น 3,120 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ เนเธอรแ์ ลนด์ 2,290 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ญป่ี ่นุ 1,270 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ออสเตรเลยี 714 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฮ่องกง 647 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั หลกั อกี 2 ประการ ประกอบดว้ ย เศรษฐกจิ หมุนเวียนและการเกษตร รปู แบบใหม่ รวมไปถึงโครงการซิลิคอนวัลเล่ย์เอเชียที่จัดตงั้ ข้ึนใน นครเถาหยวน ที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของไต้หวัน โดยโครงการนี้มี วัตถุประสงค์เพ่ือบ่มเพาะบุคลากรที่จะน�ำอุตสาหกรรมก้าวไปสู่การ พฒั นาในอนาคต
นอกจากน้ี รัฐบาลไต้หวันยังได้ส่งเสริมการพัฒนาโครงการ ก่อสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานแห่งอนาคต เพ่ือให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการดา้ นสาธารณูปโภคข้ันพน้ื ฐานแหง่ ชาตใิ นอีก 30 ปี ขา้ งหนา้ โดยโครงการดังกล่าวประกอบด้วย 8 องค์ประกอบหลัก ดังน้ี การพฒั นาระบบรางรถไฟ โครงสร้างพ้นื ฐานดจิ ิทลั การ ปฏริ ปู ทรัพยากรน้�ำ ความปลอดภัยทางดา้ นอาหาร พลังงานสีเขียว การพัฒนาเมอื งและชนบท การเพ่มิ อัตราการเกดิ และการดแู ลเด็ก เลก็ รวมถึงการบ่มเพาะบุคลากรและการทำ� งาน ในขณะท่สี ่งเสรมิ การผลกั ดนั อตุ สาหกรรมนวตั กรรม รัฐบาลไต้หวัน ก็ยงั ได้เร่งอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม ภายใต้บริบทดังกล่าว เศรษฐกิจ รูปแบบใหม่มีเป้าหมายที่ต้องการจะบูรณาการการปรับโครงสร้าง การจดั อนั ดบั การส�ำ รวจทว่ั โลก อนั ดับ 16 หัวข้อการสำ�รวจ (วันทเ่ี ผยแพร)่ 4 26 ดัชนีบง่ ชี้ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของโลก 11 (พฤษภาคม 2019) 15 สภาพแวดลอ้ มการลงทนุ (ธนั วาคม 2019) 12 ดชั นีบง่ ชี้ระดับความพรอ้ มของการพฒั นาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ปี 2019 (ธนั วาคม 2019) ดชั นีเสรภี าพทางเศรษฐกิจ (มีนาคม 2020) ความยากงา่ ยในการประกอบธรุ กจิ (ตุลาคม 2019) ดัชนีความสามารถในการแข่งขันระดบั โลก ปี 2019 (ตลุ าคม 2019) 58
59เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การวางแผนการใช้ที่ดิน และกลยุทธ์การพัฒนาใน ระดับภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ย่ังยืนควบคู่ไปกับการส่ง เสรมิ การใชท้ รพั ยากรพลงั งานสีเขยี ว ภายใต้แนวทางดังกล่าว รัฐบาลมีความตั้งใจที่จะยกระดับอัตรา ค่าแรงและเสริมสร้างการพฒั นาในภมู ภิ าค ขณะเดยี วกัน ก็ต้องการ บรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด – 19) และสงครามการค้าจนี – สหรฐั ฯ ท่ียดื เย้ือมาตลอดช่วงที่ผ่านมา โดยมาตรการดังกล่าวคาดหวัง ที่จะยกระดับศักยภาพการแข่งขันทางอุตสาหกรรม และผลักดัน เศรษฐกจิ ไตห้ วนั ในปี 2020 ให้รดุ หนา้ ยง่ิ กว่าเดมิ จำ�นวนประเทศทเ่ี ขา้ หน่วยงานท่ที ำ�การสำ�รวจ รว่ มการสำ�รวจ 63 สถาบนั บริหารธรุ กจิ โลซาน สวิตเซอรแ์ ลนด์ (IMD) 50 สถาบันประเมินความเส่ียงด้านธรุ กิจ (BERI) 122 Portulans Institute 180 สถาบันวิจัยฝา่ ยอนรุ กั ษน์ ิยมของสหรฐั ฯ (Heritage Foundation) และ Wall Street Journal 190 ธนาคารโลก 141 สภาเศรษฐกิจโลก (WEF)
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณุ ทราบหรอื ไม่ ไตห้ วันเป็นหนงึ่ ในประเทศผู้ผลิตสินค้าดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารช้นั น�ำ ของโลก ในเดอื นตลุ าคม ปี 2019 สภาเศรษฐกจิ โลก (WEF) เผย แพรร่ ายงานการจดั อนั ดับศกั ยภาพความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกรวม 141 ประเทศ โดยจัดใหไ้ ต้หวนั อยใู่ นอันดับท่ี 12 ในเดอื นเมษายน ปี 2014 สภาวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาตไิ ต้หวนั ภายใต้ การก�ำกบั ดูแลของรฐั บาลสาธารณรัฐจนี (ไต้หวนั ) เป็นหนว่ ยงาน ทม่ี งุ่ มัน่ ในการด�ำเนินการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวม ถงึ สนับสนุนผลงานวิจัยทางการศึกษา ตลอดจนให้การส่งเสรมิ สวนวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 แห่งในไตห้ วัน โดยสภาฯ ดงั กลา่ วได้มีการ ปฏิรูปและเปล่ียนชื่อหน่วยงานใหม่เป็นกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (MOST) โดยนอกจากจะสืบสานแนวทางมาตรการและ โครงการเดิมท่ีเกี่ยวข้องกับนวัตกรรมจากหน่วยงานก่อนหน้าแล้ว ยังได้มุ่งเน้นไปท่ีผลงานวิจัยทางวิชาการท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากไต้หวันอาศัยนวัตกรรม ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนการเติบโตทาง เศรษฐกิจและความก้าวหน้าของประเทศชาติ 60
นกั ท่องเทีย่ วตกตะลึงในภาพดอกไม้ทม่ี ีความคมชัดสงู ในเทศกาลทะเล ดอกไม้ระดบั นานาชาติ ทีจ่ ัดขึน้ ณ นครไถจง (ภาพจาก Chin Hung-hao)
เ บ้ื อ ง ห ลั ง ค ว า ม ส� ำ เ ร็ จ ข อ ง ห ล า ย บ ริ ษั ท ที่ ด� ำ เ นิ น กิ จ ก า ร ด ้ า น เทคโนโลยีขั้นสูงของไต้หวัน ส่วนใหญ่ต่างได้รับทุนสนับสนุนการ พฒั นาทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีจากรัฐบาล ดว้ ยความ สนับสนนุ จากทางรฐั บาล สถาบันวิจยั เทคโนโลยอี ตุ สาหรรม (ITRI) สถาบันวจิ ยั NARlabs และสถาบันอุตสาหกรรมสารสนเทศ (III) ต่างมีบทบาทส�ำคัญในการผลักดันประเทศให้ก้าวสู่ประเทศผู้นำ� ด้าน เทคโนโลยีผ่านการด�ำเนนิ การวิจัย พรอ้ มทัง้ ให้ความชว่ ยเหลอื ภาค เอกชนในการวิจยั และพัฒนา ตลอดจนแสวงหาเทคโนโลยใี หมๆ่ สนับสนุนดา้ นนวัตกรรม ศกั ยภาพทางดา้ นนวตั กรรมของ ITRI แสดงใหเ้ หน็ ไดจ้ ากตลอด 12 ปี ทผี่ า่ นมา ITRI สามารถควา้ 41 รางวลั ใหญจ่ ากเวที R&D 100 Awards รายรบั ตลอดทง้ั ปขี องสวนวทิ ยาศาสตรท์ ง้ั 3 แหง่ ของไตห้ วนั (ปี 2019) สวนวทิ ยาศาสตรซ์ นิ จู๋ สวนวทิ ยาศาสตรไ์ ทจง สวนวทิ ยาศาสตรไ์ ถหนาน 41.5% 30.3% 28.2% US$ 35,420 US$ 25,870 US$ 24,120 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ล้านดอลลารส์ หรฐั ล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาพจากกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาธารณรฐั จีน (ไตห้ วนั ) 62
63วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มลู คา่ การผลติ และสว่ นแบง่ ในตลาดโลกของ สนิ คา้ และบรกิ ารทผ่ี ลติ ในไตห้ วนั (ปี 2019) N0.1 ทัว่ โลก หมวดหมู่ มลู คา่ การผลติ ปรมิ าณ ส่วนแบง่ ใน (ล้านดอลลารส์ หรัฐ) ตลาดโลก (%) การผลติ วงจรรวม (IC) ตาม 40,352 71.43 ความต้องการของลกู ค้า การทดสอบและการบรรจุชิ้น 13,973 48.7 ส่วนวงจรรวม (IC) เซลล์คลอเรลล่า 903 ตัน 45.12 จกั รยานทมี่ คี ณุ ภาพและ 1,979,000 28.6 เทคโนโลยรี ะดับสูง แผ่นเวเฟอรซ์ ลิ ิคอน 2,312 20.96 N0.2 ท่ัวโลก อปุ กรณน์ ำ�ทางแบบพกพา 576 41.71 ซบั สเตรทของวงจรรวม (IC) 2,425 23.3 จอภาพผลึกเหลว 7,562 20.17 ทรานซสิ เตอรแ์ ผน่ บาง ขนาดเล็กและกลาง การออกแบบวงจรรวม (IC) 22,072 18.74 ฟอยลท์ องแดงท่ใี ชเ้ ป็นสอ่ื 73.78 ล้าน 14.8 กระแสไฟฟา้ ตารางเมตร แผน่ วงจรพิมพ์ 7,493 10.97 แหล่งท่ีมา : โครงการให้บรกิ ารความรทู้ างเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (ITIS) กระทรวงเศรษฐการ สาธารณรฐั จนี (ไตห้ วัน)
การจดั อนั ดบั การส�ำ รวจทว่ั โลก หวั ขอ้ การสำ�รวจ (วนั ทเ่ี ผยแพร)่ อนั ดบั (ประเภท) รายงานความสามารถในการแข่งขัน 4 (ความสามารถด้านนวัตกรรม) ระดบั โลก ปี 2019 (ตลุ าคม 2019) ความสามารถในการแขง่ ขนั ของโลก 13 (โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางเทคโนโลย)ี ปี 2019 (พฤษภาคม 2019) 8 (โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร)์ ทจี่ ดั โดย R&D World Magazine ของสหรฐั อเมรกิ า อกี ทงั้ ยงั ไดร้ บั รางวลั Derwent Top 100 Global Innovators และตดิ 100 อนั ดบั สดุ ยอดองคก์ รแหง่ นวตั กรรมของโลกเปน็ ปที ่ี 3 ตดิ ตอ่ กนั นอกจากน้ี ITRI ยงั มสี ว่ นชว่ ยในการจดั ตง้ั บรษิ ทั หลายแหง่ ทม่ี บี ทบาททโี่ ดดเดน่ ในตลาดโลก อาทิ บรษิ ทั Taiwan Semiconductor Manufacturing Co. (TSMC) และ บรษิ ทั United Microelectronics Corp. (UMC) ซง่ึ เปน็ หนงึ่ ในบรษิ ทั ชน้ั นำ� ระดบั โลกทผ่ี ลติ ชปิ ใหก้ บั ทว่ั โลก NARlabs ได้จัดต้ังสถาบันวิจัยทดลองแห่งชาติรวม 8 แหง่ ครอบคลมุ ในดา้ นตา่ งๆ 4 ประการ ประกอบดว้ ย “โลกและสง่ิ แวดลอ้ ม” “เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร” “เทคโนโลยชี วี ภาพการแพทย”์ และ “นโยบายดา้ นเทคโนโลย”ี โดย NARlabs มคี วามมงุ่ มนั่ ในการ ดำ� เนนิ ภารกิจจัดตั้งแพลตฟอร์มวิจัยและพัฒนา (R&D) ใหก้ าร สนบั สนนุ ผลงานวจิ ยั เชงิ วชิ าการ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั แนวหนา้ บม่ เพาะบคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยขี นั้ สงู อนงึ่ ดาวเทยี ม Formosat–5 ของไต้หวนั ท่ีไดป้ ลอ่ ยขน้ึ สวู่ งโคจรเมื่อปี 2017 ไดใ้ ห้ ความช่วยเหลือบรรเทาภัยพิบัติท้ังในและต่างประเทศแล้วกว่า 35 ครง้ั ผา่ นการตรวจจบั ภาพระยะไกล สง่ิ เหลา่ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ องคก์ ร ได้บรรลุเป้าหมายในการได้รับการยอมรับจากนานาชาติและช่วย พฒั นาความเจรญิ กา้ วหนา้ ในประเทศ สว่ นผลสมั ฤทธท์ิ างดา้ นการ 64
65วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำ�นวนประเทศทเ่ี ขา้ รว่ มการสำ�รวจ หนว่ ยงานทท่ี ำ�การสำ�รวจ 141 สภาเศรษฐกจิ โลก (WEF) 63 สถาบันบรหิ ารธุรกิจโลซาน สวติ เซอร์ แลนด์ (IMD) วจิ ยั ขององคก์ รไดร้ บั รางวลั ประกาศเกยี รตคิ ณุ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยรี วม 6 รางวลั จากสภาบรหิ ารไตห้ วนั เพอ่ื ยกยอ่ งชน่ื ชมใน การสรา้ งคณุ ประโยชนใ์ หก้ บั สงั คม เปา้ หมายของ III คือการส่งเสริมศักยภาพการแข่งขันระดบั นานาชาติของไต้หวัน ผ่านการจัดตั้งแพลตฟอร์มเพื่อการเปลีย่ น ผา่ นสรู่ ะบบดิจิทัล โดยสถาบนั ฯ ไดเ้ ร่งดำ� เนนิ การวจิ ยั และพฒั นา สินคา้ และนวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) นอกจากนี้ ยังมีบทบาทส�ำคัญในการยกระดบั การพฒั นาเทคโนโลยี ICT ในภาครฐั และภาคเอกชน โดยท�ำหน้าที่เป็นคลังสมองในการ ก�ำหนดนโยบายและส่งเสรมิ การบ่มเพาะบคุ ลากร กว่า 3 ทศวรรษ ท่ีผ่านมา มผี ูเ้ ชย่ี วชาญในสาขาทเี่ กีย่ วขอ้ งส�ำเรจ็ การฝึกการอบรม จากสถาบันแหง่ นกี้ ว่า 480,000 คน ระบบนิเวศทางเทคโนโลยีของไต้หวัน มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะ สำ� หรบั นกั ลงทุนท่วั โลกท่ตี ้องการสร้างฐานธุรกิจในเอเชีย นอกจาก นี้ ผรู้ ว่ มลงทุนในพ้นื ท่ี ผูใ้ หบ้ รกิ ารดา้ นวศิ วกรรม และนักพฒั นา เทคโนโลยีของไตห้ วัน ล้วนมีประสบการณ์มากมายดา้ นการประสาน ความร่วมมือในโครงการวิจัยและพัฒนาที่ทันสมัย โดยได้มีการ จดั แสดงผลงานวทิ ยาการลำ�้ หนา้ ที่ Taiwan Tech Arena (TTA)
ยทุ ธศาสตร์ 6 อตุ สาหกรรมหลกั ของ ประธานาธบิ ดไี ชอ่ งิ เหวนิ อตุ สาหกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ ระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยดี จิ ิทลั อุตสาหกรรมความมั่นคงปลอดภัย ของระบบสารสนเทศแหง่ ชาติ อุตสาหกรรมเทคโนโลยชี ีวภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ หรือศูนย์รวมนวัตกรรมและศูนย์สตาร์ทอัพ ซ่ึงเป็นท่นี ยิ มในกลมุ่ ผูป้ ระกอบการรุ่นใหม่จากทัว่ ทกุ มมุ โลก TTA ถือเป็นแพลตฟอร์มท่ี รวบรวมผู้ประกอบการที่มีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ธรุ กจิ การร่วมลงทนุ และผปู้ ระกอบการธรุ กจิ เขา้ ไว้ด้วยกัน เพือ่ ร่วม แลกเปลยี่ นและเพื่อเปน็ แหล่งบ่มเพาะบคุ ลากรระดบั นานาชาติ โดย คาดหวงั ว่าในทกุ ปจี ะมกี ลมุ่ นักธุรกิจสตาร์ทอพั เพมิ่ ขึน้ 100 บรษิ ัท และมผี ู้ประกอบการรายใหมเ่ พิม่ ขึ้น 2,000 ราย ตลอดจนนำ� มาซึ่ง การเติบโตดา้ นการลงทนุ ในภายภาคหนา้ 66
67วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ และอุตสาหกรรมเชิงกลยุทธ์ อตุ สาหกรรมพลงั งานสเี ขยี ว และพลังงานหมนุ เวียน อุตสาหกรรมสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภค และสนิ ค้ายทุ ธศาสตร์ หลังจากท่ีหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนได้ร่วมกันพัฒนาความ เชีย่ วชาญทางเทคโนโลยีมาเป็นระยะเวลานานหลายปี ในปัจจุบนั สวนวิทยาศาสตร์กลายเป็นท่ีตั้งของกลุ่มผู้ประกอบการที่ต้องการ เสรมิ สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ใหก้ บั กจิ การของตน อาทิ เทคโนโลยี ชวี ภาพ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอุปกรณ์ต่อพ่วง วงจรรวม นาโนเทคโนโลยี ออปโตอเิ ล็กทรอนิกส์ เคร่ืองจกั รที่มีความแม่นย�ำ สูงและระบบส่อื สารทางไกล
การศึกษา คณุ ทราบหรอื ไม่ ไต้หวันเรม่ิ บงั คับใชร้ ะบบการศึกษาภาคบังคับ 12 ปี นบั ตั้งแตป่ ี 2014 เป็นตน้ มา ไตห้ วนั มีมหาวิทยาลยั และวิทยาลยั รวมทัง้ หมด 152 แห่ง การศึกษาเป็นองค์ประกอบท่ีส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายของรัฐ และเปน็ ส่วนทีใ่ ชง้ บประมาณค่อนขา้ งมาก สืบเน่ืองจากการทร่ี ฐั บาล ให้ความส�ำคัญกับการศึกษาระดับอุดมศึกษารวมถึงวิทยาลัย อาชีวศึกษา ประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไปท่ีมีการศึกษาในระดบั วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาหรือระดับปริญญาครองสัดส่วนร้อยละ 46.5 เตบิ โตขึ้นร้อยละ 9.4 จากทศวรรษทผ่ี า่ นมา เพื่อเสริมสร้างโอกาสที่มากข้ึนให้กับนักเรียนนักศึกษา กระทรวง ศกึ ษาธิการไต้หวันไดข้ ยายระยะเวลาการศึกษาภาคบังคับจาก 9 ปี เป็น 12 ปี และเริม่ มีผลบังคบั ใช้นบั ตงั้ แต่ปี 2014 เป็นต้นมา โดย ในทุกปีหน่วยงานภาครัฐจะท�ำการจัดการแข่งขันทางวิชาการ มากมาย อาทิ การแขง่ ขนั วทิ ยาศาสตร์โอลมิ ปกิ ระหว่างประเทศ ซึ่ง 68
กิจกรรมนอกหอ้ งเรียนมบี ทบาทส�ำคญั ในระบบการศึกษาของไต้หวนั เป็น อย่างมาก (ภาพจาก Pang Chia-shan)
นักศึกษาของไต้หวันต่างสามารถสร้างผลงานที่กวาดรางวัลใน สาขาต่างๆ มาครองไดอ้ ย่างสำ� เรจ็ อาทิ ชวี วทิ ยา เคมี วทิ ยาศาสตร์ โลก คณิตศาสตร์ สารสนเทศและฟิสิกส์ บุคลากรคณุ ภาพของ ไต้หวันได้สร้างคุณประโยชน์ในด้านการส่งเสริมความเจริญรุ่งเรือง ทางเศรษฐกิจและช่วยในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน ประเทศ ในปี 2013 คณะกรรมการกจิ การการกฬี าของไต้หวนั ถูกจดั ให้ อยภู่ ายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพือ่ รว่ มส่ง เสริมการกีฬาทุกประเภท ในปี 2017 กรงุ ไทเปไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ เจา้ ภาพในการจดั การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก (2017 Summer Universiade) ซ่งึ เปน็ กิจกรรมการกีฬาคร้งั ส�ำคัญทีส่ ุด เทา่ ทีเ่ คยมี การจัดข้ึนในไตห้ วนั โครงการทนุ การศึกษา ไต้หวันมีทุนการศึกษาของท้ังรัฐบาลและมหาวิทยาลัยไว้รองรับ นกั ศกึ ษาต่างชาติ โดยโครงการทุนการศกึ ษาของไต้หวันประกอบ ด้วย ทุนสำ� หรับนกั ศกึ ษาทต่ี อ้ งการเขา้ ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี และโทในสาขาเฉพาะทางต่างๆ โดยผสู้ นใจสามารถตดิ ต่อสถานทูต ไต้หวนั หรอื ส�ำนักงานตวั แทนไต้หวนั ของประเทศนน้ั ๆ หรอื เข้าเยยี่ ม ชมเว็บไซต์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร : www.edu.tw เพ่ือสนับสนุนให้นักเรียนต่างชาติเดินทางมาศึกษาในหลักสูตรภาษา จนี ในไต้หวนั กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งทุนเรียนภาษาจีนระยะ สน้ั (Huayu Enrichment Scholarship, HES) โดยโครงการดัง กล่าวมีวัตถุประสงค์ท่ีต้องการจะส่งเสริมให้ชาวต่างชาติเข้าศึกษา ในหลักสูตรภาษาจีนในสถาบันสอนภาษาท่ัวทุกพื้นที่ของไต้หวัน 70
71การศึกษา ขณะเดียวกันก็เป็นการส่งเสริมให้ชาวต่างชาติท�ำความรู้จักกับ วัฒนธรรมและสังคมไตห้ วนั มากขน้ึ รายช่อื สถาบนั สอนภาษาจีน และขอ้ มลู การศึกษาหลกั สตู รภาษาจนี ในไต้หวัน สามารถคน้ หารายละเอียดเพ่มิ เตมิ ได้ทเี่ ว็บไซต์ของ MOE (www.studyintaiwan.org) และสำ� นกั งานส่งเสรมิ การศึกษาภาษา จีนระดับโลก (ogme.edu.tw) ภาพรวม (2019) (2020) 99% อตั ราการร้หู นงั สอื (15 ปีขนึ้ ไป): รายจา่ ยดา้ นการศกึ ษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม : 20.4% ของงบประมาณจากรัฐบาลกลาง สถาบันระดับอดุ มศกึ ษา : 152 มหาวิทยาลัยและวิทยาลยั 140 แหง่ สถาบันการศึกษาระดับอนปุ ริญญา 12 แห่ง นกั ศึกษาทีล่ งทะเบยี นในสถาบนั ระดับอดุ มศกึ ษา: 1.21รวม: ลา้ น โปรแกรมปริญญาโท: 168,203 โปรแกรมปริญญาเอก: 28,510 (2019)
วฒั นธรรม คณุ ทราบหรอื ไม่ ไตห้ วนั เปน็ ศูนย์กลางอตุ สาหกรรมเพลงป็อปภาษาจนี กลาง พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระราชวงั แหง่ ชาตใิ นกรงุ ไทเป เป็นหนง่ึ ในสถานท่ี เกบ็ รวบรวมโบราณวตั ถุจนี ท่ใี หญท่ สี่ ดุ ในโลก ไต้หวันขึ้นชื่อในด้านการน�ำวัฒนธรรมโบราณมาผสมผสานกับ วัฒนธรรมสมัยใหม่ได้อย่างน่าต่ืนตาต่ืนใจ ไต้หวันมีพิพิธภัณฑ์ มากมายตั้งอยู่ทั่วประเทศ เพ่ือจัดแสดงความหลากหลายทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็นพิพิธภัณฑ์พระราชวัง แหง่ ชาติ พพิ ิธภัณฑแ์ หง่ ชาติไตห้ วัน พิพิธภัณฑป์ ระวตั ศิ าสตรแ์ ห่ง ชาติ พพิ ิธภัณฑท์ างวัฒนธรรมก่อนประวตั ิศาสตร์ไต้หวันแหง่ ชาติ พพิ ธิ ภัณฑ์วรรณกรรมแห่งชาติไต้หวัน พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แหง่ ชาตไิ ต้หวัน นอกจากน้ี ไตห้ วนั ยังมสี ถานทจี่ ดั การแสดงทั่วประเทศ ประกอบด้วย โรงดนตรแี หง่ ชาติและโรงละครแหง่ ชาติ โรงละครแห่ง ชาตไิ ถจง ศนู ยศ์ ิลปะแหง่ ชาตนิ ครเกาสง (Weiwuying) และศนู ย์ ศิลปะการแสดงแบบดัง้ เดมิ ของไต้หวัน ดว้ ยสิง่ อำ� นวยความสะดวก ทีม่ ีคุณภาพสูง ทำ� ใหไ้ ตห้ วันกลายเปน็ ศนู ย์ศลิ ปะแหง่ เอเชีย โดยได้รับ 72
กำ� แพงเซรามกิ ในลวดลายสุดคลาสสิกของวดั เซียนเซอ่ กง ที่ต้งั อย่ใู น เขตซานฉง นครนิวไทเป (ภาพจาก Chen Mei-ling)
หน้าทเ่ี ปน็ เจา้ ภาพจัดงานต่างๆ อาทิ เทศกาลศิลปะนานาชาติไทเป และเทศกาลศลิ ปะไทเป อนงึ่ ในไตห้ วนั ยงั เปย่ี มดว้ ยสถาปตั ยกรรมดง้ั เดมิ ทสี่ วยงาม นอกจาก อนสุ รณส์ ถานอนั งดงามของประเทศแลว้ ก็ยังมีวัดวาอารามและ บา้ นพกั ของอดตี ประธานาธบิ ดี อกี ทง้ั ยงั มสี งิ่ ปลกู สรา้ งเกา่ แกห่ ลาย แห่งท่ีได้รับการบูรณะและเปล่ียนรูปแบบการใช้งานมาเป็นศูนย์กลาง ชมุ ชน รา้ นกาแฟ รา้ นคา้ และพน้ื ทส่ี าธารณะอน่ื ๆ ในความเปน็ จรงิ แลว้ ไตห้ วนั อนรุ กั ษไ์ วซ้ งึ่ หลายแงม่ มุ ของศลิ ปะ งานฝมี อื และประเพณี ตา่ งๆ ของจนี โบราณไดด้ กี วา่ แหง่ อน่ื ๆ ในโลก ยกตวั อยา่ งเชน่ การที่ ไตห้ วนั เปน็ หนง่ึ ในไมก่ ป่ี ระเทศทย่ี งั คงมกี ารใชต้ วั อกั ษรจนี แบบดง้ั เดมิ และมกี ารจดั กจิ กรรมการแขง่ ขนั ทกั ษะการเขยี นพกู่ นั จนี ขนึ้ เปน็ ประจำ� หลักแนวคดิ ของศาสนาพทุ ธ ลทั ธขิ งจื๊อ และลทั ธเิ ตา๋ ได้หลอมรวม เขา้ กบั วิถชี ีวิตของผคู้ นต้งั แตอ่ ดีตจนปจั จบุ ัน โดยสามารถพบเห็น ได้ทั่วไปตง้ั แตพ่ ธิ ีกรรมทางศาสนาและผลงานวรรณกรรม ไปจนถึง ทศั นศิลป์และศิลปะการแสดง นอกจากนี้ นกั ท่องเที่ยวยังสามารถ คน้ พบกบั มรดกทางวฒั นธรรมของจีนฮากกา จีนฮกเกย้ี น และชน พ้ืนเมืองไตห้ วันได้ในสถานทีแ่ หง่ นี้ นอกจากน้ี ไต้หวนั ยังไดแ้ บ่งปัน ความหลากหลายทางวัฒนธรรมไปสู่ทั่วโลกผ่านโครงการต่างๆ อาทิ การจดั ต้ังศนู ยจ์ ีนศกึ ษาแห่งไตห้ วนั ในขณะเดยี วกนั เมอื งใหญต่ า่ งๆ ในไตห้ วนั กไ็ ดม้ กี ารนำ� เสนอตวั เลอื ก ความบนั เทงิ ทห่ี ลากหลายตลอดปี ไมม่ วี นั หยดุ มคี ณะนกั แสดงทไ่ี ด้ รบั การยอมรับอย่างสูง และการแสดงดนตรีที่มีความหลากหลาย จงึ ไม่แปลกใจเลยว่า ท�ำไมไต้หวันจึงได้รับการขนานนามว่าเปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ เพลงแมนดารนิ ปอ็ ปในโลก ชว่ งไมก่ ป่ี มี าน้ี ภาคสว่ น 74
75วัฒนธรรม โทรทัศน์และภาพยนตร์ในท้องถ่ินได้รับการฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง ใน ขณะทอี่ ตุ สาหกรรมทางวฒั นธรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์ กก็ ำ� ลงั เฟอ่ื งฟอู ยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ซง่ึ จะสงั เกตเหน็ ไดจ้ ากตวั เลขการเตบิ โตของ รา้ นคา้ ตลาด และนทิ รรศการการออกแบบตา่ งๆ ในแตล่ ะปี ต้งั แต่ศิลปะวรรณกรรมไปจนถึงเทศกาลพื้นเมือง รวมไปถงึ บรรยากาศอนั แสนคึกคักในตลาดไนท์มาร์เก็ต เราจะสามารถเห็นได้ วา่ วัฒนธรรมประเพณขี องไตห้ วันมีความเก่ยี วพันอย่างลึกซงึ้ ใน วถิ ีชีวติ ของผูค้ นในสงั คม ทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ วฒั นธรรมที่เปยี่ มดว้ ยชีวิต ชีวา ซ่งึ อดตี ช่วยแต่งแต้มความมีชีวิตและมิติใหก้ ับปจั จบุ ัน ลกู ข่างเป็นองค์ประกอบท่สี �ำคัญของมรดกทางวฒั นธรรมในพื้นทขี่ อง เขตตา้ ซีในนครเถาหยวน (ภาพจาก Huang Chung-hsin)
สือ่ มวลชน คณุ ทราบหรอื ไม่ ไต้หวันถกู จดั ใหอ้ ยอู่ ันดับที่ 2 ของภูมภิ าคเอเชยี จากรายงานการจัดอันดบั ประเทศท่สี ่อื มวลชนมี เสรีภาพมากทส่ี ุด ปี 2020 ทจี่ ัดทำ�โดยองคก์ รผู้ สื่อข่าวไร้พรมแดน (RSF) ในปี 2019 ประชากรร้อยละ 95.2 เปน็ เจา้ ของ โทรศัพท์สมารท์ โฟน ความหลากหลายของส่ือไต้หวันสะท้อนให้เห็นได้จากการท่ีมีส�ำนัก ขา่ วต่างๆเกิดข้ึนมากมาย และมีการแข่งขันอย่างดุเดือดในภาค อตุ สาหกรรม โดยสำ� นกั ขา่ วตา่ งๆ ของไตห้ วนั ตา่ งดำ� เนนิ ภารกจิ อยู่ ในสภาพแวดลอ้ มของสอื่ ทม่ี เี สรภี าพมากทส่ี ดุ แหง่ หนงึ่ ในเอเชยี ไตห้ วนั ไดร้ บั การจดั ใหอ้ ยใู่ นอนั ดบั ที่ 43 ของโลกและอนั ดบั ท่ี 2 ของ ภูมิภาคเอเชียจากรายงานการจัดอันดับประเทศท่ีส่ือมวลชนมี เสรภี าพมากทส่ี ดุ ในโลก ทเ่ี ผยแพรเ่ มอื่ วนั ท่ี 21 เมษายน ปี 2020 โดยองคก์ รผสู้ อื่ ขา่ วไรพ้ รมแดน (RSF) ในฝรงั่ เศส โดยไดท้ ำ� การ สำ� รวจจาก 180 ประเทศและเขตพน้ื ทพ่ี บวา่ ไตห้ วนั อยหู่ ลงั เกาหลใี ต้ 1 อนั ดบั แตแ่ ซงหนา้ ญป่ี นุ่ ซงึ่ อยใู่ นอนั ดบั ที่ 66 ฮอ่ งกงในอนั ดบั ที่ 80 สงิ คโปรใ์ นอนั ดบั ท่ี 158 และจนี ในอนั ดบั ที่ 177 สว่ นนอรเ์ วย์ ฟนิ แลนด์ และเดนมารก์ ตดิ 3 อนั ดบั สงู สดุ ในการจดั อนั ดบั ในปนี ี้ 76
ไต้หวันเปน็ หนึ่งในประเทศทสี่ อ่ื มวลชนมเี สรีภาพมากที่สดุ ในภมู ภิ าคเอเชีย (ภาพจาก Pang Chia-shan)
สอ่ื ส่วนมากก�ำลังผลิกโฉมรูปแบบใหม่ ด้วยการเปล่ียนผ่านสู่ยคุ ดจิ ทิ ลั ส่อื ส่ิงพมิ พป์ ระเภทนิตยสาร หนังสือพิมพ์ รวมถึงสอื่ รายวนั ของ 4 สำ� นักขา่ วใหญข่ องไตห้ วัน กำ� ลงั สูญเสียฐานลูกคา้ ให้แกค่ ู่แขง่ บนโลกอนิ เทอร์เน็ตเน็ตอย่างต่อเนื่อง แต่เน่ืองด้วยไต้หวันมขี อ้ ได้ เปรยี บทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร จงึ ได้เร่งอัดฉดี เทคโนโลยีเข้าช่วย ด้วยการจัดท�ำสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และ พฒั นาอุตสาหกรรมการพมิ พห์ นงั สือ โดยปีทแี่ ลว้ ได้ตพี ิมพ์หนงั สือ ออกสตู่ ลาดรวม 41,021 ปก การเปล่ียนผ่านจากเคเบิ้ลทีวีสู่ทีวีดิจิทัล นอกจากจะเป็นการเพิ่ม อรรถรสในการรบั ชมให้แก่ผ้ชู มแลว้ ยงั เปน็ การส�ำแดงนวัตกรรมและ ใหบ้ ริการบรอดแบนด์ท่ีหลากหลาย หลังจากที่เปลี่ยนผ่านสู่ระบบ ดจิ ทิ ลั เคเบิลทวี ีได้กลายมาเป็นแพลตฟอร์มทส่ี ำ� คัญส�ำหรบั แอพพลิ เคช่นั มัลติมีเดยี ทห่ี ลากหลาย 78
79สื่อมวลชน ภาพรวม 171สถานีวิทยุ : 5สถานีโทรทัศน์ภาคพ้นื ดนิ : 64ผู้ใหบ้ ริการสัญญาณโทรทัศน์: 109ผใู้ ห้บรกิ ารการถา่ ยทอดผา่ นดาวเทียม: 252สำ�นกั พิมพห์ นังสือพิมพ์ : (275 ช่อง) 1,214สำ�นักพิมพ์นติ ยสาร : 32สำ�นกั ข่าว : (สถติ ปิ ี 2019) แหล่งที่มา : กระทรวงวฒั นธรรมและคณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติไตห้ วัน การเขา้ ถงึ สญั ญาณโทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั 99.99% 21.03% 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 แหล่งทมี่ า : คณะกรรมการการสื่อสารแหง่ ชาติไต้หวนั
การทอ่ งเทย่ี วไตห้ วนั คณุ ทราบหรอื ไม่ นกั ท่องเทย่ี วจาก 60 ประเทศและเขตพืน้ ทสี่ ามารถเดินทางเขา้ ไต้หวนั ได้ โดยไดร้ บั การยกเว้นการตรวจลงตรา และสามารถ พ�ำ นักในไต้หวนั ไดเ้ ปน็ ระยะเวลาไมเ่ กนิ 30 และ 90 วนั ไตห้ วันมีบรกิ ารสายด่วนให้บรกิ ารดา้ นการท่องเทย่ี ว รูปแบบ หลายภาษา ตลอด 24 ชั่วโมง (0800-011-765) ดว้ ยเอกลกั ษณท์ างวฒั นธรรมทผี่ สมผสานกนั อยา่ งลงตวั ประกอบ กบั ทัศนียภาพอันน่าตื่นตะลึง อาหารท่ีหลากหลาย ชีวิตในเมอื งที่ เปย่ี มดว้ ยสสี นั และอตุ สาหกรรมบรกิ ารทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาเปน็ อยา่ งดี ทำ� ใหไ้ ตห้ วนั เปน็ จดุ หมายปลายทางในฝนั สำ� หรบั บรรดานกั ทอ่ งเทยี่ ว ตา่ งชาติ โดยไตห้ วนั อนญุ าตใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วจาก 60 ประเทศและเขต พ้นื ท่ีสามารถเดินทางเขา้ ไตห้ วันได้โดยไดร้ บั การยกเว้นการตรวจลง ตรา และสามารถพำ� นกั ในไตห้ วนั ไดเ้ ปน็ ระยะเวลาไมเ่ กนิ 30 และ 90 วนั น อ ก จ า ก ร ะ บ บ ร า ง ร ถ ไ ฟ ข อ ง ไ ต ้ ห วั น ท่ี มี ร ะ ย ะ ท า ง ร ว ม 1 , 1 0 0 กโิ ลเมตรแลว้ ไตห้ วันยังมรี ถไฟความเรว็ สูงระยะทาง 350 กิโลเมตร ท่ีวง่ิ เลยี บชายฝง่ั ด้านตะวันตกอีกด้วย รถไฟความเร็วสงู อ�ำนวย ความสะดวกให้ประชาชนสามารถเดินทางไป – กลับกรุงไทเป - นครเกาสงได้ในเวลาเพียง 94 นาที นอกจากนี้ ทัง้ สองเมอื งใหญ่ 80
อโุ มงค์เปย่ ไห่ เมอื งเหลยี นเจยี ง ทีต่ ัง้ อยใู่ นเกาะรอบนอกของไต้หวนั เดมิ ออกแบบเพอ่ื ใช้เปน็ ฐานทพั เรอื ภายหลงั เปดิ ใหเ้ ป็นสถานที่ที่นักทอ่ งเท่ยี ว สามารถแลน่ เรือเข้ามาเย่ียมชมได้ (ภาพจาก Chin Hung-hao)
ขา้ งต้นและนครเถาหยวนท่ีต้ังอยู่ทางภาคเหนือของไต้หวัน ก็ยังมี ระบบขนสง่ สาธารณะท่ีทันสมัย ซึ่งช่วยอ�ำนวยความสะดวกใหก้ ับ ประชาชนในพ้ืนท่ีได้เปน็ อยา่ งมาก งานแสดงสนิ ค้านานาชาติ สภาส่งเสรมิ การคา้ และการส่งออกแหง่ ไต้หวัน (TAITRA) มีการจดั งานแสดงสินค้าและบริการครอบคลุมทุกแขนงของอุตสาหกรรม ตลอดทั้งปี โดยสถานท่ีจดั งานสว่ นใหญ่จะจัดขึ้น ณ ศูนยแ์ สดงสิน ค้าไทเปเวริ ์ลเทรดเซ็นเตอร์ อาคาร 1 และอาคาร 3 ศนู ยแ์ สดงสนิ คา้ หนานก่งั และศูนย์แสดงสินค้านครเกาสงท่ีตั้งอยู่ทางภาคใต้ของ ไตห้ วัน หากต้องการทราบรายละเอียดเพิม่ เติม สามารถเขา้ เยย่ี มชม ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ www.taiwantradeshows.com.tw ขอ้ มูลทัว่ ไปส�ำ หรบั นักท่องเทีย่ ว รัฐบาลไต้หวันได้จัดตั้งเว็บไซต์และสายด่วนให้บริการท่ีหลากหลาย เพอื่ ให้ข้อมูลแก่ชาวต่างชาติท้ังในด้านการท่องเที่ยว การพำ� นัก อาศยั และการทำ� งานในไต้หวนั ทะเลสาบสรุ ิยนั จนั ทราหรอื ซนั มูนเลค เปน็ จดุ ชมทศั นียภาพทม่ี ีชือ่ เสยี งในเมอื ง 82หนานโถว ซ่ึงต้งั อยทู่ างภาคกลางของไตห้ วนั (ภาพจากอทุ ยานแห่งชาติซันมนู เลค)
83การท่องเที่ยวไต้หวัน เวบ็ ไซต/์ สายดว่ นใหบ้ รกิ าร ภาษา กรมการทอ่ งเที่ยว อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อนิ โดนเี ซีย (Taiwan Tourism Bureau) ญป่ี ่นุ เกาหลี มาเลเซีย สเปน ไทย และ www.taiwan.net.tw เวยี ดนาม สายด่วนใหบ้ ริการขอ้ มูลการทอ่ งเที่ยว องั กฤษ ญีป่ ุ่น และจนี 0800-011-765 (ใหบ้ ริการตลอด 24 ชวั่ โมง) สำ�นกั งานตรวจคนเขา้ เมือง อังกฤษ อนิ โดนีเซีย เขมร จีน ไทย และ (National Immigration Agency) เวยี ดนาม www.immigration.gov.tw สายด่วนใหบ้ รกิ ารข้อมูลแกช่ าวต่าง ใหบ้ รกิ ารตลอด 24 ชว่ั โมง : ชาติในไต้หวัน 0800-024-111 องั กฤษ ญป่ี นุ่ และจนี เวลา 09:00-17:00 น. ของวนั ทำ�การ : เวยี ดนาม เวลา 13:00-17:00 น. ของวนั ทำ�การ : อนิ โดนเี ซยี เขมร ไทย
สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วทส่ี �ำ คญั ภาคเหนอื ของไต้หวัน พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระราชวังแห่งชาติ : www.npm.gov.tw ตกึ ไทเป 101 : www.taipei-101.com.tw พิพธิ ภณั ฑเ์ คร่อื งป้ันดินเผาอิงเกอ นครนวิ ไทเป : www.ceramics.ntpc.gov.tw อนสุ รณ์สถานแหง่ ชาตเิ จยี งไคเชค็ : www.cksmh.gov.tw วัดหลงซาน : www.lungshan.org.tw อุทยานแห่งชาติหยางหมงิ ซาน : www.ymsnp.gov.tw อทุ ยานท่องเทย่ี วแห่งชาติแหลมตะวันออกเฉยี งเหนือและชายฝัง่ อ๋หี ลัน: www.necoast-nsa.gov.tw อทุ ยานทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาตชิ ายฝง่ั ทะเลเหนอื และภเู ขากวนอนิ ซาน : www.northguan-nsa.gov.tw ภาคกลางของไต้หวัน อุทยานทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติทะเลสาบสุริยันจนั ทรา : www.sunmoonlake.gov.tw หมู่บา้ นวฒั นธรรมชนพืน้ เมอื งในไตห้ วนั : www.nine.com.tw เขตอทุ ยานทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติซันซาน : www.trimt-nsa.gov.tw สถาบนั วิจยั และพฒั นาหตั ถศิลปแ์ หง่ ชาติของไตห้ วัน : www.ntcri.gov.tw ส�ำนกั งานทะเบียนราษฎร์ เขตลู่กง่ั : www.lukang.gov.tw พิพิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ธรรมชาตแิ ห่งชาติ : www.nmns.edu.tw อุทยานแหง่ ชาติภูเขาอว้ีซาน (ภูเขาหยก) : www.ysnp.gov.tw 84
85การท่องเที่ยวไต้หวัน ภาคตะวนั ออกของไตห้ วัน อทุ ยานแห่งชาติทาโรโกะ : www.taroko.gov.tw พื้นทีป่ ่าไมน้ ันทนาการแหง่ ชาตไิ ต้หวนั : recreation.forest.gov.tw อทุ ยานแหง่ ชาตชิ ายฝง่ั ทะเลตะวนั ออก: www.eastcoast-nsa.gov.tw อทุ ยานแห่งชาตหิ ุบเขาฮัวเหลียน-ไถตง : www.erv-nsa.gov.tw ภาคใต้ของไตห้ วนั อุทยานแห่งชาติเขน่ิ ตงิ : www.ktnp.gov.tw อทุ ยานทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาตอิ าลีซาน : www.ali-nsa.net อทุ ยานท่องเทย่ี วแห่งชาติซีรายา : www.siraya-nsa.gov.tw อทุ ยานทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติต้าเผิงวนั : www.dbnsa.gov.tw อทุ ยานทอ่ งเท่ียวแห่งชาติเม่าหลิน : www.maolin-nsa.gov.tw อุทยานทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาตชิ ายฝ่ังทะเลตะวนั ตกเฉยี งใต้ : swcoast-nsa.travel เกาะรอบนอก อุทยานแห่งชาตจิ นิ เหมิน: www.kmnp.gov.tw อทุ ยานทอ่ งเท่ยี วแห่งชาตเิ ผิงห:ู www.penghu-nsa.gov.tw อุทยานท่องเทย่ี วแห่งชาตหิ มาจ่:ู www.matsu-nsa.gov.tw เกาะกรีนและเกาะหลนั อว่:ี tour.taitung.gov.tw/en/discover/offshore-islands
เทศกาลและกจิ กรรมส�ำ คญั ประจ�ำ ปี เดอื น เทศกาลและกิจกรรมสำ�คญั ม.ค. เทศกาลเฉลิมฉลองวนั ขึน้ ปใี หม่ ก.พ. นทิ รรศการหนังสอื นานาชาติไทเป เทศกาลโคมไฟไต้หวัน** ม.ี ค. เทศกาลแห่เจา้ แม่มาจู่หรอื เจา้ แม่ทบั ทมิ (กจิ กรรมทางศาสนา) เม.ย. เทศกาลดอกไมไ้ ฟนานาชาติเผิงหู พ.ค. เทศกาลแข่งเรอื มงั กรลูก่ ั่ง ม.ิ ย. การแขง่ ขนั ลอ่ งแกง่ ไตรกรฑี านานาชาติ ซว่ิ กหู ลวน ก.ค. เทศกาลอาหารเลศิ รสไต้หวัน
ส.ค. เทศกาลดนตรีนานาชาติก้งเหลยี ว ก.ย. กจิ กรรมว่ายนำ�้ ขา้ มทะเลสาบสรุ ิยนั จันทรา ต.ค. เทศกาลป่นั จักรยานนานาชาติไต้หวนั เทศกาลศลิ ปะเอเชียในพพิ ธิ ภณั ฑ์ พระราชวังแหง่ ชาติ พ.ย. การแข่งขนั กฬี าโตค้ ลื่นระดบั นานาชาติ ธ.ค. การแขง่ ขันวิ่งมาราธอนไทเป * คน้ หาข้อมูลเพม่ิ เตมิ ได้ที่เว็บไซตก์ รมการทอ่ ง เที่ยว eng.taiwan.net.tw ** เทศกาลโคมไฟไต้หวนั จะเวียนจัดขึ้นในนครหรอื เมืองทีแ่ ตกต่างกนั ไปในแตล่ ะปี โดยในปี 2021 มี ก�ำหนดการจัดข้นึ ท่ีเมืองซนิ จู๋
สกุลเงิน ดอลลารไ์ ตห้ วันใหม่ (NT$ หรือ TWD) อัตราแลกเปลี่ยน : 29.54 ดอลลารไ์ ตห้ วัน ตอ่ 1 ดอลลารส์ หรัฐ (มถิ ุนายน 2020) ความแตกต่างของเวลา ทุกพื้นที่ในไต้หวันอยูใ่ นเขตเวลาเดียวกัน , UTC +8 ชวั่ โมง (ไมม่ กี ารปรับเวลาตามฤดูกาล) บตั รเครดิตและเช็คสำ�หรับผู้เดนิ ทาง ยนิ ดรี ับบตั รเครดิตทั่วไป เช็คส�ำหรับผูเ้ ดนิ ทางสามารถแลก เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ทีธ่ นาคารทร่ี บั แลกเปลี่ยนเงินตราตา่ ง ประเทศ และตามโรงแรมทวั่ ไป รวมถงึ รา้ นคา้ สำ� หรบั นักท่องเทีย่ ว การให้ทปิ การใหท้ ิปไม่ใชธ่ รรมเนียมตามปกตใิ นไต้หวนั แต่จะมีการบวก อตั ราค่าบริการ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ในราคาหอ้ งพกั และค่าอาหารใน โรงแรม รวมไปถึงร้านอาหารตา่ งๆ ระบบไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลบั (AC) 110 โวลต์ (V) ความถี่ 60 เฮิรตซ์ (Hz) ขอ้ มูลวซี า่ กรมการกงสลุ กระทรวงการตา่ งประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวนั ) โทรศพั ท์: (+886-2) 2343-2888 เวบ็ ไซต์: www.boca.gov.tw ระเบียบปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั การศลุ กากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง สาธารณรฐั จนี (ไตห้ วนั ) โทรศัพท:์ (+886-2) 2550-5500 ต่อ 2116 เวบ็ ไซต์: web.customs.gov.tw 88
Search