Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแรงงานไทยในไต้หวัน

คู่มือแรงงานไทยในไต้หวัน

Published by Nulek Labour, 2022-02-07 02:50:19

Description: ปี 2565

Keywords: แรงงานไทย

Search

Read the Text Version

ูค ืมอเ ีรยนภาษา ีจนเบื้องตนคู มื อ แ ร ง ง า น ไ ท ย ใ น ไ ต ห วั น สายดวน ติดตอ 0929635721 สํานักงานแรงงานไทย เมืองเกาสง

คาํ นาํ สํานักงานแรงงานไทย เมืองเกาสง มีภารกิจใหความ คุมครองดูแลแรงงานไทยที่มาทาํ งานใน ไตหวันใหไดรับการ ปฏิบัติ จากนายจางตามสญั ญาจาง ตามกฎหมายแรงงานและกฎหมายที่ เกีย่ วของ ของไตห วัน และเห็นวาการใหความรูเกีย่ วกบั กฎ ระเบียบ และกฎหมายของไตหวันที่เกี่ยวของดังกลาว จะชวยสงเสริมให แรงงานไทยมีความรูความเขาใจในสิทธิและหนาที่ และสามารถ ปฏิบัตติ นไดโดยถูกตอง รวมทั้งสามารถรกั ษาสิทธิประโยชนข องตน ไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดรวบรวมขอมูลที่เปนประโยชน และ ปรับปรุงใหเปนปจจุบัน ซึ่งรวมถึงขอปฏิบัติที่นายจางตอง ดําเนินการ สิทธิประโยชนตามกฎหมาย การรองทุกขขอพิพาท ก อ ง ทุ น เ พื่ อ ช ว ย เ ห ลื อ ค น ห า ง า น ไ ป ทํ า ง า น ใ น ต า ง ป ร ะ เ ท ศ พระราชบัญญัติจัดหางาน และคุมครองคนหางาน พ.ศ. 2528 นํามาจัดทําเปน “คมู ือแรงงานไทยในไตห วนั ” นอกจากน้ี ไดรวบรวม คําศัพทและบทสนทนาภาษาจีนที่ จําเปนในชีวิตประจําวัน และจัดทําเปน “คูมือภาษาจีนเบื้องตน” เพื่อใหแรงงานไทย ใชในการส่ือ สารเบื้อ งตนและห วังว า “คูมือแรงงานไทยในไตหวัน” และ “คูมือภาษาจีนเบื้องตน” จะกอใหเกิดประโยชนแกแรงงานไทยที่เขามาทํางานในไตหวันได อยางดี จงึ ขอใหแรงงานไทยไดอาน และทาํ ความเขาใจอยางถองแท ทั้งนี้ สนร. เกาสง ไดเ ผยแพรคูมอื ฉบบั นี้ไวในเฟสบุคของสํานักงาน ดว ย (www.facebook.com/molkaohsiung) สํานกั งานแรงงานไทย เมืองเกาสง มกราคม 2565 2

สารบัญ หนา บนั ทกึ ขอ มลู ประจาํ ตวั 4 รูจกั สํานกั งานแรงงานไทย เมืองเกาสง 5-6 ขอปฏิบัติทีน่ ายจางตอ งดําเนินการ 7 กฎระเบียบไตหวนั ที่ควรทราบและปฏิบตั ิ 8-9 สิทธิประโยชนตามกฎระเบียบไตหวนั ที่ควรทราบ 10 - คาจางขั้นตํา่ 10 - ชัว่ โมงการทํางาน 10 - วนั หยุดพกั และการลางาน 10 - เมอื่ ไดรับสลิปเงินเดือนตองดอู ะไรบาง 11 - การจายภาษีและการติดตามเงินคืนภาษี 11 - การเตรียมตัวของแรงงานไทยเมอื่ ครบสญั ญาจาง 11 - กรณีตอ งการกลบั บา นกอ นครบสญั ญาจา ง 11 - กรณีถกู เลิกจางกอ นครบสญั ญาจาง 12 - การขอโอนยายนายจาง 12 - โทษจากการหลบหนีนายจาง 13 - สิทธิประโยชนจากกองทนุ ประกันสขุ ภาพ 14 - สิทธิประโยชนจากองทุนประกันภัยแรงงานและเงินทดแทน 15 สรปุ คาจางและคาใชจายของแรงงานไทยในไตหวัน 18 การยื่นขอรับเงินบาํ เหน็จชราภาพจากการไปทาํ งานไตหวนั 19 กฎหมายและกฎระเบียบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ ง 20 การรอ งทุกขขอ พิพาท 21 คมู ือความปลอดภัยในการขบั ขีร่ ถจกั รยานไฟฟา 22 (ชวยเสรมิ แรงในการปน) บทลงโทษทีเ่ กี่ยวขอ งกบั รถจกั รยานไฟฟา 23 พระราชบัญญัติจดั หางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. 2528 26 (ของกระทรวงแรงงานไทย) คมู อื เรียนภาษาจีนเบอื้ งตน 27 รายชอื่ หนว ยงานที่สําคญั ของไตห วนั 48 3

บันทึกขอมูลประจาํ ตัว เพื่อเปนการคุมครองสิทธิและผลประโยชนในการทํางานของทาน ขอใหจดบันทึกขอมูลพื้นฐานสําคัญของทาน ดังนี้ * หมายเลขหนังสือเดินทาง........................................................... * หมายเลขประจาํ ตวั ประชาชน (ไทย)........................................ * เดินทางเขาไตหวันเมือ่ วนั ท.ี่ ..........เดือน................ป............... * บริษทั นายจา ง............................................................................ ที่อยูนายจา ง.........................................................โทร............... * บริษทั จดั หางานไตหวันผใู หบ ริการ.......................โทร.............. ชื่อลาม..................................................................โทร............... * บริษัทจดั หางานไทยผจู ัดสง .................................โทร................ 4

สาํ นักงานแรงงานไทย เมืองเกาสง ที่ต้ังสาํ นักงาน ชั้น 11 –1 อาคารก๋ัวเฉิง ยูเอฟโอ เลขที่ 12 ถนนฟูชิง ตอนที่ 4 เขตเฉียนเจ้ิง เมืองเกาสง 11-1 Floor, National City UFO Building, No12, Fuxing 4th Road, Qianzhen, Kaohsiung เวลาทําการ 09.00 – 17.00 น. (จันทร-ศุกร) พักเที่ยง 12.00 – 13.30 น. สายดวน 0929 635 721 โทรศพั ท : (07) 338 0052 โทรสาร : (07) 338 0062 www.facebook.com/molkaohsiung https://kaohsiung.mol.go.th หนาที่รับผิดชอบ 1.ดูแล คุมครอง และรักษาสิทธิประโยชน ข อ ง แ ร ง ง า น ไ ท ย ใ น ต า ง ป ร ะ เ ท ศ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร จ า ง ง า น เพื่อใหแรงงานไทยไดรับคาจาง คาลวงเวลา และสิทธิประโยชน ตามกฎหมายทองถิ่นและตามสัญญาจางงาน ตลอดจนเปนตัวแทน ของแรงงานไทย ในการรองทุกขและดาํ เนินคดีกรณีถูกละเมิดสิทธิ ดูแล คุมครอง และชวยเหลือแรงงานไทย เพื่อใหรับสิทธิตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน กรณีแรงงานไทยเดินทางมาทํางานโดยถูกหลอกลวง หรือประสบ ปญหา ถูกทอดทิ้ง หรือไดงานไมตรงตามสัญญา หรือไดรับคาจาง ต่ํากวาสัญญาจาง ตรวจสอบและรบั รองเอกสารความตองการจางแรงงานไทยของนายจาง เพื่อคุมครองและปองกนั การหลอกลวงแรงงานไทย โดยตรวจสอบวานายจาง มีตําแหนงงานจริงหรอื ไม ลักษณะงานมีความปลอดภยั หรอื เสีย่ งอนั ตราย หรอื ไม สภาพการจา งงานเปน ไปตามเงือ่ นไขขน้ั ต่ําที่ไดก าํ หนดไวหรอื ไม สภาพการจา งเปน ไปตามมาตรฐานและเงื่อนไขข้ันตํา่ ที่ไดก ําหนดไว หรือไม พรอมท้ังเปนผูเจรจาตอรองสิทธิประโยชนใหแรงงานไทย 5

2. สงเสริมการจางแรงงานไทย ● รักษาและขยายตลาดแรงงานไทยในไตหวนั ใหเ พิ่มขนึ้ ท้งั ดาน ปริมาณและคณุ ภาพ ● ขยายการจดั สง แรงงานไทยมาทาํ งานโดยตรง หรือโดยการ จัดสง โดยรฐั เพื่อลดคาใชจ า ยในการมาทาํ งานของแรงงานไทย ● ดาํ เนินการชี้แจงนายจางและบริษัทจดั หางานไตหวนั ใหทราบ ขอ มลู แรงงานไทย ข้ันตอนการจา งแรงงานไทย และอาํ นวย ความสะดวกแกน ายจางในการจา งแรงงานไทย ● สัญญา เจรจา ไกลเ กลีย่ สภาพการจา งงาน ดาํ เนินการให ความชว ยเหลอื แกแ รงงานไทยทีม่ ารอ งทุกขเ กีย่ วกบั สิทธิ ประโยชน พัฒนาศักยภาพและขยายเครือขายอาสาสมัคร แรงงานไทยในตา งประเทศ และสง เสริมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต แรงงานไทยในตา งประเทศ ● ศึกษาวิเคราะหสถานการณด า นแรงงาน เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และวัฒนธรรมประเพณี ทีอ่ าจมีผลกระทบตอ การจา งแรงงานไทยในตา งประเทศ เขตพื้นที่ในความรับผิดชอบ ภาคกลางและภาคใตของไตหวัน รวม 8 จังหวัด ไดแก จางฮ่ัว หยุนหลิน เจียอ้ี ไถหนาน เกาสง ผิงตง ไถตง และเผิงหู 6

ข อ ป ฏิ บั ติ ที่ น า ย จ า ง ต อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร 1.จัดการใหทานเขา รบั การตรวจโรคภายใน 3 วนั นับจากวันเดินทางถึง ไตห วันและตองตรวจโรคคร้งั ตอ ไปกอนหรือหลังทาํ งานครบเดือนที่ 6 เดือน ที่ 18 และเดอื นที่ 30 โดยนายจางตอ งพาทานไปรบั การตรวจโรคและ รายงานผลการตรวจโรคดังกลาวตอหนว ยงานสาธารณสุขทองท่ภี ายใน เวลา 15 วนั นบั ตั้งแตวนั เขารับการตรวจ 2.ยืน่ ขอใบถิน่ ที่อยู (ใบจีหลวิ เจิ้น หรือใบกามา ) และใบอนุญาตทํางาน ภายใน 15 วัน นับตั้งแตว นั เดินทางเขา สไู ตหวัน และทานตองเตือนนายจาง ใหย ืน่ เรือ่ งขอตอ อายใุ บถิ่นที่อยกู อ นวนั หมดอายุ 3.กรณีทีน่ ายจา งประสงคตอสญั ญาจา งใหก บั แรงงานไทยในไตหวนั จะตองแจงใหทราบลวงหนา และยืน่ ขออนุญาตตอกระทรวงแรงงานไตห วนั ภายใน 60 วนั กอ นทาํ งานครบสัญญา 3 ป 4.กรณีทีท่ ํางานในโครงการกอ สรา งสาํ คญั ของรฐั หากมีความจําเปน นายจางสามารถยืน่ ขออนุญาต ขยายเวลาทํางานออกไปไดอกี ครัง้ ละไมเ กิน 1 ป จนกวาโครงการสิน้ สดุ และตองขออนุญาต ขยายเวลาดังกลาว ภายใน 60 วนั กอนครบสัญญาปที่ 3 5.กรณีโอนยา ยนายจา งใหมตอ งเตือนใหน ายจางยื่นขออนุญาตการ ยายโอนแรงงานตางชาติไป ทาํ งานกับนายจางใหม 6.ยืน่ เรือ่ งเปนสมาชิกกองทุนประกันภัยแรงงานและประกันสขุ ภาพ นบั ตงั้ แตว นั แรกทีเ่ ดนิ ทาง เขา มาไตห วัน 7

ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น ที่ ค ว ร ท ร า บ แ ล ะ ป ฏิ บั ติ 1. เมือ่ ทาํ งานครบกาํ หนดเวลาตามใบอนญุ าตทาํ งานและไมไ ดรับอนญุ าตตอ สญั ญาจากกระทรวงแรงงานไตหวัน ทานตอ งเดินทางกลับประเทศกอนวัน สิ้นสดุ ของใบอนุญาตทํางาน ซึ่งดไู ดจากใบถิ่นทอี่ ยู (จีหลวิ เจิ้น) 2. นายจางที่ทานทาํ งานดวยตอ งเปนนายจางที่ไดระบไุ วในใบอนญุ าตทาํ งาน (หากไมไดรบั อนญุ าตและมาชักชวนไปทาํ งาน ทานจะเปลี่ยนนายจางหรอื เปลีย่ นงานใหมไมได) รวมท้ังประเภทของงาน และสถานทีท่ าํ งานจะตองตรง กับที่ระบไุ วในใบอนญุ าตทาํ งาน เทาน้ัน 3. ทานสามารถอยูทํางานในไตห วนั ตามสัญญาจางงานคร้ังละไมเกิน 3 ป เมอื่ ครบสัญญาจาง ทานสามารถเปลี่ยนนายจางได หรอื หากนายจางเดิมประสงค จะจา งตอ ทานสามารถตอ สญั ญาไดอกี ไมเกิน 3 ครั้ง คร้ังละ 3 ป โดยไมตอ ง เดินทางออกจากไตหวัน รวมท้ังสนิ้ อยูทํางานในไตหวนั ไมเกนิ 12 ป 4. แรงงานตางชาติที่เขาไตหวันหลงั วนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2544 โดยมีบริษทั จัดหางานไตหวัน ใหบริการดแู ลบริษทั จัดหางานไตหวันจะเกบ็ คา บริการจาก แรงงานตางชาติไดเปน รายเดอื นตามอตั รา ดังนี้ (1) ปแรก เดอื นละไมเกิน 1,800 เหรียญไตหวนั (2) ปที่ 2 เดือนละไมเกิน 1,700 เหรียญไตหวัน (3) ปที่ 3 เดอื นละไมเกิน 1,500 เหรียญไตหวนั สาํ หรบั แรงงานตางชาติทีก่ ลับมาทํางานรอบสองกบั นายจางรายเดิมจะ เก็บคาบริการไดไมเกิน เดอื นละ 1,500 เหรียญไตหวัน บริษัทจดั หางานไตหวนั ตอ งทําความตกลงในรายละเอียดการใหบริการและ คา บริการดแู ลกบั แรงงานตางชาติเปน ลายลกั ษณอ ักษรกอน จึงจะเรียกเก็บ คา บริการดงั กลาวได 8

ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น ที่ ค ว ร ท ร า บ แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ( ต อ ) 5. แรงงานตางชาติที่เดินทางเขามาทาํ งานในไตหวนั ตอ งลงนามในหนังสือ รับรองการรับทราบ คา บริการและคาใชจายจัดหางาน (คาหวั ) และรายการ หกั คาใชจายในระหวางอยูทาํ งานกบั นายจาง ตามความเปน จริงอยางละเอียด หนังสือรับรองฉบบั นีต้ อ งผานการประทับตรารบั รองความถกู ตองจาก กระทรวงแรงงานประเทศผสู งแรงงาน และสํานักงานตัวแทนไตห วัน ดงั นั้น การหกั คา ใชจายตาง ๆ จากทานจะตอ งเปน ไปตามหนังสือฉบบั ดังกลา ว 6. กฎหมายมาตรฐานแรงงานของไตหวนั กาํ หนดใหก ารจายคา จางของ นายจางสามารถจายคา จาง ในรปู ของสิ่งของหรอื การบริการได โดยตอ งระบุ ไวในสญั ญาจางเปน ลายลกั ษณอ กั ษรอยางยตุ ธิ รรมและสอดคลองกับ ความเปนจริง กระทรวงแรงงานไตหวนั กาํ หนดใหนายจางและลกู จางตกลงกันเองวา คา ที่พักและอาหารที่นายจางจดั ใหจะคิดคํานวณเปน เงินเทาใด แตทงั้ นี้ตอ ง ไมเกินเดือนละ 5,000 เหรียญไตหวัน (ประกาศใหมเมอื่ เดือนกรกฎาคม 2550 ) แตท างการไทยยงั ใหคงอัตราคาอาหารและทพ่ี ักของแรงงานไทย ไมเ กินเดอื นละ 2,500 เหรียญไตห วัน ขอกําหนดเกีย่ วกับคา ทีพ่ กั และอาหาร ขางตน ไมครอบคลุม ตาํ แหนง ผูอนบุ าลและผูชว ยแมบาน ซึง่ นายจางและลกู จางตองตกลงกนั เองและระบุ ในสญั ญาจางอยางชดั เจน เพอื่ ปกปอ งสิทธิประโยชนของทั้งสองฝายสาํ หรบั แรงงานตางชาติที่สัญญาจาง ระบวุ า นายจางจัดหาอาหารและที่พกั ใหฟรี และสัญญาจางยงั มีผลใชบังคับอยู นายจางไมควรเปลี่ยนแปลงเงือ่ นไข สญั ญาโดยพลการ กรณีทมี่ ีความจาํ เปนกต็ องไดรบั ความ ยนิ ยอมจากฝา ย ลกู จางกอ นจึงจะเปลี่ยนแปลงได 9

สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น คาจางข้ันตํ่า ต้ังแตว ันที่ 1 มกราคม 2565 กระทรวงแรงงานไตหวนั ประกาศเพิ่มคาจางขนั้ ต่าํ เปน 25,250 เหรยี ญไตหวัน/เดือน คดิ เปน ชวั่ โมงละ 105 เหรยี ญไตหวนั (25,250/30วนั /8ชวั่ โมง) ชั่วโมงการทํางาน ตามขอตกลงในสญั ญาจาง ช่ัวโมงการทํางานในวันปกตวิ ันละไมเกนิ 8 ชัว่ โมงหรือ 40 ชั่วโมง ตอสปั ดาห และอยางนอยตองมี วันหยดุ 4 วนั ตอ 2 สปั ดาห เมือ่ มีการทาํ งานลวงเวลาใหคาํ นวณ จายคาทาํ งานลว งเวลาตามกฎหมาย โดย 2 ชัว่ โมงแรก นายจางจาย 140 (105x1.33) เหรยี ญไตหวนั ตอชั่วโมง เมื่อชวั่ โมงที่ 3 เปนตนไป นายจางจายชวั่ โมงละ 175 (105x1.67) เหรยี ญไตหวัน สาํ หรับการทํางานลวงเวลาใน วนั หยดุ พกั ประจาํ สปั ดาห นายจา งตองจาย 2 ช่ัวโมงแรก 140 เหรียญไตหวนั ตอช่วั โมง ชวั่ โมงที่ 3 ขนึ้ ไป จายชัว่ โมงละ 175 เหรียญไตหวัน หากทาํ งานในวันหยดุ พักประจาํ สปั ดาหท ้ังวนั หรือ 8 ช่ัวโมง ไดรับ 1,330 เหรียญไตหวนั ทาํ งานในวนั หยุดนักขตั ฤกษทงั้ วัน หรอื 8 ชั่วโมง ไดรับคาจางเพิม่ อีก 1 เทา จาํ นวน 842 เหรียญไตหวัน/วนั ทั้งนี้ แรงงานสามารถทาํ งานลว งเวลาได ไมเกิน 54 ชั่วโมงตอเดือน ตามที่กฎหมายกาํ หนด วันหยุดพักและการลางาน กิจการทีอ่ ยูนอกเหนือการบังคับใชข องกฎหมายมาตรฐานแรงงาน ใหถือปฏบิ ตั ิตาม สัญญาจางสาํ หรบั กิจการทีอ่ ยูในขอบขายการบงั คับใชของกฎหมายแรงงาน เมือ่ ทํางานครบ 6 เดือนจะมีวนั หยดุ พักรอ นได 3 วัน ครบ 1 ป นบั แตป ที่ 2 เปนตนไป จะมีวนั หยุดพักรอ น ประจาํ ป โดยมีคาจางปล ะ 7 วนั หากไดรับบาดเจบ็ หรือปวย ในระหวางที่รกั ษาตวั ถือวาลาปวย หากลาปวย นอกงาน (มใี บแพทย) จะตองไดรับครง่ึ หนึง่ ของคาจางปกติ ทั้งนี้ ใน 1 ปล าปวยได ไมเกนิ 30 วนั ท้ังนี้ ลากิจ 1 วนั จะถกู หักคาจาง 842 เหรียญไตหวนั ตอวัน( 1 ป ลาไดไมเ กิน 14 วนั ) ลาปวย 1 วัน ถกู หกั คาจางกึ่งหนึง่ 421 เหรยี ญไตหวนั ตอ วัน (1 ป ลาไดไมเกิน 30 วนั ) เมื่อไดรับสลิปเงินเดือนตองดูอะไรบาง ● เมื่อทานไดรบั ใบแจงเงินเดือน หรอื ทีเ่ รียกวา “ใบสลิปเงนิ เดือน” แลว ขอใหตรวจดู รายละเอียด จํานวนคาจาง คาลวงเวลาและคาใชจ ายที่ถูกหักวาถกู ตองหรอื ไม หากพบวา ไมถกู ตอง ควรสอบถาม และขอคําชี้แจง เพอ่ื ความเขาใจที่ถูกตองโดยเรว็ ซึง่ อาจขอความชวยเหลือ จากลามของนายจาง หรือลามของบรษิ ทั จดั หางานไตหวนั ทใี่ หบริการ ● ในกรณีที่ใบรายการจายเงินเดือนไมมีคาํ แปลภาษาไทย ตองรองขอใหน ายจางหรอื บริษทั จดั หางานไตหวนั ใหบริการแปล เปน ภาษาไทยให หากแจงแลวไมเปนผล ขอใหแจง สาํ นกั งานแรงงานไทย เมอื งเกาสง ● ใบรายการจายเงินเดือนทุกใบควรเกบ็ ไว เพ่อื ใชประโยชนเปน หลกั ฐานประกอบการรอ งเรยี น เมือ่ มีปญ หาหากไมมีหลกั ฐานดังกลาวจะทําใหยากลาํ บากตอการชวยเหลือ 10

สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น การจายภาษีและการติดตามเงินคืนภาษี 1) สรรพากรกาํ หนดใหนายจางยืน่ เรื่องเสียภาษีในเดือนพฤษภาคม และทยอยคืนเงินภาษี ตั้งแตเดือนสิงหาคม ไปจนถึงสิ้นเดือนธันวาคมของทกุ ป ท้ังนี้แตละโรงงานจะไดรับ เงินภาษีคืนไมพรอมกัน 2)หากสิ้นปแลวยงั ไมไ ดรบั เงินภาษีคืน ควรสอบถามลามผูดูแล หากไมไ ดรบั คาํ ตอบสามารถ สอบถามมายังสาํ นกั งานแรงงานไทย เมืองเกาสง 3) กรณที ี่ทานเดินทางกลบั ประเทศไทยไปกอนทีจ่ ะไดรบั เงินคืนภาษีขอใหไปยืน่ เรื่อง ขอติดตามเงนิ คืนภาษีสว นเกิน ไดทสี่ ํานกั งานจงั หวดั ตามภมู ิลาํ เนาของทาน โดยกรอกขอมูลตามแบบฟอรมคาํ รองของกระทรวงแรงงานและแนบสําเนาใบกามาของ ไตหวันหรือสาํ เนาหนงั สือเดินทาง (Passport) มาใหพรอมกอนสงเรื่อง เพื่อใหสํานักงาน แรงงานไทยเมืองเกาสง ดาํ เนินการตอไป การติดตามเงินคืนภาษี กรณีทีถ่ ูกนายจางหักภาษีรายไดทกุ เดือน เมื่อครบหนึ่งปมรี ายไดไมเกิน 422,000 เหรียญไตหวัน หรือรายไดไมเกิน 35,166 เหรียญไตหวนั ตอเดอื น จะไดรบั เงินคืนภาษี (ไมเ สียภาษี) ยกเวนกรณีทีอ่ ยูทาํ งานในไตหวนั ไมครบ 183 วัน รายไดไมถึง 37,875 เหรียญไตหวนั ในเดือนน้ัน เสียภาษีรอยละ 6 หรือมรี ายไดเกิน 37,875 เหรียญไตหวนั ในเดือนนั้นตองเสียภาษี รอยละ 18 โดยไมสามารถขอคนื ภาษีได การเตรียมตัวของแรงงานไทยเมื่อครบสัญญาจาง 1) ขอใหนายจางหรอื บริษทั จดั หางานเคลียรเงินคาจางและเงนิ หกั ฝาก และคืนเงนิ ให เรียบรอ ยกอนวันเดินทาง ตรวจสอบรายการใหเรียบรอ ย กอนลงชือ่ รับเงิน 2) ขอคืนเงนิ ภาษี โดยใหฝากหมายเลขบญั ชีไวก บั ลาม(และไมค วรปดสมดุ บัญชี) ซ่ึงภาษีของปนี้จะไดคืนในปถัดไป ท้ังนี้ หากแตละปอยูไตหวนั ไมครบ 183 วัน จะไมไดรับภาษีคืน 3) กรณีครบสัญญาจางนายจางตองเปนผูออกคาต๋ัวเครือ่ งบิน ใหตามสัญญาจาง กรณีตองการกลับบานกอนครบสัญญาจาง 1) ตองบอกใหนายจางทราบลวงหนาอยา งนอย 1 เดือน หรืออยา งนอยที่สดุ 1 สัปดาห 2)ขอใหนายจางหรือเอเยนตมีหนงั สือแจงสํานักงานแรงงานทองถิน่ เพื่อกําหนดนดั หมายให ลกู จางไปรายงานตวั กอนเดินทางกลบั ไทย 3)ลูกจางทีข่ อกลบั บานเอง ตองรับผิดชอบคาตั๋วเครื่องบินเอง 11

สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น กรณีถูกเลิกจางกอนครบสัญญาจาง 1) นายจางตองจายเงินชดเชยให 1 เดือน สําหรบั ลูกจางทีท่ าํ งานครบ 1 ป และจาย 2 เดือน ถาทํางาน ครบ 2 ป ท้ังนี้ หากทํางานไมถึง 1 ป นายจางตองจายเทากบั เงินเดือน/12 เดือน x จํานวนเดือนทีท่ ํางานจริง 2)นายจางตองเปนผอู อกต๋ัวเครอ่ื งบินให 3)ขอใหบริษทั จดั หางานไตหวันติดตอกบั บริษัทจัดหางานที่ประเทศไทย คืนคาบริการใหตามความเหมาะสม 4)หากตองการรองานใหม สามารถพํานกั อยูในไตหวนั เพือ่ รองานได 60 วัน ถาไมมีนายจางใหมมารบั กต็ องเดินทางกลบั ประเทศไทย 5)ผทู ีท่ าํ งานไมครบ 1 ป หากตองการรองานใหม สามารถพํานักอยใู น ไตหวนั เพื่อรองานได 30 วัน ถาไมมีนายจางใหมมารับสามารถขยาย ระยะเวลารองานไดอกี 30 วัน จึงคอยเดินทางกลบั ประเทศไทย 6)ผอู นุบาลสามารถโอนยายไปทํางานที่สถานประกอบการไดสวนแรงงาน ในสถานประกอบการไมสามารถโอนยายไปทํางานตาํ แหนงผูอนุบาลได การขอโอนยายนายจาง แรงงานตางชาติสามารถขอโอนยายจากนายจางเดิมไปทาํ งานกับนายจางอืน่ ในกรณีใดกรณหี นึ่ง ดงั นี้ 1) คา งจายคา จา ง 2 เดอื น ขึ้นไป 2) ลม ละลายและประกาศกิจการ 3) ขอยกเลิกการใชแรงงานตางชาติ 4) พาแรงงานตา งชาติไปทํางานผิดกฎหมายหรือผิดประเภทงาน 5) ถา ครบสัญญา 3 ป นายจา งเดิมไมต อสญั ญา หากไมเ ขาหลักเกณฑขางตน แรงงานตางชาติไมสามารถรองขอยายไป ทํางาน กบั นายจางรายใหมได กรณเี ขาหลักเกณฑขอยา ยงานไดแรงงาน ตางชาติตองรองขอยายงานตอกระทรวงแรงงานไตหวนั https://fw.wda.gov.tw/wda-employer/home/fortrans/foreign 12

สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ไ ต ห วั น หากทานทํางานในตําแหนงผูอนบุ าล เมือ่ ผปู วยหรือคนชราทีท่ านดูแลเสียชีวิตลงทานตอง ขอใหนายจางทาํ เรื่องขอโอนยายทานไปใหนายจางรายใหมภายในเวลา 30 วัน หากไมม ีนายจางมาแสดงความจาํ นงภายใน 60 วนั ทานสามารถขอขยายเวลาไดอีก 60 วัน โดยจะตองแจงตอสาํ นักงานแรงงานทองถิน่ ลวงหนา 2 สัปดาห หลงั จากนั้นทางการไตหวนั จะประกาศใหทาน หากยังไมมีนายจางรายใดมายน่ื ความประสงคจะขอจาง ทานจะตอง เดินทางกลบั ประเทศ โทษจากการหลบหนีนายจาง ไตหวันเปนประเทศที่นาํ เขาแรงงานไทยมากทีส่ ดุ อยา งไรก็ดี พบวามีแรงงาน ไทยหลบหนีนายจาง เพราะไดงานที่เงินเดือนสูงกวา และไมตองการถกู หกั คานายหนา คาที่พกั แตก็ยงั ทํางานในงานกอสราง รา นอาหาร หรือไรนา และอาศยั อยใู นสิ่งแวดลอม ที่อันตราย หรือผิดกฎหมาย ไมมีสวสั ดิการในการทํางาน กรณเี จบ็ ปวยหรือประสบอันตราย จากการทาํ งานก็ไมไดรบั ความชวยเหลือตามกฎหมาย ผลจากการหลบหนีนายจาง แรงงานตางชาติขาดงานติดตอกนั 3 วนั โดยไมส ามารถติดตอไดจะถูกเพิกถอน ใบอนุญาตทาํ งานและถกู เนรเทศออกจากไตหวัน นอกจากนี้ แรงงานผดิ กฎหมายที่ทํางาน โดยไมไ ดรบั อนญุ าตจะมีโทษปรับ ดังนี้ หลบหนี 1-10 วัน ปรับ 2,000 เหรียญไตหวัน 11-30 วัน ปรับ 4,000 เหรียญไตหวัน 31-60 วนั ปรบั 6,000 เหรียญไตหวนั 61-90 วัน ปรับ 8,000 เหรียญไตหวนั 91 วัน ปรบั 10,000 เหรียญไตหวนั 13

สิทธิประโยชนจากกองทุนประกันสุขภาพของไตหวัน แรงงานไทยสว นใหญมีความเขาใจวา เมอื่ เปน สมาชกิ ของกองทุน ประกนั สุขภาพไตหวนั หรือทีเ่ รียกเปน ภาษาจีนวา “เจี้ยนเปา ” แลว จะ ไดรับความคุมครองดานการรกั ษาพยาบาลทง้ั หมด หรอื รกั ษาฟรีท้ังหมด ซึ่งเปน ความเขาใจทีไ่ มถ ูกตอ ง เพราะตามกฎหมายกองทุนประกันสุขภาพ ไตหวัน (เจยี้ นเปา) มไิ ดใหความคมุ ครองแบบรักษาฟรีท้ังหมด แตกําหนดให ลูกจางแรงงานทั้งที่เปน คนทองถิน่ และคนตา งชาติทีเ่ ปนสมาชิกตอ ง รบั ผิดชอบคาใชจา ยดว ยตนเองบางสวน และบางรายการตอ งจายดวย ตนเองทง้ั หมด โดยกองทุนประกนั สขุ ภาพไตห วันใหความคมุ ครอง ดงั นี้ กรณีเปน ผปู วยนอก คือแพทยผ ูรกั ษาไมไดสงั่ ใหเขานอนพกั รกั ษาใน สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล จะมีสิทธิไดรับความคุมครองคาใชจายเกี่ยวกับ คาบริการตรวจวินิจฉยั (รวมถึงคาตรวจในหองทดลองปฏิบัติการ และคาปรึกษา ทางการแพทย) คายาและวสั ดุทางการแพทยท ี่ใชในการรักษา และคาบําบดั รักษา และผาตดั ในอัตรารอยละ 90 ของคาใชจายดงั กลาว คาใชจายสวนที่เหลือรอยละ 10 ลูกจางแรงงาน ตองเปน ผูจาย กรณีเปน ผปู ว ยใน ตามคาํ ส่งั ของแพทย จะมีสิทธิไดรบั ความคุมครอง คา รักษาพยาบาล ไดแก คาบริการตรวจวินิจฉัย (รวมถึงคาตรวจในหองทดลอง ปฏิบัติการ และคาปรึกษาทางการแพทย) คายาและวัสดุ ทางการแพทยทีใ่ ชใน การรักษา คาบาํ บดั รกั ษาและผาตดั ในอัตรารอยละ 90 คาใชจายสวนที่เหลือรอย ละ 10 ลูกจาง แรงงานตองเปนผูจาย หากอยูโรงพยาบาลคืนที่ 4 เปน ตนไป จะ ไดรบั เงินชวยเหลือชดเชยคาจา งเพิ่มอกี จาํ นวนหนึ่ง ผปู วยตองเปน ผูจายคา ลงทะเบียนทกุ ครง้ั ที่เขา รบั การรักษาเปนจาํ นวนเงิน ครง้ั ละ 100-500 เหรียญไตห วัน ไมวา จะเปนผปู ว ยนอกหรือผูปวยใน และ กองทนุ ฯ จะไมค ุมครองคารักษาโรคบางประเภท เชน ติดยาเสพติด การ แทง ลูก ทาํ ฟน ปลอม ตาเทียม ฯลฯ กรณีทพุ พลภาพ ถามกี ารรักษา 6 เดือนขึ้นไป (นบั จากวนั ที่เขารบั การรกั ษาใน โรงพยาบาลในวนั แรก) สามารถนําใบวินิจฉัยของแพทย ไมวาจากไตหวนั หรือ จากไทย มายื่นขอรับเงินชวยเหลือไดเดือนละประมาณ 4,000 เหรียญไตหวัน ทั้งนี้ ใบวินิจฉยั ของแพทยจากไทย ใหแปลเปนภาษาอังกฤษและรับรองโดยกระทรวง การตางประเทศของไทยและไตหวัน โดยดําเนินการยืน่ เอกสารปละครั้ง 14

ขอ ควรรูเกี่ยวกบั สมาชิกกองทุนประกนั สขุ ภาพ(เจี้ยนเปา) สมาชกิ กองทนุ ประกนั สขุ ภาพ(เจยี้ นเปา) ทีเ่ ขารบั การรักษาไมวาจะเปน ผูปว ยในหรอื ผูปวยนอก และไมวาจะเปน การเจ็บปว ยเนอ่ื งจากการทํางานหรอื ไมกต็ าม จะตอ ง รับผิดชอบจายคา ลงทะเบยี นเขารบั การรกั ษา ใหแกสถานพยาบาลดวยตนเอง กองทุนฯ ไมคุมครองจายให โดยทวั่ ไปคาลงทะเบียนจะเปนเงินประมาณ 100-500 เหรยี ญไตหวนั และตองเสียทกุ คร้ังที่ไปเขารบั การรกั ษา กองทนุ ประกนั สขุ ภาพ ไมคมุ ครองคาใชจา ย เกีย่ วกบั การบาํ บดั รักษาโรคเร้อื น การตดิ ยา เสพตดิ การคลอดบตุ ร การแทง ลกู ศัลยกรรมพลาสตกิ ฟนเทยี ม ตาเทียม แวนตา คา ขนสงผูปว ย คา พยาบาลพเิ ศษ คาใหเลอื ด (ยกเวนกรณฉี กุ เฉิน) คาลงทะเบียนเขารบั การรกั ษา และคา เอกสาร สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น จ า ก ก อ ง ทุ น ป ร ะ กั น ภั ย แ ร ง ง า น แ ล ะ เ งิ น ท ด แ ท น แรงงานตางชาติทุกคน ที่ทํางานในสถานประกอบการ และโรงงาน อุตสาหกรรมจะถูกบังคับโดยกฎหมาย ประกันภัยแรงงานใหเขาเปนสมาชิกกองทุน ประกันภัยแรงงาน (เหลาเปา) สวนแรงงานตางชาติที่ทํางานบาน และงานผูอนุบาลสวน บุคคล กฎหมายไมบังคับใหเปนสมาชิกกองทุนประกันภัยแรงงาน แตแรงงานตางชาติ สามารถขอสมัครเขาเปนสมาชิกกองทุนประกันภัยแรงงาน โดยความยินยอมพรอมใจ ของนายจางได แรงงานที่เปนสมาชิกกองทุนประกันภัยแรงงานมีสิทธิไดรับเงินทดแทน กรณีเจ็บปวยหรือประสบอันตราย ดังนี้ 1) เจบ็ ปวยหรือประสบอนั ตรายเนื่องจากการทาํ งาน 2) เจบ็ ปวย หรือประสบอนั ตรายนอกงาน 3) เงินทดแทนกรณีเสียชีวิต 4) เงินทดแทนรายเดือน 15

1.เจ็บปวยหรือประสบภัยอันตรายเนื่องจากการทํางาน 1) กรณีบาดเจ็บในงาน จะไดรบั เงินเดือนเต็มเดือน จากนายจางระหวางการหยุดงาน เพื่อการบาํ บดั รกั ษา นายจางจายรอยละ 30 ประกนั ภัยแรงงานจายรอยละ 70 ทั้งนี้ นายจางตองออกหนังสือรบั รองวาบาดเจบ็ ในงาน เพื่อนําไปย่นื ตอกองทุนประกันภัยแรงงาน และหากภายหลงั จากการไดรับการบําบดั รักษาเปน ระยะเวลา 2 ปแลว ยงั ไมหายและแพทย ใหการรบั รองวาคนงานน้ันไมสามารถทํางานไดอกี ตอไป นายจางอาจจายเงินทดแทนคาจาง เทากบั คา จางเฉลี่ยจํานวน 40 เดือน แลวไมตองรับผิดชอบจายเงินทดแทนคาจางอกี ตอไป ทั้งนี้ นายจางมีสิทธิเงินทดแทนคาจางที่กองทนุ ประกนั ภัยแรงงานจายใหกบั คนงานมา หกั ออกจากจํานวนเงินทดแทนคาจางที่นายจางตองจา ย ตามทีก่ าํ หนดไวขางตนได (กองทุนประกนั ภัยแรงงานจะจายเงินทดแทนคาจาง ต้ังแตวนั ที่ 4 ของการหยดุ งาน เพือ่ บาํ บดั รกั ษาในอัตรา รอยละ 70 ของอตั ราคาจางเฉลี่ย เปน ระยะเวลาไมเกิน 6 เดือน หากครบ 6 เดือนแลว ยังไมหาย อตั ราเงินทดแทนจะลดลงเหลืออตั รารอยละ 50 ของ อตั ราคาจางเฉลี่ยและจายใหเปนระยะเวลา ไมเกิน 1 ป) 2) เงินทดแทนการทุพพลภาพเนื่องจากการทาํ งาน มีสิทธิไดรบั ในอัตราที่เพิม่ ขึ้นรอยละ 50 ของประเภท และอัตราที่สาํ นักงานประกันภัยแรงงานกลาง กาํ หนดโดยจา ยใหเปนคร้ังเดียว 3) เงินทดแทนการเสียชีวิตเนื่องจากการทาํ งาน ทายาทมีสิทธิไดรบั คาชวยเหลือจัดการศพ เทากบั คา จางเฉลี่ยจํานวน 5 เดือน และเงินทดแทนการเสียชวี ิตเทากบั คาจางเฉลีย่ จาํ นวน 40 เดือน 2.เจ็บปวยหรือประสบภัยอันตรายนอกงาน 1) กรณีตองหยุดงาน เพื่อรับการบําบดั รักษาโดยไมไดรับคาจาง มีสิทธิขอรับเงินทดแทนคาจา ง ตั้งแต วนั ทีส่ ีข่ องการหยดุ งานดงั กลาว ในอัตรารอยละ 50 ของอตั ราคาจางเฉลี่ย เปน ระยะเวลาไมเกิน 30 วัน 2) กรณีผลการรกั ษาสิ้นสุดและแพทยผูรักษาไดวินิจฉัยและรบั รองวามีการทุพพลภาพ ของอวัยวะ มีสิทธิไดรบั เงินทดแทนทพุ พลภาพ ดังนี้ ● เปนสมาชิกกองทนุ ประกนั ภัยแรงงาน กอนวนั ที่ 1 มกราคม 2552 สามารถเลือกไดวาจะรบั เปน เงินกอน หรือรายเดือน ● เปนสมาชิกกองทุนประกันภัยแรงงาน หลังวันที่ 1 มกราคม 2552 รับเปน รายเดือน โดยแตละป ใหรบั รองเอกสาร ประกอบการยืน่ ขอรบั การพิจารณาทุกครั้ง ท้ังนี้ ตองเขารับการรักษาเปนระยะเวลาอยางนอย 6 เดือนขึ้นไป จึงจะสามารถยน่ื เรื่อง ขอรับเงินชวยเหลือ กรณีทพุ พลภาพจากกองทุนประกันภัยแรงงาน 16

3.เงินทดแทนกรณีเสียชีวิต ทายาทมีสิทธิไดรบั คาชวยเหลือจดั การศพเปนเงินคาจดั การศพเทาทีจ่ ายจริง หรือไมเ กิน 5 เทาของคาจางที่เอาประกัน (ยกเวนผูอนุบาลและผูชวยงานบานไมไดรับสิทธิประโยชนนี้) การเสียชีวติ จากการทาํ งาน ทายาทจะไดรับเงินทดแทน 40 เทาของคาจางทีเ่ อาประกนั การเสียชีวติ นอกการทํางาน กองทุนฯ จะจายเงินทดแทนเปน กอนครั้งเดียวตามอายุ การเขาเปนสมาชิกกองทนุ ประกันภยั แรงงาน ดงั นี้ ● ไมเกิน 1 ป จะไดรบั เงินทดเทน 10 เทาของคาจางทีเ่ อาประกนั ● 1 ปข้นึ ไป ไมเ กิน 2 ป จะไดรบั เงินทดแทน 20 เทาของคาจา งทีเ่ อาประกนั ● 2 ปขึ้นไป จะไดรับเงินทดแทน 30 เทาของคาจา งทีเ่ อาประกัน หมายเหตุ : 1) กรณีที่ผูเสียชีวิตมภี รรยาเปนทายาทตามกฎหมายเพียงผูเดียว และอายไุ มครบ 45 ป จะไดรับเงินชวยเหลือจดั การศพเทากบั คาจางขั้นตาํ่ 5 เดือน และมสี ิทธิรับเงินทดแทนการเสียชีวิตเทากับคาจางข้ันตาํ่ 10 เดือน 2) เงินทดแทนกรณีเสียชีวิต สาํ หรับทายาทผูเสียชีวติ ทีเ่ คยเปน สมาชิก กองทนุ ประกนั ภัยแรงงานเทานั้น 4.เงินทดแทนรายเดือน คุณสมบัติของผูรับประโยชน ผูเอาประกันเขากองทุนฯ ครั้งแรกหลังวนั ท่ี 1 มกราคม 2552 และเสียชีวติ ในระหวางสมาชิกภาพยงั มีผลทายาทของผูเอาประกนั ไดแก คูสมรส/บุตร เงือ่ นไขการยื่นขอ 1) คสู มรส ตองสอดคลอ งกบั เงื่อนไขขอใดขอหนึง่ ดังนี้ ● อายุครบ 45 ป มีรายไดตอเดือน ไมถึงวงเงินแจง เอาประกันระดับที่ 1 (24,000 เหรียญไตหวนั ) ● กรณีทีค่ ูสมรสอายไุ มถึง 45 ป ยงั ไมส ามารถยืน่ ขอรบั เงินทดแทนรายเดือนไดจนกวา จะมอี ายแุ ละเงือ่ นไขตามกําหนด ยกเวนกรณีมีบตุ รอายตุ ่าํ กวา 20 ป ที่ตองลี้ยงดู 2) บุตร จะตอ งสอดคลองกบั เงื่อนไขขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ ● ยงั ไมบ รรลนุ ิติภาวะ ● ไรความสามารถในการหาเลี้ยงชีพ ● อยูระหวางศึกษาและมีรายไดตอเดือนไมถึงวงเงินแจงเอาประกัน ระดับที่ 1 (24,000 NT$) เมอ่ื เกิดการเจ็บปวยหรือประสบอันตราย ควรแจงใหเจาหนาทีส่ ํานกั งานแรงงานไทยทราบ เพื่อการชวยเหลือดแู ลใหไดรับการปฏิบัติอยางเหมาะสม และไดรับสิทธิถกู ตองตามกฎหมาย โดยเฉพาะเจบ็ ปวยในงาน และมไิ ดทพุ พลภาพ จนถึงขนาดทาํ งานไมไ ดโดยสิ้นเชิงอยารีบรอน ตดั สินใจยกเลิกสัญญาจาง และเดินทางกลับประเทศไทย ขอใหปรึกษาสํานักงานแรงงานไทย กอน เพราะทานอาจเสียสิทธิในการรักษาพยาบาล และการรบั เงินทดแทนจากกองทุนประกนั ภยั แรงงาน รวมถึงสิทธิภายใตกฎหมายแรงงานไตหวัน 17

สรุปคาจางและคาใชจายของแรงงานไทยในไตหวัน รายการ จํานวน 1. อตั ราคา จางขัน้ ตํา่ (ตง้ั แต 1 มกราคม 2565) 25,250 เหรียญไตห วัน/เดอื น หรอื วนั ละ 842 เหรียญไตห วนั คิดเปนชั่วโมงละ 105 เหรียญไตห วนั (25,250 เหรียญไตห วัน/30วัน/8ช่วั โมง) 2. คาลวงเวลาและคาจา งในวันหยดุ (ไมเกิน 54 ● 140 เหรยี ญไตห วัน/ชั่วโมง (100*1.33) ชั่วโมง/เดอื น) ● 175 เหรียญไตห วนั /ช่วั โมง (100*1.67) ● 140 เหรยี ญไตห วัน/ช่วั โมง (100*1.33) ● ทาํ งานลวงเวลา 2 ชั่วโมงแรก ● 175 เหรียญไตห วนั /ชวั่ โมง (100*1.67) ● ทํางานลวงเวลา ชว่ั โมงที่ 3-4 ● 1,330 เหรียญไตห วนั ● ทํางานในวนั หยดุ พกั ประจาํ สปั ดาห 2 ช่วั โมงแรก ● ทาํ งานในวนั หยดุ พกั ประจาํ สปั ดาห ช่วั โมงที่ 3 ขนึ้ ไป ● ไดรบั คา จางเพิ่มอกี จาํ นวน 842 ● ทาํ งานในวนั หยุดพกั ประจําสปั ดาหทง้ั วนั หรือ 8 ชั่วโมง ● ทาํ งานในวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ ทงั้ วนั หรอื 8 ชั่วโมง เหรียญไตห วัน/วัน 3. คา ใชจ ายขณะทาํ งานในไตหวนั ● คาบริการรายเดอื น ● 1,800 เหรียญไตหวนั /เดือน (ป1) 1,700 เหรียญไตห วนั /เดือน (ป2) และ 1,500 เหรียญไตห วนั /เดือน (ป3) ● คาเบี้ยประกนั ภัยแรงงาน ● 530 เหรียญไตห วัน/เดอื น (นายจา งจาย 1,856 เหรียญไตห วนั ) ● คาเบี้ยประกนั สขุ ภาพ ● 392 เหรียญไตหวนั /เดือน (นายจางจาย ● คาธรรมเนียมทาํ ใบถิ่นทอี่ ยู 1,238 เหรียญไตห วนั ) ● คาอาหารและทีพ่ กั ● 1,000 เหรยี ญไตห วนั /ป ● คาภาษีเงินได (ปภาษี = 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ● 2,500เหรยี ญไตห วัน/เดอื น ● ผูพํานกั ครบ 183 วนั ใน 1 ปภาษี ● รายไดไมถึง 422,000 เหรียญไตหวนั /ป หรือ รายไดไมเกิน 35,166/เดอื น ไมเสียภาษี ● ผูพํานกั นอ ยกวา 183 วันใน 1 ปภาษี ● รายไดไมถึง 37,875 เหรียญไตหวัน/เดอื น เสียภาษี 6% รายไดเกิน 37,875 เหรียญไตห วัน/เดือน เสียภาษี 18% ● นายจา งยืน่ เรื่องเสียภาษีในเดือนพฤษภาคม และทยอยคืนเงนิ ภาษีตงั้ แตเดอื นสิงหาคมไปจนถึงเดอื นธั นวาคมของทกุ ป ทั้งนี้ แตละโรงงานจะไดร บั เงินคืนภาษไี มพรอมกนั 4. การลางาน ● ลากิจ 1 วนั หกั คาจา ง 842 เหรียญไตห วนั (1 ป ลาไดไมเ กิน 14 วนั ) ● ลาปวย 1 วัน หกั คาจา งกงึ่ หนงึ่ 421 เหรียญไตห วนั (1 ป ลาไดไมเกิน 30 วนั ) 18

การยืน่ ขอรบั เงินบาํ เหนจ็ ชราภาพจากการไปทํางานไตห วัน 19

กฎหมายและกฎระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ บ ท ล ง โ ท ษ ก ร ณี ย า เ ส พ ติ ด ขอหา ผลิต ขนสง และจําหนายยาเสพติด (มาตรา 2 ขอท่ี 4) ● ประเภทที่ 1 โทษจาํ คุกและปรับ 20,000,000 TWD จาํ คุกตลอดชีวิต หรอื ประหารชีวิต ● ประเภทที่ 2 โทษจาํ คกุ 7 ปขึ้นไปและปรับ 10,000,000 TWD ● ประเภทที่ 3 โทษจาํ คกุ 7 ปขึ้นไปและปรับ 7,000,000 TWD ขอหามียาเสพติดครอบครอง (มาตรา 2 ขอท่ี 11) ● ประเภทที่ 1 จํานวน 10 กรัม โทษจําคุก 1-7 ป และปรับ 1,000,000 TWD ● ประเภทที่ 2 จาํ นวน 20 กรัม โทษจําคุก 6 เดือน – 5 ป และปรับ 700,000 TWD ● ประเภทที่ 3 จาํ นวน 20 กรมั โทษจาํ คุกไมเกนิ 3 ป และปรบั 300,000 TWD ● ประเภทที่ 4 จาํ นวน 20 กรมั โทษจําคุกไมเกิน 1 ป และปรบั 100,000 TWD สิ่งเสพติดผิดกฎหมาย หรือยาตองหาม หากนําไปจาํ หนา ย นาํ ไปใหผ ูอนื่ เสพ ผลิต ขนสง ฝากเกบ็ รบั โอน ใหผ ูอืน่ มโี ทษจําคกุ ไมเกิน 7 ป และปรบั 5,000,000 TWD หรอื เปนเหตุทําใหผอู ื่นเสียชวี ิต โทษจําคุก 7 ป ขนึ้ ไปและปรบั 100,000,000 TWD และเปนเหตทุ าํ ใหผ อู ืน่ บาดเจบ็ สาหสั โทษจาํ คกุ ตั้งแต 3-12 ป และปรับ 7,500,000 TWD (มาตราที่ 1 ขอ ที่ 83) ก า ร เ ม า สุ ร า ข ณ ะ ขั บ ขี่ ย า น พ า ห น ะ ใ น ใ ต ห วั น กฎหมายใหมประกาศเมือ่ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2562 สําหรบั ผทู ีข่ ับขีจ่ กั รยานไฟฟา ขณะเมาสรุ า มีโทษหนัก สรุปดงั นี้ ● ถาถกู จบั คร้ังแรกถกู ปรบั 15,000 – 90,000 TWD ● ทาํ ผิดครั้งที่ 2 ภายใน 5 ป ถกู ปรับ 18,000 TWD ● ไมใหความรวมมอื ในการวัดปริมาณแอลกอฮอลในเลือด ถูกปรบั 18,000 TWD ● ตองสวมหมวกกันน็อคขณะขบั ขี่ หากฝาฝนถกู ปรับ 300 TWD มีผลบังคับใชต้ังแตเดือนตลุ าคม 2562 เปนตนไป 20

กฎหมายคมุ ครองสตั วใ นไตหวนั ตามกฎหมายคุมครองสัตวมาตราที่ 12 หามการฆาสุนัขหรือแมว ผูใดละเมิดตอง ถูกปรับตามมาตราที่ 25 * ระหวาง 100,000 -150,000 เหรียญไตหวัน * หากภายใน 2 ป ยังกระทําผิดซ้ําจะถูกปรับระหวาง 200,000 - 1,000,000 เหรียญไตหวัน * หากภายใน 5 ป กระทําผิดซ้ําจะถูกจําคุกอยางต่ํา 1ป หรือทั้งจําทั้งปรับไมเกิน 1,000,000 เหรียญ ไตหวัน นอกจากนี้ ในมาตรา 27 ระบุวา ผูใดคาขายซากศพสุนัขหรือแมว ตองถูกปรับ ระหวาง 50,000 -250,000 เหรียญไตหวัน การรองทุกข ขอพิพาท เพื่อปกปองสิทธิประโยชนของตวั ทานเอง ทานจะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขางตน อยางเครงครดั ในกรณีพบวานายจางไมไดดําเนินการใหทานตามทีก่ ลาวมา ตองแจงหรือเตือน ใหนายจางทราบ หากนายจางยงั เพิกเฉย หรือพบวานายจางมีพฤติกรรมฝาฝนกฎหมาย ขอให ทานรองเรียน 1) สาํ นักงานแรงงานไทยท่รี บั ผิดชอบพื้นที่ทโ่ี รงงานทานต้ังอยู เชน (สนร.เกาสง) หรือ 2) กระทรวงแรงงานไตหวนั (Labour Ministry) ซึง่ มีลามทีพ่ ูดภาษาไทยได คอยบริการ รบั คาํ รองทกุ ข ใหคาํ แนะนําและชวยเหลือทาน ตามที่อยูและหมายเลขโทรศัพท ดังนี้ No.83 YENPING NORTH RD. TATUNG ZONE, TAIPEI CITY โทรศพั ท 0800-885995 หรือ 3) สํานักงานแรงงานทองถิ่น (ศนู ยใ หคําปรึกษาแรงงานตางชาติประจาํ ทองถิ่น) 21

คมู ือความปลอดภยั ในการขบั ขีร่ ถจกั รยานไฟฟา (ชวยเสริมแรงในการปน) 22

บทลงโทษที่เกี่ยวขอ งกับรถจกั รยานไฟฟา 23

ศนู ยใหคําปรึกษา ทีอ่ ยู โทรศพั ทและโทรสาร แรงงานตา งชาติ ศนู ยฯ ไทเปซือ่ เลขที่ 2 ชั้น 2 ซอย 101 โทร. 02-25642564, ซินเซิงเปยลู ไทเปซื่อ 02-25643157 ศูนยฯ นิวไทเป โทรสาร 02-25639774 เลขที่ 6 ชั้น 2 จงเจงิ้ ลู ศูนยฯ จีหลงซือ่ ปานเฉียวซือ่ ไทเปเซีย่ น โทร. 02-89651014, ศูนยฯ เถาหยวนเซี่ยน 02-89651044 เลขที่ 1 ยีอ่ ี้ลู จีหลงซื่อ โทรสาร 02-89651058 ศนู ยฯ ซินจูซื่อ ศูนยฯ ซินจูเซี่ยน เลขที่ 1 ช้ัน 8 เซี่ยนฝูลู โทร. 02-24258624 เถาหยวนซือ่ โทรสาร 02-24226215 ศูนยฯ เหมียวลีเ่ ซี่ยน ศูนยฯ ไทจงซื่อ เลขที่ 69 กั๋วหลู ู ซินจูซื่อ โทร. 03-3344087, 03-3341728 ศนู ยฯ ไทจงเซี่ยน เลขที่ 10 ช้ัน 3 โทรสาร 03-3341689 กวงหมิงลิว่ ลู จู ศนู ยฯ อี๋หลานเซย่ี น เปยซือ่ ซินจูเซี่ยน โทร. 03-5319978 ศูนยฯ 194 จงเจิ้งลู เจี้ยนกงหลี่ โทรสาร 03-5319975 ฮวาเหลียนเซ่ยี น เหมียวลี่เซี่ยน โทร. 03-5220648 โทรสาร 03-5520771 เลขที่ 122/19 ชั้น 6/2 จงกวั่ ลูเออตวน ไทจงซื่อ โทร. 03-7363260 โทรสาร 03-7363261 เลขที่ 36 หยางหมิงเจ ฟงหยวนซื่อ โทร. 04-2258561, ไทจงเซีย่ น 04-22580765 โทรสาร 04-27060567 เลขท่ี 451 ชัน้ เหอผิงลู โทร. 04-25240131 อห๋ี ลานซ่อื โทรสาร 04-25240438 เลขท่ี 131 ชั้น 1 ก๋ัวเหลยี นอูลู โทร. 03-9324400 ฮวาเหลียนซอื่ โทรสาร 03-9367742 โทร. 03-8342584 โทรสาร 03-8349341 24

ศูนยใ หคําปรึกษา ทีอ่ ยู โทรศพั ทแ ละโทรสาร แรงงานตางชาติ ศนู ยฯ หนานโถวเซี่ยน เลขที่ 21 ชั้น 2 โทร. 04-92261896 หนานกังซันลู โทรสาร 04-92256027 ศูนยฯ จางฮั่วเซีย่ น หนานโถวซือ่ โทร. 04-7297228 ศนู ยฯ หยุนหลินเซี่ยน เลขที่ 100 ชั้น 8 จงซิงลู โทรสาร 04-7297229 จางฮั่วซื่อ โทร. 05-5338087, 05-5338086 เลขที่ 515 โทรสาร 05-5331080 หยุนหลินลูเอตวน โตวลิว่ ซื่อ หยุนหลินเซี่ยน ศูนยฯ เจียอี้ซื่อ เลขที่ 160 ชั้น 1 จงซนั ลู โทร. 05-2162633 ศูนยฯ เจียอี้เซี่ยน เจียอซี้ ือ่ โทรสาร 05-2162635 ศนู ยฯ ไถหนานซือ่ ศนู ยฯ ไถหนานเซีย่ น เลขที่ 278 ช้ัน 6 โทร. 05-2771114, หมินฉวนลู 05-2784551 เจียอซี้ ื่อ โทรสาร 05-2788236 เลขที่ 6 ชั้น 8 หยงหัวลู โทร. 06-2951052, ไถหนานซื่อ 06-3901230 โทรสาร 06-2951053 เลขที่ 36 ชั้น 7 หมินจื้อลู ซินอิ๋งซือ่ ไถหนานเซีย่ น โทร. 06-6326546 โทรสาร 06-6373465 ศูนยฯ เกาสงซือ่ เลขที่ 6 ชั้น 4 เจนิ้ จงลู โทร. 07-8117543 เขตเฉียนเจ้นิ เกาสงซือ่ โทรสาร 07-8117548 ศูนยฯ เกาสงเซี่ยน เลขที่ 117 ชั้น 3 ตาเปย ลู โทร. 07-7338842 เหนีย่ วซงเซียง โทรสาร 07-7331153 ศูนยฯ ผิงตงเซีย่ น เกาสงเซีย่ น ศูนยฯ ไถตงเซีย่ น โทร. 08-7341634 ศูนยฯ เผิงหูเซีย่ น เลขที่ 527 จื้อหยวิ ลู โทรสาร 08-7341644 ผิงตงซื่อ โทร. 08-9359740 เลขที่ 276 ชั้น 1 จงซันลู โทรสาร 08-9341296 ไถตงซือ่ โทร. 0-9270907 โทรสาร 06-9268391 เลขที่ 70/18 ชั้น 3 อนั ซนั หลี่ หมากงซือ่ 25

พระราชบญั ญตั ิจดั หางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. 2528 (ประเทศไทย) พระราชบัญญตั ิจัดหางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. 2528 (มีการแกไขเพิ่มเติมใน ป 2537 และป 2538) โดยมีสาระสําคญั ดงั นี้ 1) ใหมสี าํ นักงานจดั หางานของรฐั ที่จะใหบริการจดั หางานแกประชาชน โดยไมค ิดมูลคา 2) ขยายรปู แบบการคุมครองคนหางานใหไดรับความเปนธรรม และไดรบั การชวยเหลือ เม่อื ประสบความเดือดรอน 3) ควบคมุ และดูแลประกอบธรุ กิจจัดหางานของเอกชนอยา งจริงจัง ท้ังนี้ ※ ผูขออนุญาตจดั หางานในประเทศ จะตองมีสญั ชาติไทย และมีหลักประกัน เปนจํานวนเงิน หนึง่ แสนบาท วางไวกับนายทะเบียน เพื่อเปนหลักประกนั การปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัตินี้ ในกรณีทีผ่ ูขออนญุ าตจัดหางาน ดังกลาวเปนนิติบุคคล นิติบุคคลน้ันตองมีสญั ชาติไทยและ มีผูจัดการซึ่งเปน ผูมีคุณสมบัติและไมมีลกั ษณะตองหาม ※ ผูขออนญุ าตจดั หางานเพื่อไปทาํ งานในตางประเทศ จะตองเปนบริษทั จํากดั หรือบริษทั มหาชนจํากดั มีทุนจดทะเบียนและชาํ ระแลวไมนอยกวาหนึง่ ลานบาท มีผูจัดการซึง่ เปน ผูมี คุณสมบตั ิและไมมีลักษณะตองหาม และมีหลกั ประกันเปน จาํ นวนเงินหาลานบาทวางไวกับ นายทะเบียนจดั หางานกลาง เพื่อเปน หลกั ประกนั การปฏิบัติตามพระราชบัญญตั ินี้ 4) กาํ หนดใหผูรับอนุญาตจัดหางานเพื่อไปทาํ งานตางประเทศ สงคนหางานเขารบั การทดสอบ ฝมือ 5) กําหนดมาตรการในการควบคุมการดาํ เนินการทดสอบฝมือ โดยใหอยูในความรบั ผิดชอบ ของกรม พฒั นาฝมอื แรงงาน ทั้งนี้ การดาํ เนินการทดสอบฝมอื อาจจะดําเนินการโดย สถานทดสอบฝมือของรัฐ หรือดาํ เนินการโดยสถานทดสอบฝมือของเอกชน 26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

รายชื่อหนว ยงานที่สาํ คัญของไตห วัน 1. กระทรวงแรงงานไตหวนั โทร. 02-8590-2567 6. หนวยเฉพาะกิจตรวจคนเขาเมือง 2. ศูนยบรกิ ารคนตางดาว โทร. 02-2556-6007 โทร. 02-2388-9393 02-2555-4275 7. แจง เหตฉุ กุ เฉิน (แจงเหตุรายกับตาํ รวจ) โทร. 110 3. ศูนยบริการนานาชาติไทเป โทร. 02-2381-7479 8. หนวยกูภัย (อบุ ัติเหตุตางๆ) โทร. 119 02-2375-6702 9. สายดวนแรงงานตางชาติ โทร. 1955 4. ตํารวจกิจการตางประเทศ สํานกั งานตํารวจ 10. ศนู ยบริการแรงงานตางชาติ เกาสง แหงชาติไตหวนั โทร. 02-2321-8673 โทร. 07-812-4613 5. สถานท่กี ักกนั ชาวตางชาติ โทร. 02-2673-0091 เขตไถหนาน หมายเลขโทรศพั ท โรงพยาบาลในเขตตา ง ๆ 1. Tainan Hospital, Department of Health โทร. 06-220-0055 2. National Cheng Kung University Hospital โทร. 06-235-3535 เขตเกาสง 1. Zuoying Armed Forces General Hospital โทร. 07-581-7121 2. Kaohsiung Chang Gung Memorial Hospital โทร.07-731-7123 3. Kaohsiung Municipal Min Sheng Hospital โทร. 07-751-1131 4. Kaohsiung Veterans General Hospital โทร. 07-342-212 เขตจางฮั่ว 1. Changhua Hospital Ministry of Health and Welfare โทร. 04-829-8686 2. Changhua Christian Hospital โทร. 04-723-8595 3. Show Chwan Memorial Hospital โทร. 04-725-6166 เขตหยนุ หลนิ 1. National Taiwan University Hospital Yunlin-Branch โทร. 05-532-3911 2. Yunlin Christian Hospital โทร. 05-587-1111 3. Yunlin Chang Gung Memorial Hospital of The C.G.M.F. โทร. 05-691-5151 เขตเจียอี้ 1. Chiayi Hospital Ministry of Health and Welfare โทร. 05-231-9090 2. Ditmanson Medical Foundation Chia-Yi Christian Hospital โทร. 05-276-5041 หมายเลขโทรศพั ทม ลู นิธิชวยเหลือคนตา งชาติ แกไขปญหาทางกฎหมาย (Legal Aid Foundation) 1. มูลนิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไขปญหาทางกฎหมาย เขตเกาสง โทร. 07-269-3301 โทรสาร 07-269-3310 2. มลู นิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไขปญ หาทางกฎหมาย เขตผิงตง โทร. 08-751-6798 โทรสาร 08-751-6587 3. มูลนิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไขปญหาทางกฎหมาย เขตไถตง โทร. 08-936-1363 โทรสาร 08-936-1153 4. มลู นิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไ ขปญหาทางกฎหมาย เขตเผิงหู โทร. 06-927-9952 โทรสาร 06-927-8495 5. มลู นิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไขปญหาทางกฎหมาย เขตจงั ฮวา โทร. 04-837-5882 โทรสาร 04-837-5883 6. มูลนิธิชวยเหลือคนตางชาติแกไ ขปญหาทางกฎหมาย เขตหยนุ หลนิ โทร. 05-636-4400 โทรสาร 05-636-3850 7. มูลนิธิชวยเหลือคนตางชาตแิ กไ ขปญหาทางกฎหมาย เขตเจียอ้ี โทร. 05-276-3488 โทรสาร 05-276-3400 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook