Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือความปลอดภัยในการประกอบอาชีพก่อสร้าง

คู่มือความปลอดภัยในการประกอบอาชีพก่อสร้าง

Published by Nulek Labour, 2021-01-27 02:06:06

Description: จัดทำโดยสถาบันความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของไต้หวัน

Keywords: ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

泰文版 ภาษาไทย ความปลอดภยั ในการประกอบอาชพี และการดูแล สขุ ภาพของแรงงานตางชาติในประเทศไตห วัน ความปลอดภยั และสุขศาสตรใ นอตุ สาหกรรมกอ สรา ง

หวั ขอที่ 1 : บทนาํ เกย่ี วกับระบบความปลอดภยั และสขุ ศาสตรข องคนงานในไตห วัน หลักการพน้ื ฐานในเรอ่ื งของความปลอดภัยและอาชวี อนามยั และประเภท ของอบุ ตั เิ หตุทีเ่ กดิ ข้นึ ในโรงงานอตุ สาหกรรม 1-1 ระบบความปลอดภยั และสขุ ศาสตรของคนงาน สภาบริหาร หนว ยงานของ หนว ยงานของรัฐบาล เทศบาล เมืองและเขต รัฐมนตรีกระทรวง สภากจิ การแรงงาน สํานกั งานแรงงาน หนว ยแรงงานเขต องคกรท่ีให หนว ยงาน กรมบริหารแรงงาน ความรวมมอื ตรวจสอบแรงงาน กรมสวสั ดิการ แรงงาน ศนู ยใหค ําปรกึ ษา แรงงานตางชาติ นายจา ง องคก รธุรกจิ คณะกรรมการความปลอดภัยและอาชีวอนามยั หวั หนา งาน ณ สถานประกอบการ 1-2 การปองกันเปน นโยบายทดี่ ที ส่ี ดุ หลักการพ้นื ฐานในเร่อื งของความปลอดภยั และอาชวี อนามัย สาเหตุหลกั 2 ประการของการบาดเจบ็ ในระหวา งการทาํ งาน คือ “พฤตกิ รรมท่เี ส่ียง อนั ตราย” และ “สภาพแวดลอ มทไี่ มป ลอดภัย” ขอมลู ของสาํ นกั งานฝกอบรมวิชาชีพชี้ใหเหน็ วา พฤติกรรมท่ีเสีย่ งอนั ตรายซงึ่ อาจจะกอ ใหเกิดการบาดเจ็บ มีดงั ตอไปน้ี 1. ความละเลยและความประมาท 2. การละเมิดขอ หามตาง ๆ 3. การไมปฎิบตั ติ ามวธิ กี ารปฏบิ ัติมาตรฐาน 1

4. การไมสวมอปุ กรณป องกนั สวนบุคคล 5. การทม่ี สี ภาพรา งกายอยใู นสภาวะท่ไี มสมบูรณ อยา งไรก็ตาม จํานวนเปอรเ ซ็นตข องการบาดเจ็บเนอ่ื งจากการทํางาน แบงไดต าม สาเหตุหลกั ดังนีค้ ือ3%เกดิ จากสาเหตุท่ไี มส ามารถหลกี เล่ยี งได 24% เกิดจากสภาพแวดลอ ม หรือเครื่องมอื ทีไ่ มป ลอดภยั และ73%เกิดจากพฤติกรรมทีเ่ สีย่ งอันตราย วิธีการทมี่ ีประสทิ ธผิ ล สําหรับปอ งกนั การบาดเจบ็ จากการทํางาน คอื การหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมที่เสีย่ งอนั ตรายทัง้ 5 ขอทไ่ี ดกลา วถึงในขางตน 1-3 จํานวนแรงงานตางชาติในไตหวนั แบง ตามประเภทอุตสาหกรรม สญั ชาติ ไทย ฟล ิปปนส อินโดนเี ซีย เวยี ตนาม มองโกเลีย มาเลเซยี จาํ นวนรวม ตําแหนง ท้ังหมด 80,955 58,753 7,828 อตุ สาหกรรม 2,286 27,940 74,675 22,336 20 11 169,903 ผลิต 9,608 1,361 45 46,474 16 0 151,391 ผอู นุบาล 13 833 1,773 อุตสาหกรรม 32 1,167 902 730 0 1 11,745 92,894 90,054 85,223 กอสราง 703 0 0 3,322 ประมง 293 0 0 2,394 แมบา น จาํ นวนรวม 70,536 36 12 338,755 ทัง้ หมด (รายงานสถิติแรงงานปลายป 2549) 1-4 ประเภทของอุตสาหกรรมและการบาดเจบ็ อุตสาหกรรมผลิต 1. โดนอุปกรณ/ เครือ่ งมือหนบี หรือบดทับ (รวมทงั้ ผลติ ภณั ฑ 2. โดนของมีคมบาด อเิ ลคทรอนิกสแ ละ 3. เดนิ สะดดุ สง่ิ ของ ผลติ ภณั ฑโลหะแปรรปู ) 4. ปฎบิ ตั ิงานอยางไมถูกตอ ง 5. โดนตหี รอื กระแทก 6. สมั ผัสวตั ถุอนั ตราย 7. ตกจากทีส่ ูง 8. โดนส่ิงของตกใส 9. โดนชนหรือเบยี ด 10. โดนส่งิ ของลม ทับ 2

อตุ สาหกรรม 1. โดนของมีคมบาด อิเลก็ ทรอนิกส 2. โดนชน (ทรี่ วมในอตุ สาหกรรม 3. สมั ผสั สารเคมี ผลิต) 4. สูดดมกา ซ อตุ สาหกรรมแปรรูปโลหะ 5. สูญเสยี การมองเห็นและการไดย นิ (ท่ีรวมในอตุ สาหกรรม 1. โดนอปุ กรณ/ เคร่ืองมือหนบี หรือบดทบั ผลิต) 2. โดนเคร่อื งมอื แทง บาด หรอื เสียดสี อุตสาหกรรมกอสราง 3. โดนสง่ิ ของตกใส 1. เดินสะดดุ สง่ิ ของ อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑ 2. โดนสิ่งของตกใส ปโ ตรเลยี ม ถานหิน ยาง 3. เหยียบทับสงิ่ ของมีคม และพลาสติก 4. โดนสิ่งของพังลงมาทบั 5. สมั ผัสวัตถทุ รี่ อนจดั หรอื เย็นจัด อตุ สาหกรรมขนสง 6. ตกจากที่สงู 7. โดนอุปกรณ/เครื่องมือหนีบหรือบดทบั 8. โดนชน 9. ปฎบิ ัติงานอยา งไมถ กู ตอ ง 10. โดนชนหรือเบยี ด 1. โดนอุปกรณ/ เครื่องมือหนบี หรือบดทับ 2. โดนของมคี มบาด 3. เดนิ สะดดุ ส่ิงของ 4. ปฏบิ ัตงิ านอยางไมถ ูกตอ ง 5. โดนตี 6. โดนชนหรือเบียด 1. โดนอปุ กรณ/เครือ่ งมือหนีบหรือบดทบั 2. โดนสงิ่ ของมีคมแทง บาด หรอื เสยี ดสี 3. ไดรบั อนั ตรายจากการระเบิด (รายงานสถติ แิ รงงานประจําป 2548) 1-5 การศึกษาเกยี่ วกบั ความปลอดภยั และสขุ ศาสตร จดุ ประสงคการศกึ ษาเกย่ี วกบั ความปลอดภยั และลขุ ศาสตร คอื การปองกนั ลว งหนา ของการเกิดอบุ ตั เิ หตุเพ่ือใหบ รรลุจดุ มงุ หมายอยา งมีประสิทธิผลจาํ เปนจะตองดาํ เนินมาตรการ ปองกนั ทีเ่ หมาะสมและถกู ตอ งตอ คนงานและลูกจาง และใหก ารศึกษาเกี่ยวกบั ความปลอดภยั และสขุ ศาสตร ซง่ึ จะชวยปองกันการเกดิ อบุ ตั เิ หตุได จดุ มงุ หมาย เพือ่ ใหคนงานมสี ขุ ภาพทดี่ ีเพิ่มประสิทธภิ าพในการ ทํางานและหลีกเล่ียงอุบตั ิเหตแุ ละปญหาสขุ ภาพ 3

ประเด็นที่เกี่ยวของกับความ เน่อื งจากการทาํ งาน ปลอดภัยและสุขศาสตร 1. เพื่อใหเลง็ เห็นปจจัยอันตรายและเพ่ือปอ งกนั ระเบยี บและขอ บงั คับ การเกดิ อันตราย ปจจัยที่ทําใหเ กิดอนั ตรายทม่ี กั จะ 2. เพื่อใหร จู กั ประเภทของอันตรายที่อาจเกิดขึน้ ประสบ ไดในสถานประกอบการ แนวทางในการควบคุมการบาดเจบ็ 3. เพ่อื ใหสามารถประเมนิ ความรนุ แรงของ เน่ืองจากการทาํ งาน อันตรายในสถานประกอบการ จุดประสงคข องการฝกอบรม 4. เพอื่ ใหส ามารถควบคุมอนั ตรายหรอื ความ เสยี หายทเ่ี กดิ ข้นึ ได กฏหมายความปลอดภัยและอาชวี อนามัยของ คนงานในไตหวนั และขอบังคบั ตาง ๆ 1. ปจ จัยจสารเคมี : สดู ดมหรอื สมั ผัสฝุน ละออง ไอระเหย ควนั ตลอดจนโลหะ อโลหะ สารไฮโดรคารบ อน และกาซพษิ ตา งๆ 2. ปจจยั กายภาพ : สภาพแวดลอ มท่มี ีอุณหภูมิ สงู และตา่ํ กัมมันตภาพรงั สี เสียงดงั การ สนั่ สะเทือน และความดนั อากาศท่ีผิดปกติ 3. ปจจยั การยศาสตร : แสงสวา งไมเพยี งพอ การบาดเจบ็ เนือ่ งจากการเคลือ่ นยา ยสิ่งของ และจากเคร่ืองมอื ในการทํางาน 1. การควบคมุ เชงิ วิศวกรรมศาสตร : ใชเ ครือ่ งจกั ร แทนแรงงานคน แยกสารอนั ตรายออกจาก บรเิ วณที่คนงานตองทํางาน ใชระบบทํางาน โดยอตั โนมัติ ตดิ ตั้งเครื่องระบายอากาศใน โรงงาน 2. การควบคมุ เชงิ การจัดการ : ลดเวลาในการ สมั ผสั สภาพการทาํ งานที่ไมเหมาะสม กาํ หนด ขอ บงั คับเกี่ยวกับความปลอดภยั และสุขศาสตร ดําเนนิ มาตรการปอ งกนั จัดใหมีปา ยเตือนภัย จดั ทํารายการขอ มลู ความปลอดภัย จดั ใหม กี าร ฝกอบรมเก่ยี วกับการปฎบิ ัติเม่ือมีเหตุฉุกเฉนิ 3. การเฝา ระวงั ปญ หาสขุ ภาพ : ตอ งจัดใหมกี าร ตรวจสขุ ภาพคนงาน เพอ่ื สรา งความรูแ ละความสามารถใหแ กค นงานใน การปองกนั การบาดเจ็บจากการทาํ งาน เพื่อสราง นสิ ยั ใหตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของความปลอดภยั และสขุ ศาสตร เพอื่ ใหเ ขา ใจถงึ อนั ตรายที่อาจจะ เกดิ ข้นึ ในสถานประกอบการ และเพือ่ ใหช ว ย 4

ระเบียบขอบงั คบั ทตี่ อ งปฎิบตั ิ เสนอแนะขัน้ ตอนสําหรบั ปองกันความเสียหาย กลมุ เปาหมายทค่ี วรไดรับการผึก ไมใ หเกิดขึน้ อบรมเก่ยี วกับความปลอดภัยและ ตามท่ีกฏหมายความปลอดภยั และอนามยั ของ สุขศาสตร คนงานไดกําหนดไว คนงาน พนักงานทีม่ สี ว น เก่ียวขอ ง และหวั หนาฝา ย จะตอ งเขา รวมการ ตารางและหลักสตู รการผึกอบรม ฝกอบรมเกย่ี วกับความปลอดภัยและสขุ ศาสตร หลักการของการวิเคราะห 1. พนักงานทม่ี ีสว นเกย่ี วขอ งกับความปลอดภัย การปองกนั อุบัตเิ หตเุ น่อื งจากการ ทํางาน และสขุ ศาสตร 2. หัวหนา ฝายทีเ่ ก่ยี วขอ งกับความปลอดภยั และ สขุ ศาสตร 3. พนกั งานควบคมุ เคร่อื งจักรและอุปกรณ อันตราย 4. พนกั งานพเิ ศษ 5. พนกั งานทว่ั ไป 6. ผูตรวจสอบสภาพแวดลอมในการทาํ งาน 7. ผูประเมนิ ความปลอดภัยในงานกอสราง 8. ผูประเมนิ ความปลอดภยั ในงานผลิต 9. บคุ ลากรทใี่ หปฐมพยาบาลในสถาน ประกอบการ 10. คนงานใหมท่เี พงิ่ เริ่มทาํ งานหรือคนงานท่สี ลับ เปล่ียนงาน จะตอ งมตี ารางการฝกอบรม และหลกั สูตรสําหรบั การฝกอบรมในหวั ขอตาง ๆ เพ่ือใหทราบถึงสาเหตุทว่ั ไปของปญ หา เพ่อื ให ทราบถงึ ตน เหตขุ องปญหา และเพ่อื การดาํ เนินการ แกไ ข เพ่ือปองกนั อุบตั ิเหตจุ ากการทาํ งาน สง่ิ แรกที่ควร จะกระทาํ คอื ตอ งจาํ แนกประเภท ประเมนิ สถานการณ และควบคุมอันตรายในสถาน ประกอบการ ในสว นทเี่ ก่ียวของกับการจําแนก ประเภทอนั ตรายนน้ั จะตอ งใหแ นใ จวามอี ันตราย ประเภทใดบางท่อี าจจะเกิดข้นึ ไดแ ละตองพิจารณา ผลกระทบ สาํ หรับการประเมินสถานการณ จะตอง ตรวจสอบการสมั ผัสอนั ตรายแตล ะประเภทของ คนงาน โดยเปรียบเทียบกับระเบียบและขอ บังคบั ตามกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ งกับอนั ตรายนน้ั ๆ นอกจากน้ี จะตองทราบวา การใชอุปกรณค วบคมุ และการจัดการเปนไปตามขอ กาํ หนดหรือไม 5

การปฏิบัติเมอื่ มีอุบัตเิ หตุเกิดขนึ้ สาํ หรับการควบคุมอนั ตราย จะตองดําเนนิ การ ควบคมุ ท่ตี น เหตขุ องอันตราย วิธีการเกิดอันตราย และคนงานท่จี ะประสบอนั ตราย และจัดสราง วธิ กี ารทาํ งานทีป่ ลอดภยั ตามท่กี ฎหมายคมุ ครองความปลอดภัยคนงานได กําหนดไว นายจา งจะตอ งจัดการประกันอุบตั ิเหตุ ใหแกคนงานตง้ั แตเ มอ่ื เรม่ิ ทํางานเพอ่ื ชว ยสรา ง ความม่นั ใจใหแกค นงาน นอกจากนี้ นายจาง จะตอ งจายเงนิ ชวยเหลือใหแ กค นงานทไี่ ดรบั อันตรายจากอบุ ตั ิเหตุจากการทาํ งานดวย ถาไม ดาํ เนนิ การใน 2 ประการขางตน นายจา งจะตองเสีย คาปรับ 6

หวั ขอท่ี 2 : การรกั ษาความปลอดภยั และสขุ วิทยาในอุตสาหกรรมกอสรา ง 2-1 ลักษณะของอุตสาหกรรมกอสรา ง อตุ สาหกรรมกอสรางมกั จะใชคนงานจํานวนมากและเคร่ืองจกั รทมี่ ีกําลงั สงู อาการ บาดเจบ็ ที่คอนขางพบเห็นบอยจะเปนการบาดเจ็บดา นกายภาพเชน ตกลงมาจากท่สี งู โดน ส่งิ ของหลนใส ส่งิ กอสรา งพังทลาย หรือการบาดเจ็บจากการถกู ชนโดยเคร่ืองจกั ร 1. การตกลงมาจากที่สงู มกั จะเกิดขึ้นไดบอยและทาํ ใหค นงานบาดเจ็บสาหสั สาเหตุ สําคญั ของการตกลงมาจากที่สงู จะเกิดจากการท่คี นงานมคี วามเชือ่ ม่ันในตนเองมากเกินไป เม่ือทํางานในท่สี ูง หรอื เกดิ จากการทที่ ํางานโดยไมมีอุปกรณและเครอื่ งมอื ปองกนั ภัยพื่อให ทาํ งานไดส ะดวกข้นึ ดงั นั้น เมอื่ ทาํ งานโดยไมมเี ขม็ ขดั นริ ภยั หรอื ตาขา ยนิรภัย ผลของ อุบตั เิ หตุก็คือการสูญเสยี ชีวิต นอกเหนือจากการที่คนงานขาดความรเู ก่ยี วกบั ความปลอดภยั แลวนายจา งก็มักจะไมจัดหาอุปกรณปอ งกนั อันตรายใหห รอื ถามใี หก อ็ าจจะไมมปี ระสิทธผิ ล มากนัก ตัวอยา งเชน นั่งราน นง่ั รา นท่ีมัน่ คงแขง็ แรงควรจะประกอบจากทอ นโลหะ เพอื่ ชวยให คนงานทํางานกับส่งิ กอสรา งไดอ ยางปลอดภัย และชวยปองกนั การบาดเจบ็ เมอื่ คนงานตกลง มาจากท่สี ูง นายจางไมควรจะมองขามความปลอดภยั ของคนงานเพยี งเพ่ือทจ่ี ะเพมิ่ ผลกาํ ไร ใหก ับตนเอง 2. สาเหตุทัว่ ไปของการทสี่ ง่ิ ของหรือวัตถหุ ลน ลงมาโดนคนงาน คอื ความประมาทของ เพ่อื นคนงาน เมอื่ ปฏบิ ัติงานกบั เครื่องยก เครอ่ื งขุดดิน หรอื รถยก (รถฟอรก ลฟิ ต) จาํ เปน จะตอ งจดั การกั้นรว้ั โดยรอบรัศมกี ารทาํ งานของเคร่อื งจกั รเพ่ือกันไมใ หคนงานเขา ไปใน บรเิ วณอันตราย ถาจําเปนจะตอ งมที างเขา หัวหนางานจะตอ งคอยสอดสองดแู ลและควบคมุ การปฏิบตั ิงานอยางใกลชิด นอกจากนี้ บคุ คลทอี่ ยใู นบรเิ วณนั้นจะตอ งสวมหมวกนริ ภยั ถงุ มือ และรองเทา ทํางานที่เหมาะสม อนง่ึ เมือ่ มีการเคลอ่ื นยายสง่ิ ของทม่ี ีนา้ํ หนกั มาก ควรจะใช เครอ่ื งจักรในการยกมากกวา ท่ีจะใชแ รงคน เพือ่ ปอ งกนั การบาดเจ็บ 3. การบาดเจ็บเนื่องจากถกู ส่งิ กอสรางพงั ทลายลงมาทบั มักจะเปนผลจากการท่ีไมมรี ั้ว กนั แสดงขอบเขตของบรเิ วณอันตรายโดยเฉพาะอยา งยิ่งบรเิ วณท่ีอาจจะมีการพงั ทลายเกดิ ขึน้ ได การพงั ทลายเปน ส่ิงทีป่ อ งกนั ยากเพราะเกดิ ข้ึนอยา งกะทันหัน แตการก้นั ร้วั จะชวยลด โอกาสในการเกิดการบาดเจ็บการถกู สิ่งกอ สรา งพงั ลงมาทบั หรอื การถกู ชนโดยมกั จะเปน ผล จากความประมาทของคนงาน เคร่ืองจักรสวนใหญท ่ีใชใ นงานกอ สรางมักจะเปนเครอ่ื งจักร ขนาดใหญ มกี ารทาํ งานทค่ี รอบคลมุ บริเวณกวางและพนักงานควบคุมเครื่องจักรอาจจะไม สามารถมองเห็นทุกพื้นท่ีได ทาํ ใหเกิดการชนไดบอยคร้ัง มอี ยูหลายวธิ ที ี่จะชว ยปอ งกนั การ บาดเจบ็ เชน การเสรมิ สรางความรูเ กย่ี วกับความปลอดภยั ใหแกคนงาน ก้นั รว้ั เพือ่ กําหนด บรเิ วณอนั ตรายสําหรบั เคร่ืองจักรทเี่ คล่ือนที่ไดห ามไมใ หคนงานเดินไป-มาในบรเิ วณที่ เครื่องจักรทํางานและเพิ่มจาํ นวนของผดู ูแลหรอื หัวหนา งานในบริเวณทาํ งานเพ่อื ชว ยพนกั งาน ควบคุมดูแลไมใ หค นงานอื่นๆโดนเครื่องจักรชน 7

ตารางที่2-1แสดงความสัมพันธร ะหวา งประเภทของการบาดเจ็บ และส่อื ทที่ าํ ใหเ กดิ การบาดเจ็บ ประเภทของการ อตั ราการบาดเจ็บและเสียชวี ิต บาดเจบ็ อปุ กรณ / สอื่ ในอุตสาหกรรมทกุ ประเภท จํานวน เปอรเซน็ ต ตกลงมาจากท่สี ูง บนั ได ชน้ั 4 5.79 ถกู สิง่ กอสรางพัง เครือ่ งจกั รกําลังทั่วไป วสั ดุ 11 15.94 ทบั รถขนของท่กี ําลงั เคลอ่ื นท、่ี เคร่อื งจกั ร ถกู เคร่อื งจักรชน กําลังสําหรบั การขนยา ยวสั ดุ เครอื่ งจกั ร 3 4.34 กาํ ลงั เคร่อื งจักรสําหรบั การยกสิ่งของ อุปกรณก อ สรา ง、รถขนของท่ีกาํ ลัง สะดดุ ลม เคลือ่ นที่ เคร่อื งจักรกาํ ลังสาํ หรบั การขน 11 15.94 ยา ย สภาพแวดลอม ถกู ของมคี มบาด เครอื่ งจกั รกําลงั ทวั่ ไป วัสดุ เคร่อื งจักรท่ี 6 8.69 ทาํ งานดว ยแรงคน เครอื่ งมอื 2-2 การวิเคราะหก รณีศึกษา อตุ สาหกรรมกอสรา งมกั จะใชเครอ่ื งมือท่มี กี ําลังสูง ดังนั้น การบาดเจบ็ ทเี่ กดิ ขึ้น มกั จะมรี ะดบั อาการท่คี อนขางรุนแรงการพลดั ตกลงมาจากท่ีสงู เปน อบุ ตั ิเหตทุ ่ีพบกันบอ ยครัง้ ในอตุ สาหกรรมประเภทนี้ และมักจะกอ ใหเกิดการบาดเจบ็ สาหัส กรณศี ึกษาตอไปน้ีจะอธบิ าย การบาดเจ็บจากอบุ ัตเิ หตุ 3 ประเภทซึ่งสงผลใหเ กดิ การบาดเจ็บสาหสั คอื การบาดเจ็บจาก การถกู ชน การบาดเจ็บจากการถูกทับ และการบาดเจ็บจากการตกจากทส่ี งู เปน ท่ีคาดหวงั วา กรณศี กึ ษาเหลาน้จี ะชวยใหนายจา งและคนงานเล็งเห็นความสําคญั ของความปลอดภัยและสขุ ศาสตร 8

กรณที ี่ 1 : การถูกชน ชอื่ เรอื่ ง : การเสียชีวติ จากการถกู รถผสมปูนชน คนงาน คนงานคนหนง่ึ ความรับผดิ ชอบ ชวยปฏบิ ตั ิงานทร่ี ถผสมปนู เวลาทเี่ กดิ เหตุ เวลาประมาณ 12.15 น เดอื นมีนาคม สถานที่เกดิ เหตุ บรเิ วณกอ สรา ง โดยที่ผูบาดเจ็บปฏิบัตงิ านอยูบริเวณตอนทายของรถ ผสมปูน เครือ่ งมือหรือสอื่ ที่ทําใหเกิดการ รถผสมปูน บาดเจบ็ เหตกุ ารณท่ี คนงาน ก มีเจตนาจะชวยควบคมุ รถผสมปนู ซง่ึ กําลงั เคล่ือนถอยหลังอยู เกิดข้ึน บรเิ วณหนางานกอสรา ง (ดูรูป 2.1) โดยทจ่ี รงิ แลว เขาควรจะยนื อยูท่ี ปากทางลงไปยงั ชัน้ ใตด ินเพื่อที่จะชวยใหส ัญญาณและควบคุมรถผสม ปูนซ่งึ ตองเขา-ออกช้ันใตดิน แตเขากลับยืนอยทู ่ีตอนทายของรถ บริษทั เที่เปนเจาของรถผสมปูนไดจ างคนงานผูชวยอีก 1 คน คือ คนงาน ข มาชวยในการควบคุมการเขา -ออก เม่อื คนงาน ข ข้ึนมาจาก ช้ันใตดิน เขาพบคนงาน ก ถูกรถผสมปนู ชนและลมควํา่ หนา หมวก นิรภัยตกอยทู ี่พื้น (ดรู ูป 2.2) คนงาน ก พยายามจะคลานหนีจาก ดานหลังของรถผสมปูน ดังนน้ั คนงาน ข ไดร บี เขา ไปทางดานซาย ของรถผสมปนู และใหส ัญญาณมือแกคนขับเพ่ือใหห ยุดรถ แตเนื่องจาก คนขับรถไมเ ขาใจสัญญาณมอื ของคนงาน ข จึงยังคงถอยรถผสมปูน ตอไป ลอรถดา นในของลอ หลงั ดา นขวาไดทบั ศรี ษะของคนงาน ก ซงึ่ ทําใหเสียชีวิตทนั ที 9

การวิเคราะห ระดับของ คําอธบิ าย สาเหตุ สาเหตุ คนขับรถไมเขาใจสัญญาณมอื ของคนงาน ข ทําให เบ้อื งตน ปฏบิ ัตงิ านผิดพลาด และเกิดการสญู เสยี ชวี ติ 1. เนื่องจากรถผสมปนู มขี นาดใหญแ ละมมุ มองของ ขอ บกพรอ ง คนขับรถเปน มมุ บอด คนงานไมควรจะยืนทาง ตน เหตุ ดานหลังของรถหรอื บนเสนทางทีร่ ถจะตอ งถอย หลงั (สภาพแวดลอมที่ไมป ลอดภัย) 2. คนงาน ก ไมไ ดส วมหมวกนริ ภยั อยางถูกตอ ง เพราะไมไ ดร ดั เขม็ ขัดหมวก ทาํ ใหห มวกนิรภัย หลุดจากศีรษะทนั ทที เี่ ขาถูกชน (พฤติกรรมที่ เสยี่ งอันตราย) บริษทั ที่เปนเจา ของรถผสมปนู ไดจ ัดใหม คี นงานอกี 1 คนมาชวย งานของคนงานผชู ว ยคนน้ี คือ ชว ยให สญั ญาณแกค นขบั รถและควบคุมสถานการณ เมอ่ื มี คนงานคนอ่ืนอยูใ นบริเวณทํางานน้ัน คนงานผชู ว ย จะตอ งไลใ หออกไปจากบรเิ วณทันที วิธีปองกนั 1. เนือ่ งจากมมุ บอดของการขบั รถผสมปนู เปน มุมกวา งมาก ควรจะมี ขอแนะนํา คนงานผชู ว ย 2 คน เพ่ืออยทู ่ที ัง้ ดานหนา และดานหลงั ของรถ ใน กรณีทบ่ี ริเวณทาํ งานมีเสยี งดัง คนงานผชู วยควรจะตองมวี ทิ ยุ ตดิ ตอสื่อสารเพือ่ ชว ยในการกํากบั เสน ทางใหแกคนขบั รถ การใช สัญญาณมอื ไมถ ือวา เปน ท่ีพอเพียงเพราะอาจจะกอใหเ กิดความ สับสนได นอกจากนี้ คนงานผูชว ยควรจะตอ งชว ยดแู ลใหบรเิ วณ ทาํ งานน้ันปลอดภัยและไลผทู ่ีไมมีสว นเก่ียวขอ งออกจากบริเวณ อันตราย 2. คนงานควรจะสวมใสห มวกนิรภัยอยา งถูกตอง องคกรจําเปน ตอง เนน ความสาํ คญั ของการใชห มวกนิรภัยและการสวมใสใหถูกตอง โดยอาจจะมแี ผนโปสเตอรชว ยในการประชาสมั พนั ธห ลักการความ ปลอดภยั ใหแกคนงานและบคุ คลทว่ั ไป แตถ า คนงานแสดงอาการ หยิง่ หรือเชื่อม่ันในตนเอง และเขาใจวาตนเองมปี ระสบการณการ ทาํ งานพอเพียงและไมจ าํ เปนตอ งสวมใสหมวกนริ ภัย องคก ร จะตอ งมีมาตรการลงโทษ 10

ตาํ แหนงท่ีควรจะมีคนงานผชู ว ย รถผสมปูน รูป 2.1 - ตําแหนง ที่ควรจะมคี นงานผูชว ยและควรจะมีรัว้ ก้ันบรเิ วณทร่ี ถผสมปนู ทํางาน หมวกนริ ภัย รูป 2.2 – สายรดั หมวกนิรภยั จะตอ งปรับใหแนน 11

กรณที ี่ 2 : วัตถหุ ลน ทบั ชอ่ื เรอ่ื ง : การสญู เสียชวี ิตจากการที่แผนเหล็กจากรถขดุ ดินหลน ทับ คนงาน คนงาน 3 คน ประกอบดว ย คนขับรถขดุ ดนิ ความรบั ผดิ ชอบ ติดต้งั แผนเหลก็ กนั ดิน เวลาทเ่ี กดิ เหตุ วันท่ี 16 เมษายน (ไมไดระบุป) สถานทีเ่ กดิ เหตุ บริเวณกอสรา ง ณ สถานท่ีตดิ ตัง้ แผนเหลก็ กันดนิ เครื่องมอื หรอื สือ่ ท่ที ําใหเ กิดการ รถขดุ ดิน น็อตตัวยู และแผนเหล็ก (ดรู ปู 2.3) บาดเจบ็ เหตุการณท่ี คนงาน 3 คน (นาย ก นาย ข และนาย ค ชวยกันติดต้ังแผนเหล็กกนั ดิน เกิดข้ึน ณ บริเวณทจี่ ะขุด นาย ก เปน ผขู ับรถ นาย ข เปน ผูข นั น็อตตัวยูเขากับ แผน เหลก็ และนาย ค เปน ผูดแู ลใหแ ผนเหล็กกันดินลงในบรเิ วณท่ีจะ ทําการขดุ นาย ข ไมส ามารถขันนอ็ ตตวั ยใู หเขา ถงึ ท่สี ุดไดเ นื่องจากมี เศษดนิ ปะปนอยู แตคดิ วาไดขันแนน ดแี ลว และไดแจงนาย ก ใหยกแผน เหลก็ ขน้ึ ในขณะท่ีแผน เหลก็ แขวนอยใู นอากาศ นอ็ ตตัวยกู ไ็ ดคลาย ออก ทําใหแผน เหล็กตกลงมาทบั คนงาน ค ทาํ ใหบาดเจบ็ สาหสั นาย คไปเสียชีวิตทโี่ รงพยาบาล การวิเคราะห ระดับของ คาํ อธบิ าย สาเหตุ สาเหตุ นาย ข ไมไ ดทาํ ความสะอาดน็อตตัวยูกอ นท่ีจะขันเขา เบอื้ งตน กบั แผน เหล็ก เปนสาเหตใุ หแผนเหล็กหลนลงมาทับ นาย ค ขอบกพรอง 1. ไมมปี า ยเตอื นภยั และรั้วกนั้ บริเวณอันตรายใน ตนเหตุ ขณะทรี่ ถขุดดินหรอื รถยกกาํ ลงั ปฏิบัติงานอยู (ดู รปู 2.4) (สภาพแวดลอ มทไี่ มปลอดภัย) 2. ถงึ แมวา นาย ค จะเปนผทู ี่กํากบั ใหแผนเหล็กถูก จัดวางในตาํ แหนง ที่ถกู ตอง เขาไมจ าํ เปน จะตอ ง อยใู นบรเิ วณทาํ งานของรถขดุ ดนิ เพอ่ื ความ ปลอดภยั ของตนเอง เขาควรจะใชเ ครื่องมอื หรอื เชอื กชวยในการนําแผน เหลก็ ไปทต่ี ําแหนงท่ี ตอ งการ (พฤตกิ รรมทีเ่ ส่ยี งอนั ตราย) บรษิ ัทกอสรา งไมไดจ ัดใหมผี ทู ีม่ อี าํ นาจไปชว ยดูแล การปฏบิ ัตงิ านทบี่ ริเวณงานกอสรา ง นอกจากนี้ เม่อื มีการปฏิบัติงานท่ีมีอนั ตราย คนงานไมไดรบั แจก อปุ กรณป องกันภยั สว นบุคคลหรอื เคร่ืองมอื ท่จี ะชว ย ปองกันอุบัตเิ หตุ สดุ ทายนี้ เมอ่ื มีการยกวัตถทุ มี่ ี นาํ้ หนักมาก การเตรยี มงานเปน ไปอยา งหละหลวม ซึ่ง แสดงใหเ ห็นวาคนงานไมไดต ั้งใจทํางาน 12

วิธปี องกัน 1. เมอื่ มีการเคล่อื นยา ยเครื่องมอื กอสรา งขนาดใหญ คนงานไมค วรจะ ขอแนะนาํ ไดรบั อนญุ าตใหอ ยใู นบริเวณทํางานหรือบรเิ วณท่ีใกลเ คียงซง่ึ อาจจะมีโอกาสเกดิ อุบตั ิเหตุ คนงานควรจะตอ งปฏิบตั ติ าม มาตรการความปลอดภยั หรือจดั การปอ งกันไมใหมีการส่ิงของท่ี แขวนอยูบนเคร่ืองยกมโี อกาสเคล่ือนมาอยูเหนอื ศีรษะคนงาน และ จะตอ งหา มไมใ หคนงานอยใู นบรเิ วณภายใตส่งิ ของนนั้ ๆ ถาใน บริเวณนัน้ มักจะมีบุคคลสญั จรไปมา จะตอ งแสดงปา ยเตือน อันตราย ส่ิงแรกทคี่ วรจะจาํ ไวคือ อนั ตรายสามารถจะปอ งกนั ไดถ า มีการเตือนอยางทันเวลา ส่งิ ท่ีสองคอื ปา ยเตือนนัน้ เปรียบเสมอื น บทบญั ญัติซึ่งจะตอกย้ําหลกั การความปลอดภัยใหแกบ ุคคลทวั่ ไป 2. ตองใหแ นใจวาอุปกรณย กสามารถยกสิง่ ของไดอยางปลอดภยั ควรจะใชส ลิงที่มตี ัวล็อกแทนน็อตตวั ยู เพราะจะสามารถปองกันการ ตกหลน ไดดีกวา 3. ในการปฏบิ ตั ิงานกบั เครนยกส่ิงของ คนงานควรจะมอี ปุ กรณปองกัน อันตราย เพราะการปฏบิ ตั งิ านประเภทนี้มโี อกาสเกิดอนั ตรายได มาก ตวั อยา งเชน ถา คนขับเครนไมส ามารถสื่อสารอยางมี ประสิทธภิ าพกบั คนงานทีค่ อยกํากบั ทศิ ทางที่อยูบนพ้ืน อบุ ตั ิเหตุก็ อาจจะเกิดขนึ้ ได บริษัทกอ สรางควรจะจดั หาอปุ กรณทเี่ หมาะสม ใหก ับคนงานทีก่ าํ กับอยูบนพ้นื เพ่อื เพ่มิ ความปลอดภยั ในขณะ ทํางาน 13

เคร่ืองขดุ ดนิ การวางแผนกนั ดนิ รูป 2.3 – เมื่อปฏบิ ตั งิ านวางแผนกันดิน จะตอ งขนั นอ็ ตตวั ยูใหแ นนเพือ่ ปองกันแผนเหลก็ หลน ลงมา ปา ยเตือนภัยและรว้ั ก้ันบรเิ วณทาํ งาน รปู 2.4 – ปายเตือนภยั และรวั้ กน้ั บริเวณทํางาน 14

กรณที ่ี 3 : การถูกทับ ช่ือเรอ่ื ง : การสูญเสียชวี ติ จากการทก่ี ําแพงอิฐพงั ทลายลงมาทับ คนงาน คนงาน 2 คน ความรับผดิ ชอบ ร้ือกาํ แพงและพ้นื เวลาทเ่ี กดิ เหตุ เวลาประมาณ 11.45 น. เดอื นพฤศจิกายน สถานทเ่ี กดิ เหตุ บรเิ วณกอสรา ง เครอ่ื งมือหรอื สอื่ ทีท่ ําใหเกิดการ ผนังช้นั นอก ซง่ึ ยงั ไมถ กู รอื้ ทง้ิ บาดเจบ็ เหตกุ ารณท ี่ คนงาน 2 คนชวยกันร้อื กาํ แพงอิฐช้ันใน พน้ื และกระเบื้องปูพ้นื ในกรณี เกดิ ข้นึ ท่ีไมสามารถร้ือกาํ แพงอิฐใหเสรจ็ ส้นิ ภายใน 1 วนั คนงานจะกลับมา ทํางานตอ ในวันถดั ไปเวลา 8.00 น. นายจางมาถึงสถานที่ในเวลา 7.30 น. ของวนั ถัดไป เพอ่ื เปดประตูใหน าย ก เขาไปทาํ งาน และสั่งใหนาย ก ทํางานใหเสร็จ แลวนายจา งกอ็ อกไปธรุ ะและปลอ ยใหน าย ก ทาํ งาน เพยี งคนเดียว เมื่อนายจางกลับมาเวลาประมาณ 10.00 น. เขาได ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านวาเปนไปตามระเบียบและขอบงั คบั หรอื ไม และ ไดเ ตือนนาย ก เกี่ยวกบั เร่ืองความปลอดภยั หลงั จากน้นั นายจางก็ ออกไปขางนอกอกี เวลา 11.45 น. นายจางไดก ลบั เขามาอีกครง้ั หนงึ่ เพอื่ นาํ อาหารกลางวนั มาสง แตก ็พบวากาํ แพงชนั้ นอกของประตรู ั้วได พังลงมา (ดรู ปู 2.5) เพื่อนบา นใกลเคียงไดแจงใหเขาทราบวา นาย ก ถูกกําแพงพังลงมาทบั และอปุ กรณท่ีร้ือกาํ แพงชั้นนอกก็อยูใ ตซ าก กําแพงนน้ั หลังจากไดดึงตวั นาย ก ออกมาจากซากกําแพง กน็ ําตัวสง โรงพยาบาล แตน าย ก เสียชีวิตเมื่อเวลา 17.00 น. การวิเคราะห ระดับของ คําอธิบาย สาเหตุ สาเหตุ ถกู กาํ แพงอฐิ พงั ลงมาทับ เบอ้ื งตน 1. เมอื่ จะตอ งร้อื ถอนสง่ิ กอสรางเชน กาํ แพง คนงาน ขอ บกพรอง ไมไดปฏิบัติตามขน้ั ตอนทีถ่ กู ตอง คือ ร้ือกําแพง สวนบนกอน แลว จงึ ร้ือกาํ แพงสว นลาง หรือเมอ่ื จะตองรือ้ กาํ แพงทีไ่ มมีโครงยดึ คนงานไมไดใ ช เชอื กชว ยควบคมุ การรื้อถอนเพ่อื ปอ งกันกาํ แพง พังลงมา (สภาพแวดลอ มทีไ่ มปลอดภัย) 2. คนงานไมไ ดสวมหมวกนิรภยั นอกจากน้ี คนงาน ไมไ ดส ังเกตเห็นปญหาเกี่ยวกับความปลอดภยั และปฏบิ ัตงิ านใกลเ กินไปกับสงิ่ กอ สรา งทไี่ มม ี โครงยดึ และอาจจะพงั ทลายได (พฤตกิ รรมที่เสย่ี ง อันตราย) 15

ตนเหตุ นายจา งไมไดควบคมุ ดแู ลดว ยตนเองหรือจดั หา บุคคลทเี่ หมาะสมมาดแู ลการปฏบิ ัตงิ านของคนงาน ไมไ ดต รวจสอบอปุ กรณปอ งกันอนั ตรายสาํ หรบั การ ปฏบิ ตั ิงานนี้ และไมไดใหการศกึ ษาและการฝกอบรม ท่ีจาํ เปน เกย่ี วกับสขุ ศาตรแ ละวิธีการปฏิบัติงานอยา ง ปลอดภัย วิธปี องกัน 1. สิง่ กอ สรางท่ีมโี อกาสจะพงั ทลายลงมา จะตอ งมกี ารก้นั รวั้ และ ขอ แนะนาํ จัดสรา งโครงยึดเพอ่ื ปอ งกันไมใหเ กิดอนั ตรายตอ คนงาน ควร จะตองมีบุคลากรท่ีไดร บั มอบหมายใหค วบคุมและดแู ลสถานการณ ณ บรเิ วณทํางาน เพื่อปอ งกันไมใ หค นงานเขาไปใกลส ง่ิ กอ สรา ง นั้น ๆ 2. องคก รควรจะตอ งตอกยํ้าใหคนงานเล็งเหน็ ความสําคญั ของการใช และสวมใสอ ุปกรณปองกันอันตรายอยางถูกตอ ง เชน หมวกนิรภยั ตัวอยางเชน องคกรควรจะตดิ โปสเตอรและประชาสมั พนั ธเ พอื่ เสรมิ สรางจติ สาํ นึกทางดานความปลอดภยั ใหแ กคนงานและบุคคล ท่วั ไป แตถาคนงานแสดงอาการเชือ่ มน่ั ในตนเองวามีประสบการณ การทํางานพอเพียงและไมจ ําเปนตองสวมใสหมวกนริ ภยั องคก ร จะตอ งมมี าตรการตกั เตือนใหเหน็ โทษของการไมป ฏิบตั ิตาม มาตรการความปลอดภัย 3. เผยแพรก รณศี ึกษาทีค่ ลา ยคลึงกันตอ องคก รตา ง ๆ และตอ บคุ คล ทัว่ ไป เพื่อใหท ราบถงึ มาตรการความปลอดภัยและนาํ ไปปฏิบัติได (เชน ใหค รอบครัวและญาตพิ ีน่ อ งชว ยกนั แนะนาํ คนงานใหป ฏบิ ตั ิ ตามมาตรการความปลอดภยั ) นายจางหรือบริษัทกอสรางควรจดั ใหมบี ุคลากรเพ่อื รบั ผิดชอบ ดูแล และตรวจสอบอปุ กรณป องกัน อนั ตรายตาง ๆ ในสวนของคนงาน จะตอ งรบั การฝกอบรมและ การศกึ ษาเก่ยี วกับความปลอดภยั และสุขศาสตร จะไดช ว ยปอ งกัน อุบัติเหตุเนือ่ งจากการทํางาน รัฐบาลกค็ วรจะสนับสนุนใหมีการจดั ฝกอบรมและจัดตง้ั ระบบตรวจสอบ ประกาศเกียรติคณุ และลงโทษ ท่เี หมาะสม รูป 2.5 – กาํ แพงอฐิ ทพี่ งั ทลายลงมา ควรจะมปี ายเตอื นภยั และรวั้ ก้นั บรเิ วณทาํ งาน เชนเดียวกบั รปู 2.4 16

2-3 บทสรุป จากการวเิ คราะหก รณศี กึ ษาตาง ๆ จะพบวาสาเหตเุ บือ้ งตนจะมีความแตกตางกัน แลวแตประเภทของการบาดเจบ็ แตเมอื่ ทาํ การวิเคราะหใ นเชิงลกื จะเหน็ ชดั วาเกอื บทกุ อบุ ัตเิ หตจุ ะมีสาเหตจุ ากการที่นายจา งละเลยตอการควบคมุ ใหค นงานปฏิบตั ิตามหลกั การ ความปลอดภยั และสขุ ศาสตร ถาองคกรไดแนะนําใหคนงานปฏบิ ตั ิตามระเบียบและขอบงั คบั แตไ มม มี าตรการควบคุมและสอดสองดูแลใหเกดิ การปฏิบัติตาม ผลลพั ธท จ่ี ะไดก ็คอื อบุ ตั เิ หตุ ทจ่ี ะเกิดซํา้ แลวซาํ้ อกี คนงานและองคกรจะตองรว มมือกนั และปฏบิ ตั ิตามมาตรการความ ปลอดภยั เพื่อท่ีจะทาํ ใหการศกึ ษาเกีย่ วกบั ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยและอุปกรณป องกัน อันตรายตาง ๆ เกิดผลอยางสมบรู ณ 17

หัวขอท่ี 3 : บทนาํ เก่ยี วกับการปกปองสิทธขิ องแรงงานตา งชาตแิ ละการชว ยเหลือ แรงงานตางชาติเมอ่ื เกิดปญหา สภากจิ การแรงงาน กองความปลอดภัยและอาชวี อนามยั แรงงาน กองตรวจสอบแรงงาน กองประกันแรงงาน กองสวสั ดกิ ารแรงงาน กองเงอ่ื นไขแรงงาน กองความสมั พนั ธร ะหวา งนายจา ง-ลกู จาง สถาบันฝกอบรมวชิ าชีพ สถาบันความปลอดภยั และชวี อนามัย 3-1 ความปลอดภยั และอาชวี อนามัยแรงงาน ตามทีก่ าํ หนดไวใ นกฎหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย นายจาง จะตอ งจดั ใหมกี ารจัดการความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในสถานประกอบการ นอกจากนี้ นายจา งจะตองจดั เตรียมอุปกรณป องกนั สว นบุคคล วิธีการปฏบิ ัติงานอยา งปลอดภัย การ ฝก ฝนดานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั และการปองกนั อนั ตราย ใหแกค นงาน เพ่อื ปอ งกนั การบาดเจบ็ ทง้ั ทางดานรางกายและจิตใจ 3-2 การจดั การความขดั แยง ในระหวา งท่ีทาํ งานในไตหวนั คนงานสามารถขอความชว ยเหลือจากสํานกั งาน แรงงานในทุก ๆ จงั หวดั หรือเขตได ในกรณที ่มี คี วามขัดแยงกนั 3-3 การตดิ ตอ ขอความชวยเหลือ ในระหวา งท่ีทาํ งานในไตหวัน ถามีขอขดั แยงเกิดข้ึนระหวางนายจา งและลกู จา ง ทั้ง 2 ฝายสามารถตดิ ตอศนู ยบ รกิ ารใหค ําปรกึ ษาตามทอ่ี ยูและเบอรโ ทรศัพทตอ ไปน้ี ( สายดว น เพอ่ื รอ งทุกข โดย กรมแรงงาน : ภาษาอังกฤษ โทร 0800-885885; ภาษาไทย โทร 0800-885995; ภาษาอินโดนีเซยี โทร 0800-885958; ภาษาเวียดนาม โทร 0800-017858 ) 18

ชอื่ ศูนย ที่อยู โทรศัพทและโทรสาร ศนู ยบริการใหค าํ ปรึกษาแรงงาน 21 โยงเลอตา โล ช้ัน 8 ตีฮ๋ ั่วเจยี กรุงไทเป โทรศัพท :02-25502151 ตา งชาติกรุงไทเป โทรสาร :02-25507024 ศูนย ฯ ไทเปเซ่ียน 161 ชัน้ 7 ถนนจงซานปานเฉยี วซื่อ ไถเปย โทรศพั ท :02-89659091 ศนู ย ฯเมืองจีหลง เซยี่ น 02-89651044 โทรสาร : 02-89651058 ศูนย ฯเมืองเถาหยวน ศนู ย ฯ เมืองซนิ จูซือ่ 1 ย่อี ลี ู เมืองจีหลง โทรศัพท :02-24258624 ศูนย ฯ เมืองซนิ จเู ซย่ี น 02-24258624 ศูนย ฯ เหมยี วลเี่ ซ่ียน โทรสาร : 02-24226215 ศูนย ฯ ไทจงุ ซอ่ื 1 ชัน้ 8 ถนนซอื่ ฝลู ู เถาหยวน โทรศัพท : 03-3344087 ศนู ย ฯ ไทจุงเซย่ี น 03-3341728 ศนู ย ฯ เมืองจางฮ่วั 03-3322101 ศูนย ฯ หนนั โถวเซ่ยี น โทรสาร : 03-3341689 69 ช้ัน 5 ถนนกวั๋ หัวลู ซนิ จซู อื่ โทรศัพท : 03-5319978 โทรสาร : 03-5319975 10 ชัน้ 4 กวงหมิงลิ่วลู จเู ปย ซินจูเ ซย่ี น โทรศพั ท : 03-5520648 โทรสาร : 03-5520771 โทรศัพท : 037-357040#502 1121 กลว้ั หวั ลู เหมยี วล่ีซอ่ื 037-364548 โทรสาร : 037-363261 53 ช้นั 2 จอื่ โยวลูเออตว น ไทจงุ ซื่อ โทรศัพท : 04-22296049 โทรสาร : 04-22296048 สายตรง : 0800-600088 36 ชั้น6 หยางหมงิ เจ ฟงหยวน โทรศัพท :04-25240131 โทรสาร : 04-25156180 100 ช้นั 8 ถนนจงซงิ ลู จางฮั่วซอ่ื โทรศพั ท : 04-7297228 04-7297229 โทรสาร : 04-7297230 660 ชั้น 1 ถนนจงซงิ ลู หนันโถว โทรศัพท :049-2238670 โทรสาร : 049-2238853 ศนู ย ฯ หยนุ หลนิ เซ่ยี น 515 ถนนหยนุ หลนิ ลูเออตวน โตว ลว่ิ ซ่ือ หยุน โทรศัพท : 05-5338087 หลนิ โทรสาร : 05-5338086 05-5331080 ศูนย ฯ เจียยซี่ อื่ 199 ชน้ั 1 ถนนจุงซานเจียยซี่ ่ือ โทรศัพท : 05-2231920 ศนู ย ฯ เจียยเ่ี ซย่ี น โทรสาร : 05-2228507 ศนู ย ฯไถหนานซ่ือ ศูนย ฯ ไถหนานเซ่ียน 1 ไทเ ปาซือ่ เสยี งเฮอซินชุน เจียยเ่ี ซย่ี นเสยี ง โทรศพั ท : 05-3621289 ศูนย ฯ นครเกาสง เฮอเออ ลตู งตวน โทรสาร : 05-3621097 ศนู ย ฯ เกาสงเซย่ี น ศนู ย ฯ อหี๋ ลานเซย่ี น 6 ช้ัน 8 ถนนหยงหัวลู ไถหนานซอื่ โทรศพั ท : 06-2951052 ศนู ย ฯ ฮวั เหลยี นเซ่ียน 06-2991111 โทรสาร : 06-2951053 36 7F ถ.หมินจื้อลู ซินหยงิ ซอื่ โทรศพั ท : 06-6326546 ไถหนานเซี่ยน โทรสาร : 06-6373465 6,6F, ถ.เจิน้ จงเฉยี นเจิ้น,เกาสง โทรศัพท : 07-8117543 โทรสาร : 07-8117548 117 ถ.ตา เปยลู เกาสงเซ่ียน โทรศัพท : 07-7338842 โทรสาร : 07-7337924 95 ถ.ถงชิ่งเจ อหี๋ ลานซ่ือ โทรศพั ท : 03-9324400 โทรสาร : 03-9356545 03-9314341 17 ฟเู ฉียนลู ฮัวเหลยี นซอ่ื โทรศัพท : 03-8239007 โทรสาร : 03-8237712 19

ช่อื ศนู ย ทอ่ี ยู โทรศัพทและโทรสาร ศูนย ฯ ไถตงเซ่ยี น 276 ถนนจงซานลู ไถตงซอ่ื โทรศพั ท : 089-359740 ศนู ย ฯ ผงิ ตงเซย่ี น โทรสาร : 089-341296 ศูนย ฯ พองหเู ซย่ี น ศูนย ฯ จงิ เมนิ เซ่ยี น 17 ถนนจื้ออิว๋ ลู ผิงตงซ่อื โทรศพั ท : 08-7519938 ศนู ย ฯ เหลยี นเจยี งเซย่ี น โทรสาร : 08-7515390 160 มากงซ่อื ตาเจีย พองหูเซยี่ น โทรศัพท : 06-9212680 โทรสาร : 06-9217390 60 เชงิ เจนิ หมงิ เซ่นิ ลูจงิ เมินเซีย่ น โทรศัพท : 082-373291 โทรสาร : 082-371514 76หนานกันเซยี งเจี่ยโซชุนเหลียนเจียงเซย่ี น โทรศัพท : 08-3625022#13 โทรสาร : 08-3622209 20

1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook